โบอิง 707
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก โบอิง 720)
โบอิง 707 | |
---|---|
โบอิง 707-138บี ของควอนตัส | |
ข้อมูลทั่วไป | |
บทบาท | อากาศยานลำตัวแคบ |
ชาติกำเนิด | สหรัฐอเมริกา |
บริษัทผู้ผลิต | เครื่องบินพาณิชย์โบอิง |
สถานะ | ในประจำการอย่างจำกัดมาก |
ผู้ใช้งานหลัก | แพนแอม (ในอดีต) ทรานส์เวิร์ลดแอร์ไลน์ (ในอดีต) อเมริกันแอร์ไลน์ (ในอดีต) แอร์ฟรานซ์ (ในอดีต) |
จำนวนที่ผลิต | 865 ลำ (ไม่รวมรุ่นของโบอิง 720)[1] |
ประวัติ | |
สร้างเมื่อ | ค.ศ. 1956 – 1978 |
เริ่มใช้งาน | 26 ตุลาคม ค.ศ. 1958 โดยแพนแอม |
เที่ยวบินแรก | 20 ธันวาคม ค.ศ. 1957[2] |
ปลดประจำการ | ค.ศ. 2019 (เชิงพาณิชย์) |
พัฒนาจาก | โบอิง 367-80 |
สายการผลิต | โบอิง 720 โบอิง เคซี-135 สตาร์โตแทงค์เกอร์ |
พัฒนาเป็น | โบอิง E-3 เซ็นทรี โบอิง E-6 เมอร์คิวรี่ นอร์ทธรอป กรัมแมน E-8 จอยน์ทสตาร์ |
โบอิง 707 (อังกฤษ: Boeing 707) เป็นเครื่องบินโดยสารไอพ่นรุ่นแรกของสหรัฐ เครื่องต้นแบบเริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 และบินโดยสารเป็นครั้งแรกโดยสายการบินแพนแอม เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 1958 และมีการผลิตมากกว่า 10 รุ่น
ข้อมูลจำเพาะ
[แก้]มีดังต่อไปนี้[3]
- ผู้สร้าง บริษัท โบอิง คอมเมอร์เชียล แอร์เพลน (สหรัฐอเมริกา)
- ประเภท เจ๊ตโดยสาร พิสัยบินไกล เจ้าหน้าที่ 3-5 นาย อัตราผู้โดยสารสูงสุด 195 ที่นั่ง
- เครื่องยนต์ เทอร์โบแฟน แพรทท์ แอนด์วิทนีย์ เจที 3 ดี-7 แรงขับ เครื่องละ 8,618 กิโลกรัม
- กางปีก 44.61 เมตร
- ยาว 46.61 เมตร
- สูง 12.94 เมตร
- พื้นที่ปีก 268.6 ตารางเมตร
- น้ำหนักเปล่า 64,000 กิโลกรัม
- น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด 151,315 กิโลกรัม
- อัตราเร็วเดินทางขั้นสูง 965 กิโลเมตร/ชั่วโมง
- อัตราเร็วเดินทางประหยัด 886 กิโลเมตร/ชั่วโมง
- อัตราไต่ 20.3 เมตร/วินาที
- เพดานบินใช้งาน 11,885 เมตร
- พิสัยบิน 10,040 กิโลเมตร
- 12,030 กิโลเมตร
เครื่องบินที่ใกล้เคียงกัน
[แก้]รุ่นที่ใกล้เคียงกัน
[แก้]เครื่องบินที่ใกล้เคียงกัน
[แก้]- เดอ ฮาวิลแลนด์ คอมเม็ต
- คอนแวร์ 880
- คอนแวร์ 990
- ดักลาส ดีซี-8
- อิลยูชิน อิล-62
- ช่างไห่ วาย-10
- วิกเกอร์ส วีซี10
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "707 Model Summary". Boeing Commercial Airplanes. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-24. สืบค้นเมื่อ December 10, 2010.
- ↑ "Boeing 707 Jet Transport." aviation-history.com. Retrieved December 27, 2009.
- ↑ อภิวัตน์ โควินทรานนท์. อากาศยาน 1979 ฉบับเครื่องบิน. กรุงเทพ : เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์, 2522.