ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน)
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
}}
}}


'''การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559''' จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ตามมติของ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)|คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.)<ref name="Thansettakij1">{{cite web|title=“กกต.” มีมติกำหนดวันออกเสียงประชามติ 7 ส.ค. 59|accessdate=20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559|author=ฐานเศรษฐกิจ|publisher=thansettakij.com|url=http://www.thansettakij.com/2016/04/21/46482|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160720142208/http://www.thansettakij.com/2016/04/21/46482|archivedate=2016-07-20|url-status=dead}}</ref> เวลา 08:00–16:00 น.<ref name="จุลสาร กกต.">{{cite web|title=จุลสารการออกเสียงประชามติ|accessdate=20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559|author=คณะกรรมการการเลือกตั้ง|publisher=ect.go.th/|url=http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/06/referendum_booklet.pdf|archive-date=2016-07-20|archive-url=https://web.archive.org/web/20160720142255/http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/06/referendum_booklet.pdf|url-status=dead}}</ref> เพื่อให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ "[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560|ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....]]" ทั้งฉบับ และการกำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลว่า ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อให้การปฏิรูปประเทศเกิดความต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ<ref name="จุลสาร กกต."/>การออกเสียงประชามติครั้งนี้ รัฐบาลไดแต่งตั้ง พลตำรวจเอก [[ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล]] เป็น ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อยการออกเสียงประชามติ
'''การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559''' จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ตามมติของ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)|คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.)<ref name="Thansettakij1">{{cite web|title=“กกต.” มีมติกำหนดวันออกเสียงประชามติ 7 ส.ค. 59|accessdate=20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559|author=ฐานเศรษฐกิจ|publisher=thansettakij.com|url=http://www.thansettakij.com/2016/04/21/46482|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160720142208/http://www.thansettakij.com/2016/04/21/46482|archivedate=2016-07-20|url-status=dead}}</ref> เวลา 08:00–16:00 น.<ref name="จุลสาร กกต.">{{cite web|title=จุลสารการออกเสียงประชามติ|accessdate=20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559|author=คณะกรรมการการเลือกตั้ง|publisher=ect.go.th/|url=http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/06/referendum_booklet.pdf|archive-date=2016-07-20|archive-url=https://web.archive.org/web/20160720142255/http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/06/referendum_booklet.pdf|url-status=dead}}</ref> เพื่อให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ "[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560|ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....]]" ทั้งฉบับ และการกำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลว่า ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อให้การปฏิรูปประเทศเกิดความต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ<ref name="จุลสาร กกต."/> การออกเสียงประชามติครั้งนี้ รัฐบาลได้แต่งตั้ง พลตำรวจเอก [[ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล]] เป็น ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อยการออกเสียงประชามติ

ร่างรัฐธรรมนูญนี้ทำให้เกิด[[กึ่งประชาธิปไตย|ประชาธิปไตยครึ่งใบ]]และถูกมองว่าเป็นการเพิ่มความกระชับในการปกครองของฝ่ายทหารในประเทศไทย<ref name="BBCWhy">{{cite news|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-37013950|date=9 August 2016|title=Thai referendum: Why Thais backed a military-backed constitution|publisher=[[BBC]]}}</ref> กระนั้น มีผู้เห็นด้วยถึงร้อยละ 61 โดยมีผู้ออกมาใช้สิทธิถึงร้อยละ 59 ข้อเสนอที่สองสำหรับนายกรัฐมนตรีคนถัดไปที่จะได้รับการเลือกตั้งร่วมกันจากสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ก็ได้รับการอนุมัติเช่นกัน อย่างไรก็ตาม รัฐบาลทหารสั่งห้ามกลุ่มที่ต่อต้านรัฐธรรมนูญรณรงค์ต่อต้านอย่างเป็นทางการ ในขณะที่รัฐบาลทหารรณรงค์อย่างแข็งขันเพื่อให้มีการนำรัฐธรรมนูญมาใช้


== การรณรงค์ ==
== การรณรงค์ ==
บรรทัด 45: บรรทัด 47:


