ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2556

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ไทยลีกดิวิชั่น 1 2556)
ไทยลีกดิวิชั่น 1
ฤดูกาล2556
ทีมชนะเลิศแอร์ฟอร์ซ เอวีเอ
เลื่อนชั้นแอร์ฟอร์ซ เอวีเอ
สิงห์ท่าเรือ
ปตท.ระยอง
ตกชั้นระยอง เอฟซี
ระยอง ยูไนเต็ด
จำนวนนัด306
จำนวนประตู831 (2.72 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล เลอันโดร โอลิเวียร่า (สิงห์ท่าเรือ) 24 ประตู
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
บางกอก เอฟซี 7–3 ขอนแก่น (29 พฤษภาคม 2556)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
ศรีราชา ซูซูกิ 2–5 ตราด เอฟซี(22 มิถุนายน 2556)
จำนวนประตูสูงสุดบางกอก เอฟซี 7–3 ขอนแก่น (29 พฤษภาคม 2556) (10 ประตู)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
9 นัด
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
21 นัด
ปตท.ระยอง
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
ระยอง เอฟซี
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
ระยอง ยูไนเต็ด
จำนวนผู้ชมสูงสุด23,844 คน
นครราชสีมา 3-2 ขอนแก่น
(22 กันยายน 2556)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด107 คน
ระยอง ยูไนเต็ด 1-4 กัลฟ์ สระบุรี
(19 ตุลาคม 2556)
จำนวนผู้ชมรวม785,443 คน
2555
2557

ไทยลีกดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2556 หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า "ยามาฮ่า ลีก 1 2013" เป็นการแข่งขันฟุตบอลอาชีพของประเทศไทย โดยเป็นลีกระดับที่สองรองจากไทยพรีเมียร์ลีก มีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 18 ทีม โดยหา 3 ทีมเลื่อนชั้นขึ้นไทยพรีเมียร์ลีก และ 4 ทีมตกชั้นลงไปลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2

สโมสร

[แก้]

สนามเหย้าและสถานที่ตั้ง

[แก้]
สโมสรฟุตบอลในกรุงเทพฯและปริมณฑล
ทีม ที่ตั้ง สนาม ความจุ หมายเหตุ
กระบี่ เอฟซี กระบี่ สนามกีฬากลางจังหวัดกระบี่ 6,000
กัลฟ์ สระบุรี สระบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสระบุรี 10,000
ขอนแก่น เอฟซี ขอนแก่น สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น 8,500
ตราด เอฟซี ตราด สนามกีฬากลางจังหวัดตราด 5,000 ขึ้นชั้นมาจาก ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 2555
ทีทีเอ็ม ลพบุรี กรุงเทพมหานคร สนามบุณยะจินดา 2,000 ตกชั้นมาจาก ไทยพรีเมียร์ลีก 2555
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬา โรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 2,141
นครราชสีมา เอฟซี นครราชสีมา สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 20,141
บางกอก เอฟซี กรุงเทพมหานคร สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด 8,000
บีบีซียู เอฟซี กรุงเทพมหานคร สนามกีฬากองทัพบก 20,000 ตกชั้นมาจาก ไทยพรีเมียร์ลีก 2555
ปตท.ระยอง ระยอง ปตท. มาบข่า 17,000
ภูเก็ต เอฟซี ภูเก็ต สนามสุระกุล 15,000
ระยอง ยูไนเต็ด ระยอง สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง 7,000 ขึ้นชั้นมาจาก ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 2555
ระยอง เอฟซี ระยอง สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง 7,000 ขึ้นชั้นมาจาก ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 2555
ราชนาวี ชลบุรี สนามกีฬากองทัพเรือ กม. 5 12,500
สิงห์ท่าเรือ กรุงเทพมหานคร แพตสเตเดียม 12,308 ตกชั้นมาจาก ไทยพรีเมียร์ลีก 2555
ศรีราชา ซูซูกิ ชลบุรี ซูซูกิ สเตเดี้ยม 10,207
อยุธยา เอฟซี พระนครศรีอยุธยา สนามกีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6,000 ขึ้นชั้นมาจาก ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 2555
แอร์ฟอร์ซ เอวีเอ ปทุมธานี สนามกีฬาธูปะเตมีย์ 25,000

