ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 62"
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
บรรทัด 2: | บรรทัด 2: | ||
{{แหล่งอ้างอิงปฐมภูมิ}} |
{{แหล่งอ้างอิงปฐมภูมิ}} |
||
{{กล่องข้อมูล คณะรัฐมนตรี |
{{กล่องข้อมูล คณะรัฐมนตรี |
||
| cabinet_name = คณะรัฐมนตรี |
| cabinet_name = คณะรัฐมนตรีเศรษฐา 1 |
||
| cabinet_number = |
| cabinet_number = 63 |
||
| jurisdiction = ราชอาณาจักรไทย |
| jurisdiction = ราชอาณาจักรไทย |
||
| flag = |
| flag = |
||
| incumbent = พ.ศ. 2562 - |
| incumbent = พ.ศ. 2562 -ปัจัจบัน |
||
| image = |
|||
| image = Fumio Kishida and Prayut Chan-o-cha at the Prime Minister's Office 2022 (1) (cropped).jpg |
|||
| date_formed = |
| date_formed = 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562ฃ6 |
||
| date_dissolved =1 กันยายน พ.ศ. 2566 <br>({{อายุปีและวัน|2019|7|10|2023|9|1}}) |
| date_dissolved =1 กันยายน พ.ศ. 2566 <br>({{อายุปีและวัน|2019|7|10|2023|9|1}}) |
||
| state_head_title = พระมหากษัตริย์ |
| state_head_title = พระมหากษัตริย์ |
||
| state_head = [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] |
| state_head = [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] |
||
| government_head_title = นายกรัฐมนตรี |
| government_head_title = นายกรัฐมนตรี |
||
| government_head = [[ |
| government_head = [[เศรษฐา ทวีสิน]] (เพื่อไทย)<br><small>[[ภูมิธรรม เวชยชัย]] (พท.) รักษาราชการแทน</small> |
||
| government_head_history = |
| government_head_history = |
||
| current_number = |
| current_number = 35 |
||
| former_members_number = |
| former_members_number = 19 |
||
| total_number = |
| total_number = 48 |
||
| legislature_status = [[รัฐบาลผสม]]<br>{{Composition bar|278|500|hex=#285aaf}} |
| legislature_status = [[รัฐบาลผสม]]<br>{{Composition bar|278|500|hex=#285aaf}} |
||
| deputy_government_head_title = รองนายกรัฐมนตรี |
| deputy_government_head_title = รองนายกรัฐมนตรี |
||
| deputy_government_head = {{plainlist| |
| deputy_government_head = {{plainlist| |
||
* [[ |
* [[ภูมิธรรม เวชยชัย]] ([[พรรคเพื่อไทย|พท.]]) |
||
* [[ชูศักดิ์ ศิรินิล]] (เพื่อไทย) |
|||
* [[วิษณุ เครืองาม]] (อิสระ) |
|||
* [[ |
* [[อนุทิน ชาญวีรกูล]] (ภท.) {{small|(ถึง 2567)}} |
||
* [[ |
* [[พัชรวาท วงษ์สุวรรณ]] ([[พรรคพลังประชารัฐ|พปร.]]) |
||
* [[พีระพันธ์ุ สาลีรัฐวิภาค]] ([[พรรครวมไทยสร้างชาติ|ทรสช.]]) |
|||
* [[จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์]] ([[พรรคประชาธิปัตย์|ปชป.]]) |
|||
* [[ |
* [[พิชัย ชุณหวชิร]] (เพื่อไทย) {{small|(เริ่ม 2567)}} |
||
* [[ |
* [[สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ]] ([[พรรคเพื่อไทย|รทสช.]])}} {{small|(เริ่ม 2567)}} |
||
| political_party = [[พรรค |
| political_party = [[พรรคเพื่อไทย]]<br>[[พรรคภูมิใจไทย]]<br>[[พรรคพลังประชารัฐ]]<br>[[พรรครวมไทยสร้างชาติ]]<br>[[พรรคชาติไทยพัฒนา]]<br>[[พรรคชาติพัฒนากล้า]]<br>[[พรรคครูไทยเพื่อประชาชน]]<br>[[พรรครักษ์ผืนป่าประเทศไทย]]<br>[[พรรคครูไทยเพื่อประชาชน]]<br>[[พรรคไทยศรีวิไลย์]] {{small|(ถึง 2562)}}<br>[[พรรคไทรักธรรม]] {{small|(ถึง 2565)}}<br>[[พรรคประชาชนปฏิรูป]] {{small|(ถึง 2562)}}<br>[[พรรคประชาธรรมไทย]] {{small|(ถึง 2564)}}<br>[[พรรคประชาธิปไตยใหม่]]<br>[[พรรคประชานิยม]] {{small|(ถึง 2563)}}<br>[[พรรคประชาภิวัฒน์ (พ.ศ. 2561)|พรรคประชาภิวัฒน์]]<br>[[พรรครวมแผ่นดิน]]<br>[[พรรคเพื่อชาติไทย]]<br>[[พรรคพลังธรรมใหม่]]<br>[[พรรคพลังปวงชนไทย]]<br>[[พรรคเส้นด้าย|พรรคพลเมืองไทย]] {{small|(ถึง 2566)}}<br>[[พรรคเศรษฐกิจใหม่]] {{small|(เริ่ม 2563)}}<br>[[พรรครวมไทยสร้างชาติ]] {{small|(เริ่ม 2566)}} |
||
| opposition_party = [[พรรคเพื่อไทย]]<br>[[พรรคอนาคตใหม่]] {{small|(ถึง 2563)}}<br>[[พรรคเสรีรวมไทย]]<br>[[พรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)|พรรคประชาชาติ]]<br>[[พรรคเศรษฐกิจใหม่]] {{small|(ถึง 2563)}}<br>[[พรรคเพื่อชาติ]]<br>[[พรรคพลังปวงชนไทย]]<br>[[พรรคก้าวไกล]] {{small|(เริ่ม 2563)}} <br> [[พรรคเศรษฐกิจไทย]] {{small|(เริ่ม 2565)}} |
| opposition_party = [[พรรคเพื่อไทย]]<br>[[พรรคอนาคตใหม่]] {{small|(ถึง 2563)}}<br>[[พรรคเสรีรวมไทย]]<br>[[พรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)|พรรคประชาชาติ]]<br>[[พรรคเศรษฐกิจใหม่]] {{small|(ถึง 2563)}}<br>[[พรรคเพื่อชาติ]]<br>[[พรรคพลังปวงชนไทย]]<br>[[พรรคก้าวไกล]] {{small|(เริ่ม 2563)}} <br> [[พรรคเศรษฐกิจไทย]] {{small|(เริ่ม 2565)}} |