=== นปช. ===
=== นปช. ===
[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) ได้รณรงค์ออกเสียงคู่ขนานไปกับ กกต. เริ่มในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ด้วยการเปิดตัว "ศูนย์ปราบโกงประชามติ"<ref>[http://www.thaitribune.org/contents/detail/302?content_id=20539&rand=1465143251 นปช.เปิดศูนย์ปราบโกงประชามติ-คสช.บอกยังไม่ใช่เวลานี้กลไกภาครัฐยังทำงานได้ดี],[[ไทยทรีบูน]]</ref> ใช้คำขวัญว่า "ไม่ล้ม ไม่โกง ไม่อายพม่า"<ref>[http://www.posttoday.com/analysis/interview/438241 "ประชามติต้องไม่ล้ม ไม่โกง ไม่อายพม่า" จตุพร พรหมพันธุ์] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160620214046/http://www.posttoday.com/analysis/interview/438241 |date=2016-06-20 }}, [[โพสต์ทูเดย์]]</ref> และจัดทำเพลงรณรงค์ประชามติ 7 เพลง ออกอากาศผ่านทาง[[พีซทีวี (ประเทศไทย)|สถานีโทรทัศน์พีซทีวี]] รวมถึงเผยแพร่ผ่านทางยูทูบของพีซทีวีเอง ซึ่งขับร้องโดยแกนนำและศิลปินแนวร่วมของ นปช. หนึง่ในนั้นคือเพลง "แหล่ประชามติ" ซึ่งขับร้องโดย [[ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ]]<ref>[http://www.matichon.co.th/news/166931 แหล่ครั้งแรก! เพลงประชามติซิงเกิลใหม่จากณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ (คลิป)], [[มติชน (หนังสือพิมพ์)|มติชนออนไลน์]].</ref>
[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) ได้รณรงค์ออกเสียงคู่ขนานไปกับ กกต. เริ่มในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ด้วยการเปิดตัว "ศูนย์ปราบโกงประชามติ"<ref>[http://www.thaitribune.org/contents/detail/302?content_id=20539&rand=1465143251 นปช.เปิดศูนย์ปราบโกงประชามติ-คสช.บอกยังไม่ใช่เวลานี้กลไกภาครัฐยังทำงานได้ดี]{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }},[[ไทยทรีบูน]]</ref> ใช้คำขวัญว่า "ไม่ล้ม ไม่โกง ไม่อายพม่า"<ref>[http://www.posttoday.com/analysis/interview/438241 "ประชามติต้องไม่ล้ม ไม่โกง ไม่อายพม่า" จตุพร พรหมพันธุ์] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160620214046/http://www.posttoday.com/analysis/interview/438241 |date=2016-06-20 }}, [[โพสต์ทูเดย์]]</ref> และจัดทำเพลงรณรงค์ประชามติ 7 เพลง ออกอากาศผ่านทาง[[พีซทีวี (ประเทศไทย)|สถานีโทรทัศน์พีซทีวี]] รวมถึงเผยแพร่ผ่านทางยูทูบของพีซทีวีเอง ซึ่งขับร้องโดยแกนนำและศิลปินแนวร่วมของ นปช. หนึง่ในนั้นคือเพลง "แหล่ประชามติ" ซึ่งขับร้องโดย [[ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ]]<ref>[http://www.matichon.co.th/news/166931 แหล่ครั้งแรก! เพลงประชามติซิงเกิลใหม่จากณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ (คลิป)], [[มติชน (หนังสือพิมพ์)|มติชนออนไลน์]].</ref>