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

แต่ละทีมลงทะเบียนนักเตะต่างชาติได้ทั้งหมด 7 คน ต่อหนึ่งทีม และต้องมีโควตา ผู้เล่นเอเซีย 1 คน ตามที่สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียกำหนดไว้ โดยใช้โควตาแข้งนอกใช้กฏลง 5 ลง 3+1[1] และจะมีโควตาผู้เล่นเอเซีย 1 คน ในรายซื่อตัวสำรอง

หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ

สโมสร ผู้เล่นที่ 1 ผู้เล่นที่ 2 ผู้เล่นที่ 3 ผู้เล่นที่ 4 ผู้เล่นที่ 5 ผู้เล่นที่ 6 ผู้เล่นเอเชีย
กระบี่ เอฟซี บูร์กินาฟาโซ Jean-Michel Liade Gnonka แคเมอรูน John Mary แคเมอรูน Patrice Sylvester ไนจีเรีย Anayo Cosnas Onuoha เกาหลีเหนือ Kim Young-Bin เกาหลีใต้ Ju Myeong-Gyu ลาว สุขพร วงศ์เชียงคำ
กัลฟ์ สระบุรี บราซิล Júlio César บราซิล Mario Neto โกตดิวัวร์ Bernard Henry โกตดิวัวร์ Valery Djomon เกาหลีใต้ Dai Min-Joo ออสเตรเลีย Scott Baginski
ขอนแก่น เอฟซี อาร์เจนตินา Matias E.Recio แคเมอรูน Christ Mbondi อียิปต์ Amr Shaaban ญี่ปุ่น Nakahara Shogo ญี่ปุ่น Yusuke Nakatani ญี่ปุ่น Nagasaka Yuto จีน Li Xiang
ตราด เอฟซี บราซิล Douglas Cobo แคเมอรูน Woukoue Raymond สาธารณรัฐแอฟริกากลาง & ฝรั่งเศส Franklin Anzité กินี Almamy Sylla โกตดิวัวร์ Labi Kassiaty สโลวาเกีย Miroslav Toch เกาหลีใต้ Kim Joo-Yong
ทีทีเอ็ม ลพบุรี แคเมอรูน Didier Sohna แคเมอรูน Jacques Bertin อังกฤษ Vigan Qehaja ลัตเวีย Aleksandrs Čekulajevs ญี่ปุ่น Shota Wada เกาหลีใต้ Joo Jin-Hak เกาหลีใต้ Yoo Hong-Youl
นครปฐม ยูไนเต็ด โกตดิวัวร์ Camara Souleymane แคเมอรูน Pierre Sylvain ฝรั่งเศส Michel Richard กานา Lesley Ablorh เกาหลีใต้ Jae Min-Yoo เกาหลีใต้ Cho Kwang-Hoon
นครราชสีมา เอฟซี บราซิล Dinei บราซิล Ygor de Souza แคเมอรูน Munze Ulrich ญี่ปุ่น Shota Koide ญี่ปุ่น Yusuke Kato เกาหลีเหนือ Kim Song Yong ญี่ปุ่น Satoshi Nagano
บางกอก เอฟซี แคเมอรูน Jean Marc อังกฤษ Lee Tuck กานา Samuel Kwaku สวีเดน Olof Hvidén-Watson ญี่ปุ่น Yuki Bamba
บีบีซียู เอฟซี บราซิล Marcio Da Silva แคเมอรูน Bouba Abbo โกตดิวัวร์ Fofana Abib กินี Moussa Sylla เกาหลีใต้ Ma Sang-Hoon
ปตท. ระยอง แคเมอรูน Ebako Andiolo Merlin ฝรั่งเศส Christian Nade โกตดิวัวร์ Salia Ouattara โกตดิวัวร์ Amadou Ouattara สโลวีเนีย Jozef Tirer ญี่ปุ่น Terukazu Tanaka ญี่ปุ่น Noguchi Pinto
ภูเก็ต เอฟซี บราซิล Dudu บราซิลJuninho Guimaro แคเมอรูน Moudourou Swa Moise ฝรั่งเศส Geoffrey Doumeng ประเทศจอร์เจีย Giorgi Tsimakuridze โกตดิวัวร์ Nenebi Tra Sylvestre ญี่ปุ่น Yusuke Sato
ระยอง ยูไนเต็ด บราซิล Marcio Santos บราซิล Valci ฝรั่งเศส David Le Bras เวลส์ Jonathan Brown ญี่ปุ่น Ryohei Maeda เกาหลีเหนือ Byeon Seung-Won เกาหลีใต้ Noh Yong-Hun
ระยอง เอฟซี แคเมอรูน Salifu Bako แคเมอรูน Tommy Falue แคเมอรูน Thierry Tchobe แคเมอรูน Walther Henri แคเมอรูน Abdel Abzizou โกตดิวัวร์ Kouame Yao Mathieu เกาหลีใต้ Choi Kun-Sik
ราชนาวี บราซิล Paulo Renato บราซิล Victor Hugo แคเมอรูน Samuel Bille โกตดิวัวร์ Diomande Adama กินี Souleymane Coulibaly บราซิล Bruno เกาหลีใต้ Woo Guen-Jeong
ศรีราชา ซูซูกิ เอฟซี อาร์เจนตินา Gaston Raul Gonzalez บราซิล Diego Pishinin บราซิล Ratinho บราซิล Sérgio แคเมอรูน Berlin ญี่ปุ่น Kochi Jun ญี่ปุ่น เซยะ โคะจิมะ
สิงห์ท่าเรือ บราซิล Leandro de Oliveira โกตดิวัวร์ Diarra Ali ลีชเทินชไตน์ Mathias Christen ไนจีเรีย Amara Jerry สกอตแลนด์ Steven Robb เกาหลีใต้ Kim Ba-We เกาหลีเหนือ Ri Myong-Jun
อยุธยา เอฟซี ชิลี Antonio Vega แคเมอรูน Justin Herve แคเมอรูน Malick Ndape ไนจีเรีย Gafar Durosinmi บราซิล Daniel Alberto De Melo ญี่ปุ่น Kunihiko Takizawa เกาหลีใต้ Chang Seung-Weon
แอร์ฟอร์ซ เอวีเอ แคเมอรูน David Bayiha โกตดิวัวร์ Kouassi Yao Hermann ไนจีเรีย Julius Chukwuma ไนจีเรีย Julius Obioh โปรตุเกส Zezinando Odelfrides เกาหลีใต้ Kim Woo-Chul ญี่ปุ่น Jun Uruno