||
| opposition_leader = [[สมพงษ์ อมรวิวัฒน์]] {{small|(ถึง 2564)}}<br>[[ |
| opposition_leader = [[สมพงษ์ อมรวิวัฒน์]] {{small|(ถึง 2564)}}<br>[[ชัยธวัช ตูลาธน]] {{small|(เริ่ม 2564)}} |
||
| election = [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562|24 มีนาคม 2562]] |
| election = [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562|24 มีนาคม 2562]] |
||
| PMvote = [[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2562|5 มิถุนายน 2562]] |
| PMvote = [[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2562|5 มิถุนายน 2562]] |
||
บรรทัด 43: | บรรทัด 43: | ||
}} |
}} |
||
'''คณะรัฐมนตรีคณะที่ 63''' หรือ '''คณะรัฐมนตรีเศรษฐา 1/1''' (22 |
|||
สิงหาคม พ.ศ. 2566<ref name=":0">{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/176/T_0001.PDF|title=พระบรมราชโองการ แต่งตั้งรัฐมนตรี [คณะรัฐมนตรี ชุดที่ 62]|publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|date=10 กรกฎาคม 2562|accessdate=10 กรกฎาคม 2562}}</ref> – 1 กันยายน พ.ศ. 2566) โดยภายหลัง[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562|การเลือกตั้งทั่วไปเดือนมีนาคม พ.ศ. 2562]] ส่งผลให้ไม่มีพรรคใดครองเสียงข้างมากเด็ดขาดในรัฐสภา [[พรรคพลังประชารัฐ]]เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลผสมโดยรวบรวมเสียงพรรคการเมือง 19 พรรค และพรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อ พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและหัวหน้า[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]มาเป็นเวลา 5 ปี 1 [[เดือน]] แล้ว เป็นนายกรัฐมนตรีต่ออีกสมัย โดยมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562<ref name="พระราชโองการ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช">{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/148/T_0001.PDF|title=พระบรมราชโองการ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี [พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา]|publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|date=11 มิถุนายน 2562|accessdate=10 กรกฎาคม 2562|archive-date=2019-06-28|archive-url=https://web.archive.org/web/20190628212816/http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/148/T_0001.PDF|url-status=dead}}</ref> |
|||
แม้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง[[เศรษฐา ทวีสิน]]เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566<ref>{{Cite web |title=1st LD: Srettha Thavisin elected as Thailand's new prime minister - China.org.cn |url=http://www.china.org.cn/world/Off_the_Wire/2023-08/22/content_106274969.htm |access-date=2023-08-22 |website=www.china.org.cn}}</ref><ref name="rd">{{Cite web |title=โปรดเกล้าฯ เศรษฐา เป็นนายกฯคนที่ 30 เตรียมอันเชิญพระบรมราชโองการ |url=https://www.khaosod.co.th/update-news/news_7828507 |access-date=2023-08-23 |website=www.khaosod.co.th}}</ref> และแต่งตั้ง[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63|คณะรัฐมนตรีชุดใหม่]]ในวันที่ 1 กันยายนปีเดียวกัน<ref>{{Cite journal|title=ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี|journal=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|url=https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/140D214S0000000000100.pdf|date=2023-09-02|volume=140|pages=1-3|issue=พิเศษ 214 ง|access-date=2023-09-02}}</ref> แต่ในทางพฤตินัยคณะรัฐมนตรีชุดนี้ได้รักษาการในตำแหน่งไปจนถึงวันที่ 4 กันยายน ก่อนคณะรัฐมนตรีชุดถัดไปจะถวายสัตย์ปฏิญาณตนในวันถัดมา<ref>{{Cite web|title="วิษณุ" คาดไทม์ไลน์ "ครม.ใหม่" ทำหน้าที่ช่วงปลายเดือน ก.ย.|url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/330923|website=Thai PBS|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|title="ครม.เศรษฐา" ถวายสัตย์ปฏิญาณตนแล้ว - ถ่ายรูปหมู่ทำเนียบฯ|url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/331306|website=Thai PBS|language=th}}</ref> |