ทั้งนี้ การจัดตั้งศูนย์ปราบโกงฯ ต้องยุติลงในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เพราะเจ้าหน้าที่รัฐขัดขวาง แต่ยังคงดำเนินการบนเฟซบุ๊ก<ref>[http://www.thairath.co.th/content/642243 ศูนย์ปราบโกงฯ โดนบล็อก หันไปใช้โซเชียล], [[ไทยรัฐ]]</ref>
ทั้งนี้ การจัดตั้งศูนย์ปราบโกงฯ ต้องยุติลงในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เพราะเจ้าหน้าที่รัฐขัดขวาง แต่ยังคงดำเนินการบนเฟซบุ๊ก<ref>[http://www.thairath.co.th/content/642243 ศูนย์ปราบโกงฯ โดนบล็อก หันไปใช้โซเชียล], [[ไทยรัฐ]]</ref>
บรรทัด 123: บรรทัด 125:
==ผลคะแนนตามภูมิภาค==
==ผลคะแนนตามภูมิภาค==
<!--[[ไฟล์:Thai_referendum_2016_2tones.svg|thumb|250px|right|{{legend|#ffc010|เห็นชอบ}} {{legend|#0069b5|ไม่เห็นชอบ}}]]-->
<!--[[ไฟล์:Thai_referendum_2016_2tones.svg|thumb|250px|right|{{legend|#ffc010|เห็นชอบ}} {{legend|#0069b5|ไม่เห็นชอบ}}]]-->
ผลคะแนนอย่างเป็นทางการ<ref name="OfficialResult">{{cite report|date=10 สิงหาคม 2559|title=ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียง|publisher=คณะกรรมการการเลือกตั้ง|url=http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/08/ect110816.pdf|accessdate=16 สิงหาคม 2559|deadurl=no|type=|archivedate=2016-10-20|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161020035519/http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/08/ect110816.pdf}}</ref>
ผลคะแนนอย่างเป็นทางการ<ref name="OfficialResult">{{cite report|date=10 สิงหาคม 2559|title=ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียง|publisher=คณะกรรมการการเลือกตั้ง|url=http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/08/ect110816.pdf|accessdate=16 สิงหาคม 2559|url-status=live|type=|archivedate=2016-10-20|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161020035519/http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/08/ect110816.pdf}}</ref>
===ภาคเหนือ===
===ภาคเหนือ===
{| class="wikitable sortable"
{| class="wikitable sortable"
บรรทัด 1,272: บรรทัด 1,274:
| style="text-align: right;" | 26.46
| style="text-align: right;" | 26.46
|}
|}

==ผลที่ตามมา==
เป้าหมายถัดไปของการคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญคือการเขียนกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญด้านการปกครองในระบอบการเมืองใหม่ หลังการสวรรคตของ[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ฝ่ายทหารยังคงมีอำนาจต่อหลังจัดพิธีการสืบราชสันตติวงศ์ ร่างรัฐธรรมนูญไทยจะมีการเปลี่ยนแปลง 6 อย่างตามคำขอของ[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งขยายพระราชอำนาจของพระองค์ ก่อนที่จะให้การรับรองในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560<ref>[https://www.npr.org/sections/thetwo-way/2017/04/06/522878983/thai-king-signs-military-backed-constitution Thai King Signs Military-Backed Constitution], [[National Public Radio]], April 6, 2017</ref>

มีการคาดหวังให้พรรคการเมืองยุบพรรคและปฏิรูปตนเอง ซึ่งอาจลงเอยด้วยการเป็นพรรคเล็กกว่าเดิม เนื่องจากระบบการลงคะแนนแบบใหม่ทำให้พรรคขนาดใหญ่ชนะเสียงข้างมากโดยรวมได้ยากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะจัดตั้งรัฐบาลผสมมากขึ้น<ref name="BBCWhy"/>

ต่อมามี[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562|การจัดการเลือกตั้ง]]ขึ้นใน พ.ศ. 2562 โดย[[พรรคพลังประชารัฐ]] พรรคที่สนับสนุนคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง จัดตั้งรัฐบาลผสม ต่อมา [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] นายกรัฐมนตรีและหัวหน้ารัฐบาลทหาร ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลใหม่ โดยเหตุที่สามารถเสนอชื่อได้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อนุญาตให้ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกรัฐสภาเป็นนายกรัฐมนตรีได้<ref>{{cite news|url=http://www.khaosodenglish.com/politics/2019/07/18/with-new-cabinet-thailand-replaces-junta-with-army-allies/|title=With New Cabinet, Thailand Replaces Junta with Army Allies|work=Khaosod English|date=18 July 2019|accessdate=4 August 2019|last1=Kaewjinda|first1=Kaweewit|last2=Peck|first2=Grant}}</ref>

รัฐบาลใหม่จะต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของวุฒิสภาที่ไม่ได้รับเลือกตั้ง (แต่งตั้ง) เช่นเดียวกับหน่วยงานอื่น ๆ ตามรัฐธรรมนูญ [[การฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่ง]]ของนักการเมืองทำได้ง่ายขึ้น และรัฐบาลในอนาคตจะต้องปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของฝ่ายทหาร<ref name="BBCWhy"/>

ฝ่ายทหารจะยังคงมีบทบาทสำคัญต่อการเมืองไทยเป็นเวลาหลายปี<ref name="BBCWhy"/>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:12, 15 กุมภาพันธ์ 2567

