ตระกูลอักษรพราหมี
ตระกูลอักษรพราหมี หรือ ตระกูลอักษรอินเดีย เป็นตระกูลระบบการเขียนอักษรสระประกอบ ซึ่งมีการใช้งานทั่วอนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของเอเชียตะวันออก ตระกูลอักษรนี้พัฒนามาจากอักษรพราหมีในอินเดียโบราณ ซึ่งปัจจุบันมีการใช้งานหลายตระกูลภาษา เช่น: อินโด-อารยัน, ดราวิเดียน, ทิเบต-พม่า, มองโกล, ออสโตรเอเชียติก, ออสโตรนีเซียน และไท ตระกูลอักษรนี้ยังเป็นต้นตอของบรรณลักษณ์ปทานุกรม (โกจูอง) ในคานะของภาษาญี่ปุ่นด้วย[1]
บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง |
ประวัติ
แก้ตระกูลอักษรพราหมีพัฒนามาจากอักษรพราหมี มีการรับรองอักษรพราหมีตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ในรัชสมัยพระเจ้าอโศก ผู้ใช้อักษรนี้ในพระราชกฤษฎีกา แต่มีบางส่วนอ้างว่าพบคำจารึกยุคแรกบนเครื่องปั้นดินเผาในอินเดียใต้และศรีลังกา หลักฐานที่น่าเชื่อถือที่สุดคือจารึกอักษรพราหมีสั้น ๆ ที่เขียนขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช และตีพิมพ์โดย Coningham และคณะ (1996)[2] อักษรพราหมีเหนือพัฒนาไปเป็นอักษรคุปตะในสมัยจักรวรรดิคุปตะ ซึ่งภายหลังพัฒนาอักษรในช่วงสมัยกลางหลายรูปแบบ ตัวอย่างอักษรสมัยกลางที่โดดเด่น ซึ่งพัฒนาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 หรือ 8 ได้แก่ นาครี, สิทธัม และศารทา
อักษรสิทธัมมีส่วนสำคัญในศาสนาพุทธ เนื่องจากมีการเขียนพระสูตรด้วยอักษรนี้ ศิลปะอักษรวิจิตรสิทธัมยังคงปรากฏในประเทศญี่ปุ่น ตารางและบรรณลักษณ์ปทานุกรมของระบบคานะสมัยใหม่ เชื่อว่าสืบต้นตอจากอักษรอินเดีย ผ่านการเผยแผ่ศาสนาพุทธ[1]
ส่วนอักษรพราหมีใต้พัฒนาไปเป็นอักษรกทัมพะ, ปัลลวะ และวัตเตลุตตุ ซึ่งภายหลังพัฒนาเป็นอักษรรูปแบบอื่น ๆ ในเอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้ ตระกูลอักษรพราหมีกระจายไปอย่างสันติ ผ่านการทำให้เป็นอินเดีย หรือการแพร่กระจายของภูมิปัญญาอินเดีย ตัวอักษรเหล่านี้เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผ่านท่าเรือบนเส้นทางการค้า[3] ที่ท่าเรือเหล่านี้ มีผู้พบจารึกโบราณในภาษาสันสกฤตที่ใช้อักษรที่มีต้นกำเนิดในอินเดีย ในตอนแรก มีการเขียนจารึกเหล่านี้ด้วยภาษาของอินเดีย แต่ภายหลัง แต่ภายหลังมีการใช้อักษรนี้เขียบภาษาแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายหลังจึงมีการพัฒนาอักษรท้องถิ่นขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 อักษรเหล่านี้ได้แตกแขนงออกเป็นอักษรท้องถิ่นหลายแบบ[4]
-
ชิ้นส่วนเสาพระราชกฤษฎีกาที่ 6 ของพระเจ้าอโศกในอักษรพราหมี อักษรบรรพบุรุษของตระกูลอักษรพราหมีทั้งหมด
-
การกรระจายตัวของตระกูลอักษรพราหมี (และอักษรขโรษฐี) จากอินเดีย
การเปรียบเทียบ
