ข้ามไปเนื้อหา

การค้าเสรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การค้าระหว่างประเทศ
ประวัติการค้าระหว่างประเทศ
มุมมองการเมือง
การค้าโดยชอบธรรม
การค้าเสรี
การค้าคุ้มกัน
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
การให้สิทธิพิเศษทางการค้า
เขตการค้าเสรี
สหภาพศุลกากร
ตลาดร่วม
สหภาพทางเศรษฐกิจ

การค้าเสรี (อังกฤษ: Free Trade) คือแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่หมายถึงการซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศโดยไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร และการกีดกันทางการค้าอื่นๆ รวมไปถึงการเคลื่อนย้ายแรงงานและทุนข้ามเขตแดนระหว่างประเทศโดยอิสระ การค้าเสรีคือสภาวะที่ไม่มีการกีดกันใดๆ โดยรัฐบาลกับการค้าระหว่างปัจเจกบุคคลหรือบริษัท ที่อยู่คนละประเทศ โดยทั่วไปแล้ว การค้าระหว่างประเทศมักถูกจำกัดด้วยภาษี, ค่าธรรมเนียมในการนำเข้าและส่งออกสินค้า, และกฎเกณฑ์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษีอากรในการนำเข้า ในทางทฤษฎีแล้วการค้าเสรีนั้นต้องการยกเลิกข้อจำกัดเหล่านี้ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริงแล้ว ในข้อตกลงทางการค้าที่เรียกว่า "การค้าเสรี" นั้น อาจสร้างข้อกีดกันบางอย่างขึ้นมาก็ได้ นักวิจารณ์มองว่าการกระทำดังกล่าวเกิดขึ้นเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของบริษัท

บางกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป ได้เปิดให้มีการค้าเสรีรูปแบบหนึ่ง ระหว่างประเทศสมาชิก อย่างไรก็ตาม ยังมีการโต้เถียงกันอยู่ว่า การค้าเสรีนั้น จะช่วยประเทศโลกที่สามได้หรือไม่ และการค้าเสรีนั้น เป็นประโยชน์ต่อประเทศกำลังพัฒนาจริงหรือไม่

ข้อสนับสนุนและข้อโต้แย้งของการค้าเสรี

[แก้]

เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการค้าเสรี

[แก้]

ทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าเสรี

[แก้]

บทความที่เกี่ยวข้อง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]