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย
พ.ศ. 2559
1) ให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช .... ทั้งฉบับ และประเด็นเพิ่มเติม
2) ท่านเห็นชอบหรือไม่ว่า เพื่อให้การปฏิรูปประเทศเกิดความต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ สมควรกำหนด ไว้ในบทเฉพาะกาลว่า ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี
ตัวอย่างบัตรลงคะแนนในวันออกเสียงประชามติ
ผลลัพธ์
ผล
คะแนน %
เห็นชอบ 16,820,402 61.35%
ไม่เห็นชอบ 10,598,037 38.65%
คะแนนสมบูรณ์ 27,418,439 92.19%
คะแนนไม่สมบูรณ์หรือคะแนนเปล่า 936,209 3.15%
คะแนนทั้งหมด 29,740,677 100.00%
ผู้ลงทะเบียนใช้สิทธิ/ผู้ออกมาใช้สิทธิ 50,071,589 59.4%
ร่างรัฐธรรมนูญ
เห็นชอบ
  
61.35%
ไม่เห็นชอบ
  
38.65%
ประเด็นเพิ่มเติม
เห็นชอบ
  
58.07%
ไม่เห็นชอบ
  
41.93%
การใช้สิทธิ: 59.40%

ผลคะแนนแบ่งตามcounty

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559 จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ตามมติของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)[1] เวลา 08:00–16:00 น.[2] เพื่อให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ "ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ...." ทั้งฉบับ และการกำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลว่า ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อให้การปฏิรูปประเทศเกิดความต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ[2] การออกเสียงประชามติครั้งนี้ รัฐบาลได้แต่งตั้ง พลตำรวจเอก ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล เป็น ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อยการออกเสียงประชามติ

ร่างรัฐธรรมนูญนี้ทำให้เกิดประชาธิปไตยครึ่งใบและถูกมองว่าเป็นการเพิ่มความกระชับในการปกครองของฝ่ายทหารในประเทศไทย[3] กระนั้น มีผู้เห็นด้วยถึงร้อยละ 61 โดยมีผู้ออกมาใช้สิทธิถึงร้อยละ 59 ข้อเสนอที่สองสำหรับนายกรัฐมนตรีคนถัดไปที่จะได้รับการเลือกตั้งร่วมกันจากสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ก็ได้รับการอนุมัติเช่นกัน อย่างไรก็ตาม รัฐบาลทหารสั่งห้ามกลุ่มที่ต่อต้านรัฐธรรมนูญรณรงค์ต่อต้านอย่างเป็นทางการ ในขณะที่รัฐบาลทหารรณรงค์อย่างแข็งขันเพื่อให้มีการนำรัฐธรรมนูญมาใช้

การรณรงค์

กกต.

กกต. ได้เริ่มต้นการณรงค์ในงาน "Kickoff 7 สิงหา ประชามติร่วมใจ ประชาธิปไตยมั่นคง" เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 โดยใช้คำขวัญในการรณรงค์ว่า "7 สิงหา ประชามติร่วมใจ ประชาธิปไตยมั่นคง" โดยมีหนุมาน เป็นตัวนำโชค และมีการเปิดตัวเพลงรณรงค์ชื่อเดียวกันกับคำขวัญ ซึ่งขับร้องโดยศิลปินลูกทุ่งชื่อดัง และใช้สำเนียงภาษาท้องถิ่น 4 ภาค[4] ซึ่งเพลงดังกล่าวถูกวิพากษ์วิจารณ์จากโลกสังคมออนไลน์รวมถึงจากนักวิชาการว่ามีเนื้อหาบางช่วงบางตอนดูถูกคนบางภูมิภาคว่าถูกชักจูงได้ง่าย แต่เชิดชูคนอีกภูมิภาคหนึ่งว่าเป็นผู้ที่ภักดีต่อประชาธิปไตย[5] แต่ภายหลังทางฝ่าย กกต. ก็มีการแก้ไขเนื้อร้องเพลงดังกล่าวและเผยแพร่ในภายหลัง[6]

นปช.