ข้อมูลทีมและผู้สนับสนุน

[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ

ทีม หัวหน้าผู้ฝึกสอน (โค้ช) กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน(คาดหน้าอก)
กระบี่ เอฟซี ไทย ขอนแก้ว, สวาทสวาท ขอนแก้ว ไทย เจริญรูป, ทวีพงค์ทวีพงค์ เจริญรูป เดียดอร่า แอร์เอเชีย
กัลฟ์ สระบุรี เอฟซี ไทย ศรีปาน, ธชตวันธชตวัน ศรีปาน ไทย ตัดสุนทร, มนัสมนัส ตัดสุนทร เดฟโฟ กัลฟ์อิเล็คตริก
ขอนแก่น เอฟซี ไทย สุโพธิ์เมือง, พิเชษฐ์พิเชษฐ์ สุโพธิ์เมือง ไทย ฆารดา, ศุภกรศุภกร ฆารดา แกรนด์ สปอร์ต ลีโอ / อบจ.ขอนแก่น
ตราด เอฟซี ไทย ชุณหคุณากร, หาญณรงค์หาญณรงค์ ชุณหคุณากร ไทย แซ่ตั๋น, รัฐพรรัฐพร แซ่ตั๋น ตามูโด้ ซีพี
ทีทีเอ็ม ลพบุรี ไทย ประมลบาล, จตุพรจตุพร ประมลบาล ไทย หันเอียง, สมชายสมชาย หันเอียง มาวิน โรงงานยาสูบ
นครปฐม ยูไนเต็ด ไทย จันทร์คำ, วิมลวิมล จันทร์คำ ไทย สังขพงษ์, จารุพงษ์จารุพงษ์ สังขพงษ์ คูล สปอร์ต JC สุธีชา
นครราชสีมา เอฟซี ไทย ทรงงามทรัพย์, อาจหาญอาจหาญ ทรงงามทรัพย์ ไทย บุญสุโข, อนนท์อนนท์ บุญสุโข พูม่า มาสด้า
บางกอก เอฟซี ไทย ไข่แก้ว, อภิสิทธิ์อภิสิทธิ์ ไข่แก้ว ไทย ใหญ่โต, จักรพงษ์จักรพงษ์ ใหญ่โต เอฟบีที M2F
บีบีซียู เอฟซี บราซิล อัลเวส บอร์จีส, โจเซ่โจเซ่ อัลเวส บอร์จีส ไทย อาแว, สาลาฮูดินสาลาฮูดิน อาแว อีโก้สปอร์ต 3BB
ปตท.ระยอง ไทย เอกศาตรา, นพพรนพพร เอกศาตรา ไทย ไชยแก้ว, ยุทธนายุทธนา ไชยแก้ว แกรนด์ สปอร์ต ปตท.
ภูเก็ต ไทย เกิดแย้ม, พนิพลพนิพล เกิดแย้ม ไทย เจียรสถาวงศ์, นนทพันธ์นนทพันธ์ เจียรสถาวงศ์ แกรนด์ สปอร์ต ยามาฮ่า
ระยอง ยูไนเต็ด ไทย อมรเกียรติ, อนันต์อนันต์ อมรเกียรติ ไทย อ้นทอง, สุภัทรสุภัทร อ้นทอง ล็อตโต คาราบาวแดง
ระยอง เอฟซี ไทย โมสิกะ, อภิชาติอภิชาติ โมสิกะ ไทย เกษมแสง, สายฝนสายฝน เกษมแสง เอฟบีที กัลฟ์อิเล็คตริก / ไออาร์พีซี
ราชนาวี ไทย วิชายา, วิสูตรวิสูตร วิชายา ไทย เพ่งผล, กุศลกุศล เพ่งผล เอฟบีที เอวีเอ กรุ๊ป
ศรีราชา ซูซูกิ ไทย กลิ่นศรีสุข, ทรงยศทรงยศ กลิ่นศรีสุข ไทย มุธาพร, อำไพอำไพ มุธาพร เอฟบีที ซูซูกิ
สิงห์ท่าเรือ ไทย เฉลิมแสน, ดุสิตดุสิต เฉลิมแสน ไทย นนท์ศิริ, อิทธิพลอิทธิพล นนท์ศิริ เอฟบีที สิงห์
อยุธยา เอฟซี ไทย สุขโกกี, ธงชัยธงชัย สุขโกกี ไทย รักแก้ว, วิทวัสวิทวัส รักแก้ว พูม เพลทเน็ต กัลฟ์อิเล็คตริก / ยามาฮ่า
แอร์ฟอร์ซ เอวีเอ ไทย บุญเกลี้ยง, นราศักดิ์นราศักดิ์ บุญเกลี้ยง ไทย สว่างศรี, รุ่งโรจน์รุ่งโรจน์ สว่างศรี คีล่า สปอร์ต เอวีเอ กรุ๊ป