แม้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง[[เศรษฐา ทวีสิน]]เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566<ref>{{Cite web |title=1st LD: Srettha Thavisin elected as Thailand's new prime minister - China.org.cn |url=http://www.china.org.cn/world/Off_the_Wire/2023-08/22/content_106274969.htm |access-date=2023-08-22 |website=www.china.org.cn}}</ref><ref name="rd">{{Cite web |title=โปรดเกล้าฯ เศรษฐา เป็นนายกฯคนที่ 30 เตรียมอันเชิญพระบรมราชโองการ |url=https://www.khaosod.co.th/update-news/news_7828507 |access-date=2023-08-23 |website=www.khaosod.co.th}}</ref> และแต่งตั้ง[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63|คณะรัฐมนตรีชุดใหม่]]ในวันที่ 1 กันยายนปีเดียวกัน<ref>{{Cite journal|title=ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี|journal=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|url=https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/140D214S0000000000100.pdf|date=2023-09-02|volume=140|pages=1-3|issue=พิเศษ 214 ง|access-date=2023-09-02}}</ref> แต่ในทางพฤตินัยคณะรัฐมนตรีชุดนี้ได้รักษาการในตำแหน่งไปจนถึงวันที่ 4 กันยายน ก่อนคณะรัฐมนตรีชุดถัดไปจะถวายสัตย์ปฏิญาณตนในวันถัดมา<ref>{{Cite web|title="วิษณุ" คาดไทม์ไลน์ "ครม.ใหม่" ทำหน้าที่ช่วงปลายเดือน ก.ย.|url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/330923|website=Thai PBS|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|title="ครม.เศรษฐา" ถวายสัตย์ปฏิญาณตนแล้ว - ถ่ายรูปหมู่ทำเนียบฯ|url=https://www.thaipbs.or.th/news/content/331306|website=Thai PBS|language=th}}</ref> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:49, 25 มิถุนายน 2567
บทความนี้อาศัยการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิมากเกินไป |
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 63 หรือ คณะรัฐมนตรีเศรษฐา 1/1 (22 สิงหาคม พ.ศ. 2566[1] – 1 กันยายน พ.ศ. 2566) โดยภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปเดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 ส่งผลให้ไม่มีพรรคใดครองเสียงข้างมากเด็ดขาดในรัฐสภา พรรคพลังประชารัฐเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลผสมโดยรวบรวมเสียงพรรคการเมือง 19 พรรค และพรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติมาเป็นเวลา 5 ปี 1 เดือน แล้ว เป็นนายกรัฐมนตรีต่ออีกสมัย โดยมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562[2]
แม้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเศรษฐา ทวีสินเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566[3][4] และแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในวันที่ 1 กันยายนปีเดียวกัน[5] แต่ในทางพฤตินัยคณะรัฐมนตรีชุดนี้ได้รักษาการในตำแหน่งไปจนถึงวันที่ 4 กันยายน ก่อนคณะรัฐมนตรีชุดถัดไปจะถวายสัตย์ปฏิญาณตนในวันถัดมา[6][7]
ประวัติ
ก่อนมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ในเดือนมิถุนายน 2562 มีข่าวการแย่งชิงตำแหน่งภายในพรรคพลังประชารัฐ โดยสมาชิกกลุ่มสามมิตรบางส่วน ได้แก่ สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ, สมศักดิ์ เทพสุทิน และอนุชา นาคาศัยแถลงยืนยันว่าตนต้องได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีตามโผในวันที่ 11 มิถุนายน ซึ่งหากไม่ตรงก็จะแสดงจุดยืนอีกครั้ง และมีข่าวกลุ่มสามมิตรพยายามเสนอญัตติขับไล่สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ เลขาธิการพรรคพลังประชารัฐ ออกจากตำแหน่ง เพราะ "เป็นภัยต่อความมั่นคงของพรรคและของรัฐบาลเป็นอย่างสูง ... ไม่ยึดโยงกับ ส.ส. ในพรรค ไม่เห็นหัว ส.ส. ในพรรคแม้แต่คนเดียว ... ท่านทำให้พรรคเราแตกแยก"[8] ก่อนที่ต่อมากลุ่มสามมิตรจะยอมล้มข้อเรียกร้องของตนเองและยอมรับให้พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา จัดสรรคณะรัฐมนตรี[9] โดยก่อนหน้านี้มีข่าวลือว่าจะมีการเปลี่ยนตัวหัวหน้าพรรคจาก อุตตม สาวนายน เป็นพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา[10]
วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่[11] โดยสมาชิกคณะรัฐมนตรีมาจากพรรคพลังประชารัฐ 18 คน (โควตาประยุทธ์ 7 คน, โควตากลางของพรรค 3 คน, โควตา กปปส. 2 คน, โควตากลุ่มสามมิตร 2 คน และโควตากลุ่มอื่น ๆ 4 คน) พรรคประชาธิปัตย์ 7 คน ภูมิใจไทย 7 คน ชาติไทยพัฒนา 2 คน รวมพลังประชาชาติไทย 1 คน และชาติพัฒนา 1 คน ซึ่งการจัดสรรจำนวนดังกล่าวมาจากสัดส่วน ส.ส. 3–7 คนต่อรัฐมนตรี 1 ตำแหน่ง ในจำนวนนี้มี 4 คนที่อยู่ระหว่างพิจารณาวินิจฉัยการขาดคุณสมบัติการเป็น ส.ส. จากกรณีถือครองหุ้นบริษัทสื่อโดยศาลรัฐธรรมนูญ ได้แก่ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ นายสาธิต ปิตุเตชะ ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล และนายเทวัญ ลิปตพัลลภ[12][13]
วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เวลา 17:45 น. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี นำคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จำนวน 36 คน เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่[14][15]
วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2566 เวลา 15:00 น. มีการประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 ในราชกิจจานุเบกษา[16]
รายชื่อรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง | ดำรงตำแหน่งเมื่อตั้งคณะรัฐมนตรี | ดำรงตำแหน่งจนสิ้นสุดคณะรัฐมนตรี | ||
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง | แต่งตั้งเพิ่ม | เปลี่ยนแปลง/โยกย้ายไปตำแหน่งอื่น | ||
รัฐมนตรีลอย | ย้ายมาจากตำแหน่งอื่น | ออกจากตำแหน่ง |
ตำแหน่ง | ลำดับ | รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ | พรรคการเมือง | ||||
นายกรัฐมนตรี | * | พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562 | 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 | มีพระบรมราชโองการประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกตั้งใหม่ | อิสระ (สังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติเป็นระยะเวลาหนึ่ง) | ||||
รองนายกรัฐมนตรี | 1 | พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ | |||||
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 | ลาออกจากตำแหน่ง | พลังประชารัฐ | ||||||
2 | วิษณุ เครืองาม | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ | ||||||
3 | อนุทิน ชาญวีรกูล | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ภูมิใจไทย | ||||||
4 | จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ | ||||||
5 | ดอน ปรมัตถ์วินัย | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ | ||||||
6 | สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ (ภายหลังอยู่รวมไทยสร้างชาติ) | ||||||
สำนักนายกรัฐมนตรี | เทวัญ ลิปตพัลลภ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 | ลาออกจากตำแหน่ง | ชาติพัฒนา | |||||
7 | อนุชา นาคาศัย | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ (ภายหลังอยู่รวมไทยสร้างชาติ) | ||||||
8 | ธนกร วังบุญคงชนะ | 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ (ภายหลังอยู่รวมไทยสร้างชาติ) | ||||||
กลาโหม | * | พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ (เคยอยู่รวมไทยสร้างชาติ) | |||||
9 | พลเอกชัยชาญ ช้างมงคล | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน 2566 | อิสระ | ||||||
การคลัง | อุตตม สาวนายน | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 | ลาออกจากตำแหน่ง | พลังประชารัฐ | |||||
ปรีดี ดาวฉาย | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2563 | ลาออกจากตำแหน่ง | อิสระ | ||||||
10 | อาคม เติมพิทยาไพสิฐ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ | ||||||
11 | สันติ พร้อมพัฒน์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ | ||||||
การต่างประเทศ | * | ดอน ปรมัตถ์วินัย | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ | |||||
การท่องเที่ยวและกีฬา | 12 | พิพัฒน์ รัชกิจประการ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ภูมิใจไทย | |||||
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ | 13 | จุติ ไกรฤกษ์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ (ภายหลังอยู่รวมไทยสร้างชาติ) | |||||
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม | สุวิทย์ เมษินทรีย์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 | ลาออกจากตำแหน่ง | พลังประชารัฐ | |||||
14 | เอนก เหล่าธรรมทัศน์ | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | รวมพลัง | ||||||
เกษตรและสหกรณ์ | 15 | เฉลิมชัย ศรีอ่อน | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ | |||||
ร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 8 กันยายน พ.ศ. 2564 | พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี | พลังประชารัฐ | ||||||
16 | มนัญญา ไทยเศรษฐ์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ภูมิใจไทย | ||||||
17 | ประภัตร โพธสุธน | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ชาติไทยพัฒนา | ||||||
18 | สุนทร ปานแสงทอง | 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ | ||||||
คมนาคม | 19 | ศักดิ์สยาม ชิดชอบ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม 2566 | ภูมิใจไทย | ||||
20 | อธิรัฐ รัตนเศรษฐ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ | ||||||
ถาวร เสนเนียม | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 | ถูกพิพากษาให้จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง | ประชาธิปัตย์ | ||||||
วีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล | 22 มีนาคม พ.ศ. 2564 | 18 มกราคม พ.ศ. 2566 | ลาออกจากตำแหน่ง | ภูมิใจไทย | ||||||
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม | พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 | ถูกพิพากษาให้จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง | พลังประชารัฐ | |||||
21 | ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ | 22 มีนาคม พ.ศ. 2564 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ | ||||||
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | 22 | วราวุธ ศิลปอาชา | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ชาติไทยพัฒนา | |||||
พลังงาน | สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 | ลาออกจากตำแหน่ง | พลังประชารัฐ | |||||
* | สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ (ภายหลังอยู่รวมไทยสร้างชาติ) | ||||||
พาณิชย์ | * | จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ | |||||
วีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 22 มีนาคม พ.ศ. 2564 | ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม | ภูมิใจไทย | ||||||
23 | สินิตย์ เลิศไกร | 22 มีนาคม พ.ศ. 2564 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ | ||||||
มหาดไทย | 24 | พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | อิสระ | |||||
นิพนธ์ บุญญามณี | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 5 กันยายน พ.ศ. 2565 | ลาออกจากตำแหน่ง | ประชาธิปัตย์ | ||||||
25 | ทรงศักดิ์ ทองศรี | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ภูมิใจไทย | ||||||
26 | นริศ ขำนุรักษ์ | 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ | ||||||
ยุติธรรม | สมศักดิ์ เทพสุทิน | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 17 มีนาคม พ.ศ. 2566 | ลาออกจากตำแหน่ง | พลังประชารัฐ | |||||
แรงงาน | หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 | ลาออกจากตำแหน่ง | รวมพลังประชาชาติไทย | |||||
27 | สุชาติ ชมกลิ่น | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ (ภายหลังอยู่รวมไทยสร้างชาติ) | ||||||
นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 | 8 กันยายน พ.ศ. 2564 | พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี | พลังประชารัฐ | ||||||
วัฒนธรรม | 28 | อิทธิพล คุณปลื้ม | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ | |||||
ศึกษาธิการ | ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 | ถูกพิพากษาให้จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง | พลังประชารัฐ | |||||
29 | ตรีนุช เทียนทอง | 22 มีนาคม พ.ศ. 2564 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | พลังประชารัฐ | ||||||
30 | คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ | ||||||
กนกวรรณ วิลาวัลย์ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 26 สิงหาคม พ.ศ. 2565 | ถูกพิพากษาเพิกถอนสิทธิทางการเมือง 10 ปี | ภูมิใจไทย | ||||||
สาธารณสุข | * | อนุทิน ชาญวีรกูล | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ภูมิใจไทย | |||||
31 | สาธิต ปิตุเตชะ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 1 กันยายน พ.ศ. 2566 | ประชาธิปัตย์ | ||||||
อุตสาหกรรม | สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 | 17 มีนาคม พ.ศ. 2566 | ลาออกจากตำแหน่ง | พลังประชารัฐ |
- พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็น นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ เป็น รองนายกรัฐมนตรี
- นาย สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็น รองนายกรัฐมนตรี
- ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิษณุ เครืองาม เป็นรองนายกรัฐมนตรี
- นาย จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ (หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์) เป็น รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
- นาย อนุทิน ชาญวีรกูล(หัวหน้าพรรคภูมิใจไทย) เป็น รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
- นาย เทวัญ ลิปตพัลล (หัวหน้าพรรคชาติพัฒนา) เป็น รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- พลเอก ชัยชาญ ช้างมงคล เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
- นาย อุตตม สาวนายน (หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ ในขณะนั้น) เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
- นาย สันติ พร้อมพัฒน์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