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ได้รณรงค์ออกเสียงคู่ขนานไปกับ กกต. เริ่มในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ด้วยการเปิดตัว "ศูนย์ปราบโกงประชามติ"[7] ใช้คำขวัญว่า "ไม่ล้ม ไม่โกง ไม่อายพม่า"[8] และจัดทำเพลงรณรงค์ประชามติ 7 เพลง ออกอากาศผ่านทางสถานีโทรทัศน์พีซทีวี รวมถึงเผยแพร่ผ่านทางยูทูบของพีซทีวีเอง ซึ่งขับร้องโดยแกนนำและศิลปินแนวร่วมของ นปช. หนึง่ในนั้นคือเพลง "แหล่ประชามติ" ซึ่งขับร้องโดย ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ[9]

ทั้งนี้ การจัดตั้งศูนย์ปราบโกงฯ ต้องยุติลงในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เพราะเจ้าหน้าที่รัฐขัดขวาง แต่ยังคงดำเนินการบนเฟซบุ๊ก[10]

ประชาชนทั่วไป

มีการจับกุมและคุมขังผู้อภิปรายหรือรณรงค์ให้ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ มีผู้ถูกดำเนินคดีรวม 203 คน[11] อย่างไรก็ตาม กรณีที่มีการประชุมที่มีอภิปรายในด้านเนื้อหา สามารถทำได้ และสามารถ เผยแพร่สาระประชามติ ตามสื่อสารมวลชนปกติได้

การลงคะแนนและเขตออกเสียง

การออกเสียงประชามติมีขึ้นในวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เวลา 08:00 ถึง 16:00 น.[2] โดยแบ่งเขตออกเสียงตามเขตจังหวัด และมีการกำหนดหน่วยออกเสียงในแต่ละเขตออกเสียงเพื่อความสะดวกในการออกเสียงของผู้มีสิทธิออกเสียง[12]

ผลการออกเสียงประชามติ

ผลคะแนนอย่างเป็นทางการ ณ วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559[13]

แถบผลคะแนนจากการออกเสียงประชามติในประเด็นร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
เห็นชอบ :
61.35 (16,820,402)
ไม่เห็นชอบ :
38.65 (10,598,037)
แถบผลคะแนนจากการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาลในร่างรัฐธรรมนูญ
เห็นชอบ :
58.07 (15,132,050)
ไม่เห็นชอบ :
41.93 (10,926,648)

ผลคะแนนตามภูมิภาค

ผลคะแนนอย่างเป็นทางการ[14]

ภาคเหนือ

จังหวัด จำนวนผู้ไปใช้
สิทธิออกเสียง
ประเด็นร่างรัฐธรรมนูญ ประเด็นเพิ่มเติม
คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง
เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ
    เชียงใหม่ 73.17% 390,046 459,399 45.92 54.08 340,577 458,384 42.63 57.37
    ลำพูน 76.47% 109,495 118,258 48.08 51.92 94,067 115,555 44.87 55.13
    ลำปาง 66.87% 193,758 180,863 51.72 48.28 167,969 178,128 48.28 51.47
    อุตรดิตถ์ 61.21% 124,356 81,982 60.27 39.73 108,946 83,360 56.65 43.35
    แพร่ 65.26% 102,745 119,594 46.21 53.79 87,944 117,973 42.71 57.29
    น่าน 66.21% 122,142 109,057 52.83 47.17 104,028 111,282 48.32 51.68
    พะเยา 65.38% 109,408 122,649 47.15 52.85 93,651 121,001 43.63 56.37
    เชียงราย 67.64% 249,684 304,976 45.02 54.98 211,333 303,066 41.08 58.92
    แม่ฮ่องสอน 74.36% 69,439 38,757 64.18 35.82 59,696 40,939 59.32 40.68
    นครสวรรค์ 56.86% 289,393 142,471 67.01 32.99 258,564 147,482 63.68 36.32
    กำแพงเพชร 65.67% 217,926 85,354 71.86 28.14 194,400 90,465 68.24 31.76
    ตาก 70.06% 160,674 60,377 72.69 27.31 142,085 62,732 69.37 30.63
    สุโขทัย 64.23% 188,608 79,858 70.25 29.75 166,417 84,515 66.32 33.68
    พิษณุโลก 60.99% 265,136 119,348 68.96 31.04 238,207 128,156 65.02 34.98
    พิจิตร 55.07% 141,330 75,000 65.33 34.67 124,335 77,490 61.61 38.39
    อุทัยธานี 60.57% 106,884 36,123 74.74 25.26 96,096 38,648 71.32 28.68
    เพชรบูรณ์ 61.72% 286,163 127,342 69.20 30.80 252,771 131,981 65.70 34.30
    รวม 65.48% 3,020,303 2,225,285 57.58 42.42 2,644,990 2,252,509 54.01 45.99