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- แต้ม
1 แอร์ฟอร์ซ เอวีเอ (C) (P) 34 20 9 5 51 28 +23 69
2 สิงห์ท่าเรือ (P) 34 20 5 9 61 40 +21 65
3 ปตท.ระยอง (P) 34 17 13 4 44 27 +17 64
4 บางกอก เอฟซี 34 18 8 8 69 54 +15 62
5 ไฟล์:RatchasimaFC.gif นครราชสีมา เอฟซี 34 15 9 10 49 35 +14 54
6 กัลฟ์ สระบุรี เอฟซี 34 12 11 11 49 42 +7 47
7 ตราด เอฟซี 34 12 11 11 59 60 -1 47
8 อยุธยา เอฟซี 34 11 11 12 40 41 -1 44
9 กระบี่ เอฟซี 34 11 8 15 44 49 -5 41
10 ราชนาวี 34 10 10 14 42 47 -5 40
11 บีบีซียู เอฟซี 34 9 13 12 33 45 -12 40
12 นครปฐม ยูไนเต็ด 34 9 12 13 47 51 -4 39
13 ภูเก็ต 34 8 15 11 36 42 -6 39
14 ทีทีเอ็ม ลพบุรี 34 9 11 14 36 46 -10 38
15 ศรีราชา ซูซูกิ 34 10 7 17 48 53 -5 37
16 ขอนแก่น เอฟซี 34 8 12 14 40 54 -14 36
17 ระยอง เอฟซี (R) 34 8 12 14 48 62 -14 36
18 ระยอง ยูไนเต็ด (R) 34 6 9 19 37 57 -20 27

อัปเดตล่าสุด 2 พฤศจิกายน 2556
แหล่งข้อมูล: Yamaha League One
กฎการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม
(C) = ชนะเลิศ; (R) = ตกชั้น; (P) = เลื่อนชั้น; (O) = ผู้ชนะจากรอบคัดเลือก; (A) = ผ่านเข้ารอบต่อไป
ใช้ได้เฉพาะเมื่อฤดูกาลยังไม่สิ้นสุด:
(Q) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในระยะของทัวร์นาเมนต์ที่ระบุ; (TQ) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขัน แต่ยังไม่อยู่ในระยะที่ระบุ; (DQ) = ถูกตัดสิทธิ์จากทัวร์นาเมนต์