- นาย ดอน ปรมัตถ์วินัย เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
- นาย พิพัฒน์ รัชกิจประการ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
- นาย จุติ ไกรฤกษ์ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- นาย สุวิทย์ เมษินทรีย์ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
- นาย เฉลิมชัย ศรีอ่อน เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- นางสาว มนัญญา ไทยเศรษฐ์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- นาย ประภัตร โพธสุธน เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- นาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
- นาย ถาวร เสนเนียม เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
- นาย อธิรัฐ รัตนเศรษฐ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
- นาย วราวุธ ศิลปอาชา เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- นาย พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
- นาย สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
- นาย วีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
- พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
- นายกองเอก นิพนธ์ บุญญามณี เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
- นายกองเอก ทรงศักดิ์ ทองศรี เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
- นาย สมศักดิ์ เทพสุทิน เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
- หม่อมราชวงศ์ จัตุมงคล โสณกุล (หัวหน้าพรรครวมพลังประชาชาติไทย) เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
- นาย อิทธิพล คุณปลื้ม เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
- นาย ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- คุณหญิง กัลยา โสภณพณิช เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- นาง กนกวรรณ วิลาวัลย์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- นาย สาธิต ปิตุเตชะ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
- นาย สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
รัฐมนตรีจำนวน 6 ราย ได้ลาออกจากตำแหน่ง มีผลวันที่ 15 กรกฎาคม 2563 (1 ราย), วันที่ 16 กรกฎาคม 2563 (3 ราย) และวันที่ 21 กรกฎาคม 2563 (2 ราย) ดังนี้[19][20]
ลาออกวันที่ 15 กรกฎาคม 2563
- นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี
ลาออกวันที่ 16 กรกฎาคม 2563
- นายสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
- นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
- นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ลาออกวันที่ 21 กรกฎาคม 2563
- นายเทวัญ ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
คณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2/2 [21]
- นายดอน ปรมัตถ์วินัย เป็นรองนายกรัฐมนตรี อีกตำแหน่งหนึ่ง
- นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
- นายอนุชา นาคาศัย (เลขาธิการพรรคพลังประชารัฐ) เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- นายปรีดี ดาวฉาย เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
- นายเอนก เหล่าธรรมทัศน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
- นายสุชาติ ชมกลิ่น เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
- นางนฤมล ภิญโญสินวัฒน์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงาน
รัฐมนตรีจำนวน 1 ราย ได้ลาออกจากตำแหน่ง มีผลวันที่ 2 กันยายน 2563[22]
ลาออกวันที่ 2 กันยายน 2563
- นายปรีดี ดาวฉาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
คณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2/3 [23]
- นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ศาลอาญามีคำพิพากษาให้รัฐมนตรี 3 ราย จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง ส่งผลให้ทั้งสามพ้นสภาพการเป็นรัฐมนตรีทันที[24]
พ้นสภาพการเป็นรัฐมนตรี ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564
- นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
- นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- นายถาวร เสนเนียม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
คณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2/4 [25]
- นายวีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล (รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์) เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
- นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
- นายสินิตย์ เลิศไกร เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