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จังหวัด จำนวนผู้ไปใช้
สิทธิออกเสียง
ประเด็นร่างรัฐธรรมนูญ ประเด็นเพิ่มเติม
คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง
เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ
    นครราชสีมา 60.51% 730,985 404,261 64.39 35.61 649,052 418,789 60.78 39.22
    บุรีรัมย์ 55.88% 365,041 241,101 60.22 39.78 317,347 246,433 56.29 43.71
    สุรินทร์ 54.95% 259,668 267,917 49.22 50.78 225,364 274,411 45.09 54.91
    ศรีสะเกษ 57.38% 244,499 331,314 42.46 57.54 205,001 331,359 38.22 61.78
    อุบลราชธานี 59.47% 413,901 341,848 54.77 45.23 353,493 355,885 49.83 50.17
    ยโสธร 57.03% 81,272 142,284 36.35 63.65 69,329 143,454 32.58 67.42
    ชัยภูมิ 56.22% 204,055 243,144 45.63 54.37 174,994 238,826 42.29 57.71
    อำนาจเจริญ 59.91% 87,314 72,346 54.69 45.31 74,976 75,344 49.88 50.12
    บึงกาฬ 58.18% 65,852 100,670 39.55 60.45 55,046 101,070 35.26 64.74
    หนองบัวลำภู 54.91% 77,167 116,958 39.75 60.25 66,883 115,350 36.70 63.30
    ขอนแก่น 57.44% 333,807 409,453 44.91 55.09 291,657 407,011 41.74 58.26
    อุดรธานี 55.70% 248,092 362,063 40.66 59.34 215,084 358,338 37.51 62.49
    เลย 65.85% 158,394 133,890 54.19 45.81 135,059 135,520 49.91 50.09
    หนองคาย 54.37% 86,557 108,874 44.29 55.71 74,924 108,005 40.96 59.04
    มหาสารคาม 58.02% 172,392 234,140 42.41 57.59 147,298 236,107 38.42 61.58
    ร้อยเอ็ด 54.56% 186,931 332,587 35.98 64.02 157,587 333,023 32.12 67.88
    กาฬสินธุ์ 57.16% 180,465 220,317 45.03 54.97 152,047 220,501 40.81 59.19
    สกลนคร 56.95% 217,372 236,497 47.89 52.11 183,391 245,699 42.74 57.26
    นครพนม 58.40% 139,497 155,830 47.23 52.77 114,920 158,949 41.96 58.04
    มุกดาหาร 62.45% 56,544 92,282 37.99 62.01 47,840 90,315 34.63 65.37
    รวม 57.60% 4,309,805 4,547,776 48.66 51.34 3,711,292 4,594,389 44.68 55.32