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า/เยือน  
1

2

3

4

5

6
ไฟล์:RatchasimaFC.gif
7

8

9
10
11

12

13

14

15

16

17

18
1. กระบี่ เอฟซี 0-0 1-1 3-2 1-2 1-1 1-0 2-2 0-1 1-2 3-1 0-0 4-1 2-1 1-1 1-0 3-0 1-0
2. กัลฟ์ สระบุรี เอฟซี 2-4 0-0 1-3 3-0 1-1 1-1 4-1 2-1 0-1 1-0 5-2 1-1 2-1 0-2 1-2 2-1 2-1
3. ขอนแก่น เอฟซี 2-1 0-2 1-1 1-0 3-2 1-1 0-3 2-0 1-1 1-0 0-2 3-2 2-2 2-0 1-1 1-3 2-0
4. ตราด เอฟซี 1-3 2-1 1-0 3-2 3-2 3-1 3-3 1-2 1-2 3-3 5-2 1-3 2-2 2-1 1-2 1-1 1-2
5. ทีทีเอ็ม ลพบุรี 3-1 0-0 2-2 3-0 0-1 1-0 0-2 2-1 0-0 0-1 1-2 2-3 0-1 2-1 1-4 1-1 2-2
6. นครปฐม ยูไนเต็ด 3-0 2-2 2-1 1-1 0-2 3-2 1-0 2-0 1-1 0-0 5-2 2-2 0-3 2-1 2-3 2-0 0-2
7. นครราชสีมา เอฟซี 1-0 1-1 3-2 3-0 2-2 1-0 1-2 0-0 3-2 3-0 1-0 5-2 5-0 3-2 2-2 1-0 1-0
8. บางกอก เอฟซี 3-1 3-2 7-3 1-1 0-2 2-1 2-1 2-0 2-3 1-1 4-3 6-2 4-1 3-1 2-1 2-1 0-0
9. บีบีซียู เอฟซี 2-2 0-0 2-1 2-2 1-1 1-1 1-0 1-2 1-1 1-1 2-2 1-1 1-0 3-1 3-2 0-3 0-2
10. ปตท. ระยอง 2-0 1-1 0-0 1-2 3-0 1-0 1-0 2-2 1-0 3-2 1-0 3-0 0-2 1-0 2-2 2-1 0-0
11. ภูเก็ต เอฟซี 2-0 1-0 1-0 0-0 1-1 2-0 0-1 2-2 2-2 0-0 0-1 2-2 1-0 3-1 1-1 2-2 1-1
12. ระยอง ยูไนเต็ด 1-2 1-4 2-1 1-2 0-0 1-1 1-1 1-2 1-2 0-2 0-1 1-1 0-0 1-0 1-2 1-2 2-2
13. ระยอง เอฟซี 3-1 0-2 3-3 1-2 2-0 5-3 1-1 3-0 0-0 0-0 1-0 1-3 1-2 1-1 2-1 0-0 1-2
14. ราชนาวี 1-1 0-1 4-1 0-0 0-1 4-3 2-0 2-2 0-0 1-1 1-1 1-0 1-0 2-2 3-1 0-1 2-3
15. ศรีราชา ซูซูกิ เอฟซี 3-1 2-1 1-0 2-5 1-1 0-0 0-2 2-0 4-0 1-2 5-1 2-2 3-0 3-1 2-0 0-1 0-1
16. สิงห์ท่าเรือ 2-1 2-0 2-0 3-0 4-2 1-1 1-0 2-0 1-2 0-1 2-1 1-0 4-2 2-1 4-1 2-1 2-1
17. อยุธยา เอฟซี 2-1 3-3 1-1 2-2 2-0 1-0 1-2 1-2 2-0 0-0 1-1 1-0 0-0 2-1 1-1 0-2 1-3
18. แอร์ฟอร์ซ เอวีเอ 1-0 2-1 1-1 1-0 0-0 2-2 0-0 3-0 1-0 3-1 2-1 2-1 2-1 2-0 4-1 1-0 2-1

อัปเดตล่าสุดวันที่ 2 พฤศจิกายน 2556
แหล่งข้อมูล: [1]
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติที่น่าสนใจ