- นางสาวตรีนุช เทียนทอง เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
รัฐมนตรีจำนวน 2 ราย พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี มีผลวันที่ 8 กันยายน 2564[26] รัฐมนตรี จำนวน 1 ราย ได้ลาออกจากตำแหน่ง มีผลวันที่ 5 กันยายน 2565[27]
- ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- นางนฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงาน
ลาออกวันที่ 5 กันยายน 2565
- นิพนธ์ บุญญามณี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
คณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2/5 [28]
- นายธนกร วังบุญคงชนะ เป็น รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- นายสุนทร ปานแสงทอง เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- นายนริศ ขำนุรักษ์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
ศาลฎีกามีคำพิพากษาตัดสิทธิทางการเมืองรัฐมนตรี จำนวน 1 ราย ส่งผลให้พ้นสภาพการเป็นรัฐมนตรีตั้งแต่วันที่ถูกสั่งระงับการปฏิบัติหน้าที่[29] และรัฐมนตรี จำนวน 4 ราย ได้ลาออกจากตำแหน่ง มีผลวันที่ 5 กันยายน 2565 (1 ราย)[30] วันที่ 18 มกราคม 2566 (1 ราย)[31] และวันที่ 17 มีนาคม 2566 (2 ราย)[32]
พ้นสภาพการเป็นรัฐมนตรี ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2565
- กนกวรรณ วิลาวัลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ลาออกวันที่ 5 กันยายน 2565
- นิพนธ์ บุญญามณี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
ลาออกวันที่ 18 มกราคม 2566
- วีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ลาออกวันที่ 17 มีนาคม 2566
- สมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
- สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉายา
พ.ศ. 2562
เป็นการตั้งฉายารัฐบาล, รัฐมนตรี และวาทะแห่งปีโดยผู้สื่อข่าวประจำทำเนียบรัฐบาลครั้งแรกในรอบ 6 ปี[33]
ฉายารัฐบาล : รัฐเชียงกง
ฉายารัฐมนตรี :
- พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี : อิเหนาเมาหมัด
- พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี : พี่ใหญ่สายเอ็นฯ
- สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี : ชายน้อยประชารัฐ
- วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี : ศรีธนญชัยรอดช่อง
- จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ : รัฐอิสระ
- อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข : สารหนู
- ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม : โอ๋ แซ่รื้อ
- วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่ากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : สัปเหร่อออนท็อป
- ร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : เทามนัส
- มนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : มาดามแบนเก้อ
วาทะแห่งปี : "อย่าเพิ่งเบื่อผมก็แล้วกัน ยังไงผมก็อยู่อีกนานพอสมควร" พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
พ.ศ. 2563[34]
ฉายารัฐบาล : VERY "กู้"
ฉายารัฐมนตรี :
- พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี : ตู่ไม่รู้ล้ม
- พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี : ป้อมไม่รู้โรย
- วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี : ไฮเตอร์ เซอร์วิส
- จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ : เช้าสายบ่ายเคลม
- อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข : ทินเนอร์
- ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ : หวีดดับ
- ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม : ศักดิ์สบายสายเขียว
- พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม : พังPORN
- สันติ พร้อมพัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง : ค้างคลัง
- นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงาน : แชมป์ไตรกีฬา
วาทะแห่งปี : "ไม่ออก.. แล้วผมทำผิดอะไรหรือ" พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ้างอิง
- ↑ "พระบรมราชโองการ แต่งตั้งรัฐมนตรี [คณะรัฐมนตรี ชุดที่ 62]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 10 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "พระบรมราชโองการ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี [พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 11 มิถุนายน 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-06-28. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "1st LD: Srettha Thavisin elected as Thailand's new prime minister - China.org.cn". www.china.org.cn. สืบค้นเมื่อ 2023-08-22.