ภาคกลาง

จังหวัด
(และกรุงเทพมหานคร)
จำนวนผู้ไปใช้
สิทธิออกเสียง
ประเด็นร่างรัฐธรรมนูญ ประเด็นเพิ่มเติม
คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง
เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ
    กรุงเทพมหานคร 53.27% 1,585,533 705,195 69.22 30.78 1,482,723 778,724 65.57 34.43
    สมุทรปราการ 52.02% 318,571 167,798 65.50 34.50 294,355 179,280 62.15 37.85
    นนทบุรี 56.29% 343,771 166,490 67.37 32.63 318,607 180,797 63.80 36.20
    ปทุมธานี 55.32% 278,265 163,918 62.93 37.07 256,930 174,086 59.61 40.39
    พระนครศรีอยุธยา 61.22% 216,278 140,804 60.57 39.43 195,627 145,178 57.40 42.60
    อ่างทอง 58.39% 70,958 49,641 58.84 41.16 63,378 50,328 55.74 44.26
    ลพบุรี 59.12% 205,619 114,582 64.22 35.78 183,274 116,014 61.24 38.67
    สิงห์บุรี 61.78% 56,446 39,840 58.62 41.38 50,510 40,359 55.59 44.41
    ชัยนาท 60.97% 93,967 52,738 64.05 35.95 82,999 54,078 60.55 39.45
    สระบุรี 64.08% 193,686 94,224 67.27 32.73 176,085 97,241 64.42 35.58
    ชลบุรี 54.42% 430,361 132,554 76.45 23.55 401,957 145,215 73.46 26.54
    ระยอง 57.94% 221,196 59,932 78.68 21.32 203,825 67,584 75.10 24.90
    จันทบุรี 61.44% 176,029 59,485 74.74 25.26 161,171 64,492 71.42 28.58
    ตราด 58.33% 72,469 18,790 79.41 20.59 66,245 21,229 75.73 24.27
    ฉะเชิงเทรา 59.58% 204,136 92,616 68.79 31.21 185,922 96,441 65.85 34.15
    ปราจีนบุรี 62.75% 148,567 66,701 69.01 30.99 133,652 69,701 65.72 34.28
    นครนายก 58.19% 76,566 31,839 70.63 29.37 68,835 33,271 67.42 32.58
    สระแก้ว 57.35% 156,955 63,617 71.16 28.84 140,689 67,155 67.69 32.31
    ราชบุรี 63.17% 291,475 95,214 75.38 24.62 264,298 102,912 71.97 28.03
    กาญจนบุรี 58.36% 226,825 103,288 68.71 31.29 203,496 109,683 64.98 35.02
    สุพรรณบุรี 59.80% 223,114 143,798 60.81 39.19 198,547 146,937 57.47 42.53
    นครปฐม 60.37% 271,394 124,018 68.64 31.36 248,400 131,410 65.40 34.60
    สมุทรสาคร 55.79% 152,465 59,159 72.05 27.95 140,901 63,806 68.83 31.17
    สมุทรสงคราม 56.86% 62,948 18,385 77.40 22.60 57,810 20,210 74.10 25.90
    เพชรบุรี 64.81% 180,531 44,803 80.12 19.88 166,701 49,245 77.20 22.80
    ประจวบคีรีขันธ์ 59.30% 186,361 38,355 82.93 17.07 174,575 43,141 80.18 19.82
    รวม 57.17% 6,551,370 2,883,907 69.43 30.57 6,017,608 3,087,165 66.09 33.91

ภาคใต้

จังหวัด จำนวนผู้ไปใช้
สิทธิออกเสียง
ประเด็นร่างรัฐธรรมนูญ ประเด็นเพิ่มเติม
คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง
เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ
    นครศรีธรรมราช 57.33% 559,689 75,927 88.05 11.95 526,123 86,158 85.93 14.07
    กระบี่ 61.99% 161,520 30,787 83.99 16.01 151,725 35,241 81.15 18.85
    พังงา 62.71% 97,952 18,344 84.23 15.77 91,886 20,952 81.43 18.57
    ภูเก็ต 54.78% 125,643 17,081 88.03 11.97 118,969 20,022 85.59 14.41
    สุราษฎร์ธานี 58.50% 377,628 54,980 87.29 12.71 352,558 66,048 84.22 15.78
    ระนอง 60.02% 64,234 9,512 87.10 12.90 59,358 11,145 84.19 15.81
    ชุมพร 62.87% 208,068 23,004 90.04 9.96 196,293 28,023 87.51 12.49
    สงขลา 63.21% 506,752 109,283 82.26 17.74 475,959 117,052 80.26 19.74
    สตูล 63.27% 91,835 38,986 70.20 29.80 84,237 41,174 67.17 32.83
    ตรัง 64.50% 250,644 40,170 86.19 13.81 233,949 46,080 83.54 16.46
    พัทลุง 66.58% 213,900 39,087 84.55 15.45 199,195 45,591 81.38 18.62
    ปัตตานี 62.24% 89,952 166,900 35.02 64.98 85,976 164,449 34.33 65.67
    ยะลา 65.47% 81,759 122,988 39.93 60.07 77,963 120,792 39.23 60.77
    นราธิวาส 66.10% 109,348 194,020 36.04 63.96 103,969 189,858 35.38 64.62
    รวม 61.71% 2,938,924 941,069 75.75 24.25 2,758,160 992,585 73.54 26.46

ผลที่ตามมา

เป้าหมายถัดไปของการคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญคือการเขียนกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญด้านการปกครองในระบอบการเมืองใหม่ หลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ฝ่ายทหารยังคงมีอำนาจต่อหลังจัดพิธีการสืบราชสันตติวงศ์ ร่างรัฐธรรมนูญไทยจะมีการเปลี่ยนแปลง 6 อย่างตามคำขอของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขยายพระราชอำนาจของพระองค์ ก่อนที่จะให้การรับรองในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560[16]