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2556.[2]
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 บราซิล Leandro de Oliveira สิงห์ท่าเรือ 24
2 อังกฤษ Lee Tuck บางกอก เอฟซี 23
3 อาร์เจนตินา Matías Eduardo Recio ขอนแก่น เอฟซี 19
4 บราซิล Valci Junior กระบี่ เอฟซี 17
5 สวีเดน Olof Watson บางกอก เอฟซี 16
โกตดิวัวร์ Kouassi Yao Hermann แอร์ฟอร์ซ เอวีเอ เอฟซี 16
7 ญี่ปุ่น Yusuke Kato ไฟล์:RatchasimaFC.gif นครราชสีมา เอฟซี 15
แคเมอรูน Berlin ศรีราชา ซูซูกิ เอฟซี 15
9 โกตดิวัวร์ Bernard Henry กัลฟ์ สระบุรี เอฟซี 14
10 ไทย พร้อมพงษ์ กรานสำโรง ไฟล์:RatchasimaFC.gif นครราชสีมา เอฟซี 13

แฮตทริก

[แก้]
ลำดับ นักเตะ สโมสร ทำได้นัดที่พบ ผล นาที วันที่
1 ไทย พิเชษฐ อินทร์บาง บีบีซียู เอฟซี ศรีราชา ซูซูกิ (เหย้า) 4-1[ลิงก์เสีย] ประตู 45+1', ประตู 55', ประตู 65' 9 มีนาคม 2556
2 บราซิล Valci Junior ระยอง ยูไนเต็ด ระยอง เอฟซี (เยือน) 1-3[ลิงก์เสีย] ประตู 10', ประตู 55', ประตู 84' 7 เมษายน 2556
3 โกตดิวัวร์ Camara Souleymane4 นครปฐม ยูไนเต็ด ระยอง ยูไนเต็ด (เหย้า) 5-2[ลิงก์เสีย] ประตู 13', ประตู 20', ประตู 45+1', ประตู 60' 19 พฤษภาคม 2556
4 ไทย พร้อมพงษ์ กรานสำโรง ไฟล์:RatchasimaFC.gif นครราชสีมา ราชนาวี (เหย้า) 5-0[ลิงก์เสีย] ประตู 18', ประตู 29', ประตู 70' 19 พฤษภาคม 2556
5 สวีเดน Olof Watson บางกอก เอฟซี ขอนแก่น เอฟซี (เหย้า) 7-3[ลิงก์เสีย] ประตู 43', ประตู 74', ประตู 78' 29 พฤษภาคม 2556
6 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง Franklin Anzité ตราด เอฟซี บางกอก เอฟซี (เหย้า) 3-3[ลิงก์เสีย] ประตู 18', ประตู 57', ประตู 91' 18 สิงหาคม 2556
7 อังกฤษ Lee Tuck บางกอก เอฟซี ราชนาวี (เหย้า) 4-1[ลิงก์เสีย] ประตู 16', ประตู 68', ประตู 86' 22 กันยายน 2556
8 ฟิลิปปินส์ Patrick Reichelt สิงห์ท่าเรือ ทีทีเอ็ม ลพบุรี (เหย้า) 4-2[ลิงก์เสีย] ประตู 63', ประตู 72', ประตู 86' 20 ตุลาคม 2556
  • 4ผู้เล่นที่ทำได้สี่ประตู

รางวัลสำหรับผู้จัดการทีม-ผู้เล่นยอดเยี่ยม

[แก้]

รางวัลยอดเยี่ยมตำแหน่งต่างๆ ในการแข่งขันยามาฮ่าลีกวัน 2013

รางวัล ชื่อ ทีม
ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม ไทย นราศักดิ์ บุญเกลี้ยง แอร์ฟอร์ซ เอวีเอ เอฟซี
ผู้ทำประตูสูงสุด บราซิล Leandro de Oliveira สิงห์ท่าเรือ
กองหน้ายอดเยี่ยม อังกฤษ Lee Tuck บางกอก
กองกลางยอดเยี่ยม ไทย สารัช อยู่เย็น ไฟล์:RatchasimaFC.gif นครราชสีมา เอฟซี
กองหลังยอดเยี่ยม ไทย ไพศาล โพธิ์นา ปตท.ระยอง
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม ญี่ปุ่น Noguchi Pinto ปตท.ระยอง
ทีมมารยาทยอดเยี่ยม ใบเหลือง : 65 ใบแดง : 2 กัลฟ์ สระบุรี เอฟซี

อ้างอิง

[แก้]
  1. ดร.คอนเฟิร์มไทยลีก 2012 ใช้กฏแข้งนอก 5 ลง 3+1
  2. "Yamaha League-1 Stats: Top Goal Scorers – 2013". thaipremierleague.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-26. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2013.