- ↑ "โปรดเกล้าฯ เศรษฐา เป็นนายกฯคนที่ 30 เตรียมอันเชิญพระบรมราชโองการ". www.khaosod.co.th. สืบค้นเมื่อ 2023-08-23.
- ↑ "ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (พิเศษ 214 ง): 1–3. 2023-09-02. สืบค้นเมื่อ 2023-09-02.
- ↑ ""วิษณุ" คาดไทม์ไลน์ "ครม.ใหม่" ทำหน้าที่ช่วงปลายเดือน ก.ย." Thai PBS.
- ↑ ""ครม.เศรษฐา" ถวายสัตย์ปฏิญาณตนแล้ว - ถ่ายรูปหมู่ทำเนียบฯ". Thai PBS.
- ↑ พลังประชารัฐ : สามมิตร ไล่ สนธิรัตน์ พ้นเลขาฯ ชี้ "เป็นภัยความมั่นคงของพรรค”
- ↑ พลังประชารัฐ : สามมิตร “ไม่งอแง” เลิกเขย่าโผ ครม. ล้มแผนไล่ สนธิรัตน์
- ↑ ประยุทธ์ ส่อทิ้ง “เปรมโมเดล” ยึด “สฤษดิ์สไตล์”
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
- ↑ "ประยุทธ์ 2/1 : โปรดเกล้าฯ ครม. แล้ว". บีบีซีไทย. 10 กรกฎาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-07-10.
- ↑ "ด่วนที่สุด! มติศาลรธน.รับคำร้อง 32 ส.ส.-ตีตก 9 คนปมถือหุ้นสื่อ". แนวหน้า. 26 มิถุนายน 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-07-12.
- ↑ "ในหลวง" พระราชทานกำลังใจ ทรงแนะให้ครม.ใหม่แก้ปัญหาให้ตรงจุด
- ↑ ในหลวง พระราชทานพร ครม.ใหม่ มีกำลังใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความถูกต้อง
- ↑ "ในหลวง" มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ พระราชกฤษฎีกา "ยุบสภา"
- ↑ เปิดรายชื่อ ครม.ประยุทธ์ 2/1
- ↑ คณะรัฐมนตรีใหม่ เข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณ – ประชุมนัดแรกทันที
- ↑ "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี. 2563-07-30. สืบค้นเมื่อ 2563-07-30.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "สรุปผลการประชุมคณะรัฐมนตรี 21 กรกฎาคม 2563". รัฐบาลไทย. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี. 2563-07-21. สืบค้นเมื่อ 2563-07-22.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 137 ตอนพิเศษ 180 ง, 6 สิงหาคม พ.ศ. 2563
- ↑ "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี. 2563-09-01. สืบค้นเมื่อ 2563-09-01.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 137 ตอนพิเศษ 232 ง, 5 ตุลาคม พ.ศ. 2563
- ↑ "บี-ตั้น-ถาวร" เจอโทษ พ้นรัฐมนตรี 8 กปปส.นอนคุก พร้อมพวกลุงกำนัน
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 138 ตอนพิเศษ 65 ง, หน้า 1-2 23 มีนาคม พ.ศ. 2564
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 13 ตอนพิเศษ 212 ง, 9 กันยายน พ.ศ. 2564
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 139 ตอนพิเศษ 208 ง, 6 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 139 ตอนพิเศษ 278 ง, หน้า 1-2 30 มีนาคม พ.ศ. 2565
- ↑ ศาลสั่งตัดสิทธิ์การเมือง 10 ปี กนกวรรณ วิลาวัลย์ รมช. ศธ. ภูมิใจไทย คดีที่ดิน
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 139 ตอนพิเศษ 208 ง, 6 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 140 ตอนพิเศษ 16 ง, 23 มกราคม พ.ศ. 2566
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 140 ตอนพิเศษ 67 ง, 21 มีนาคม พ.ศ. 2566
- ↑ "รวมฉายารัฐบาล รัฐมนตรี และ วาทะแห่งปี ประจำปี 2562". BBC News ไทย. สืบค้นเมื่อ 2023-11-16.
- ↑ "ฉายานายกฯ ประยุทธ์ "ตู่ไม่รู้ล้ม" กับ รัฐบาล "VERY 'กู้'"". BBC News ไทย. สืบค้นเมื่อ 2023-11-16.