มีการคาดหวังให้พรรคการเมืองยุบพรรคและปฏิรูปตนเอง ซึ่งอาจลงเอยด้วยการเป็นพรรคเล็กกว่าเดิม เนื่องจากระบบการลงคะแนนแบบใหม่ทำให้พรรคขนาดใหญ่ชนะเสียงข้างมากโดยรวมได้ยากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะจัดตั้งรัฐบาลผสมมากขึ้น[3]

ต่อมามีการจัดการเลือกตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2562 โดยพรรคพลังประชารัฐ พรรคที่สนับสนุนคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง จัดตั้งรัฐบาลผสม ต่อมา ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้ารัฐบาลทหาร ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลใหม่ โดยเหตุที่สามารถเสนอชื่อได้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อนุญาตให้ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกรัฐสภาเป็นนายกรัฐมนตรีได้[17]

รัฐบาลใหม่จะต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของวุฒิสภาที่ไม่ได้รับเลือกตั้ง (แต่งตั้ง) เช่นเดียวกับหน่วยงานอื่น ๆ ตามรัฐธรรมนูญ การฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งของนักการเมืองทำได้ง่ายขึ้น และรัฐบาลในอนาคตจะต้องปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของฝ่ายทหาร[3]

ฝ่ายทหารจะยังคงมีบทบาทสำคัญต่อการเมืองไทยเป็นเวลาหลายปี[3]

อ้างอิง

  1. ฐานเศรษฐกิจ. ""กกต." มีมติกำหนดวันออกเสียงประชามติ 7 ส.ค. 59". thansettakij.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-20. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "จุลสารการออกเสียงประชามติ" (PDF). ect.go.th/. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-07-20. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "Thai referendum: Why Thais backed a military-backed constitution". BBC. 9 August 2016.
  4. เอ็มจีอาร์ออนไลน์ (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2559). "กกต. "Kick Off 7 สิงหาประชามติร่วมใจ ประชาธิปไตยมั่นคง"". mgronline.com. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  5. เพลงเชียร์"ประชามติ"กกต. เปราะบางเหยียดภูมิภาค? เก็บถาวร 2016-07-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, โพสต์ทูเดย์
  6. กกต.ยอมแก้เนื้อเพลงประชามติแล้ว หลังเวอร์ชันแรกโดนติงดูถูกชาวเหนือ-อีสาน เก็บถาวร 2016-06-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, วอยซ์ทีวี
  7. นปช.เปิดศูนย์ปราบโกงประชามติ-คสช.บอกยังไม่ใช่เวลานี้กลไกภาครัฐยังทำงานได้ดี[ลิงก์เสีย],ไทยทรีบูน
  8. "ประชามติต้องไม่ล้ม ไม่โกง ไม่อายพม่า" จตุพร พรหมพันธุ์ เก็บถาวร 2016-06-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, โพสต์ทูเดย์
  9. แหล่ครั้งแรก! เพลงประชามติซิงเกิลใหม่จากณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ (คลิป), มติชนออนไลน์.
  10. ศูนย์ปราบโกงฯ โดนบล็อก หันไปใช้โซเชียล, ไทยรัฐ
  11. Ltd.Thailand, VOICE TV. "ผ่าน 1 ปีประชามติ ผู้ต้องหาและจำเลยกว่า 200 คน ยังอยู่ในกระบวนการยุติธรรม". VoiceTV.
  12. ราชกิจจานุเบกษา. "พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๙" (PDF). ratchakitcha.soc.go.th. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  13. http://www.thairath.co.th/content/687001
  14. 14.0 14.1 14.2 ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียง (PDF) (Report). คณะกรรมการการเลือกตั้ง. 10 สิงหาคม 2559. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-20. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2559. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. http://www.thairath.co.th/content/687001
  16. Thai King Signs Military-Backed Constitution, National Public Radio, April 6, 2017
  17. Kaewjinda, Kaweewit; Peck, Grant (18 July 2019). "With New Cabinet, Thailand Replaces Junta with Army Allies". Khaosod English. สืบค้นเมื่อ 4 August 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559 ถัดไป
การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559
(7 สิงหาคม พ.ศ. 2559)
ยังไม่มี