แก้ตารางข้างล่างคืออักษรอินเดียที่สำคัญบางส่วน เรียงลำดับตามเกณฑ์รูปอักขระแถวแนวตั้งเดียวกันล้วนมาจากรูปอักขระพราหมีเดียวกัน:
- ตารางนี้ไม่ครอบคลุม ถ้ารูปอักขระไม่ได้มาจากอักษรพราหมี แต่เป็นอักษรที่ประดิษฐ์ขึ้น อาจไม่แสดงในนี้
- เสียงอ่านของรูปอักขระในแถวแนวตั้งเดียวกันอาจไม่เหมือนกัน เสียงอ่านในแนวนอนเป็นเฉพาะตัวอย่าง ถ้าเป็นไปได้ ควรใช้เสียงอ่านสัทอักษรสากลสำหรับภาษาสันสกฤต หรือถ้าจำเป็นก็ใช้ภาษาอื่น
รูปปริวรรตนี้ระบุไว้ใน ISO 15919
พยัญชนะ
แก้ISO[a] | ka | kha | ga | gha | ṅa | ca | cha | ja | jha | ña | ṭa | ṭha | ḍa | ḍha | ṇa | ta | tha | da | dha | na | ṉa | pa | pha | ba | bha | ma | ya | ẏa | ra | ṟa | la | ḷa | ḻa | va | śa | ṣa | sa | ha |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
พราหมี | 𑀓 | 𑀔 | 𑀕 | 𑀖 | 𑀗 | 𑀘 | 𑀙 | 𑀚 | 𑀛 | 𑀜 | 𑀝 | 𑀞 | 𑀟 | 𑀠 | 𑀡 | 𑀢 | 𑀣 | 𑀤 | 𑀥 | 𑀦 | 𑀧 | 𑀨 | 𑀩 | 𑀪 | 𑀫 | 𑀬 | 𑀭 | 𑀮 | 𑀴 | 𑀯 | 𑀰 | 𑀱 | 𑀲 | 𑀳 | ||||
เทวนาครี | क | ख | ग | घ | ङ | च | छ | ज | झ | ञ | ट | ठ | ड | ढ | ण | त | थ | द | ध | न | प | फ | ब | भ | म | य | र | ल | ळ | व | श | ष | स | ह | ||||
เบงกอล-อัสสัม | ক | খ | গ | ঘ | ঙ | চ | ছ | জ | ঝ | ঞ | ট | ঠ | ড | ঢ | ণ | ত | থ | দ | ধ | ন | প | ফ | ব | ভ | ম | য | য় | র,ৰ | ল | ৱ | শ | ষ | স | হ | ||||
คุรมุขี | ਕ | ਖ | ਗ | ਘ | ਙ | ਚ | ਛ | ਜ | ਝ | ਞ | ਟ | ਠ | ਡ | ਢ | ਣ | ਤ | ਥ | ਦ | ਧ | ਨ | ਪ | ਫ | ਬ | ਭ | ਮ | ਯ | ਰ | ਲ | ਲ਼ | ਵ | ਸ਼ | ਸ | ਹ | |||||
คุชราต | ક | ખ | ગ | ઘ | ઙ | ચ | છ | જ | ઝ | ઞ | ટ | ઠ | ડ | ઢ | ણ | ત | થ | દ | ધ | ન | પ | ફ | બ | ભ | મ | ય | ર | લ | ળ | વ | શ | ષ | સ | હ | ||||
โอริยา | କ | ଖ | ଗ | ଘ | ଙ | ଚ | ଛ | ଜ | ଝ | ଞ | ଟ | ଠ | ଡ | ଢ | ଣ | ତ | ଥ | ଦ | ଧ | ନ | ପ | ଫ | ବ | ଭ | ମ | ଯ | ୟ | ର | ଲ | ଳ | ୱ | ଶ | ଷ | ସ | ହ | |||
ทมิฬ | க | ங | ச | ஜ | ஞ | ட | ண | த | ந | ன | ப | ம | ய | ர | ற | ல | ள | ழ | வ | ஶ | ஷ | ஸ | ஹ | |||||||||||||||
เตลูกู | క | ఖ | గ | ఘ | ఙ | చ | ఛ | జ | ఝ | ఞ | ట | ఠ | డ | ఢ | ణ | త | థ | ద | ధ | న | ప | ఫ | బ | భ | మ | య | ర | ఱ | ల | ళ | ೞ | వ | శ | ష | స | హ | ||
กันนาดา | ಕ | ಖ | ಗ | ಘ | ಙ | ಚ | ಛ | ಜ | ಝ | ಞ | ಟ | ಠ | ಡ | ಢ | ಣ | ತ | ಥ | ದ | ಧ | ನ | ಪ | ಫ | ಬ | ಭ | ಮ | ಯ | ರ | ಱ | ಲ | ಳ | ೞ | ವ | ಶ | ಷ | ಸ | ಹ | ||
มลยาฬัม | ക | ഖ | ഗ | ഘ | ങ | ച | ഛ | ജ | ഝ | ഞ | ട | ഠ | ഡ | ഢ | ണ | ത | ഥ | ദ | ധ | ന | ഩ | പ | ഫ | ബ | ഭ | മ | യ | ര | റ | ല | ള | ഴ | വ | ശ | ഷ | സ | ഹ | |
สิงหล | ක | ඛ | ග | ඝ | ඞ | ච | ඡ | ජ | ඣ | ඤ | ට | ඨ | ඩ | ඪ | ණ | ත | ථ | ද | ධ | න | ප | ඵ | බ | භ | ම | ය | ර | ල | ළ | ව | ශ | ෂ | ස | හ | ||||
ทิเบต | ཀ | ཁ | ག | གྷ | ང | ཅ | ཆ | ཇ | ཛྷ | ཉ | ཊ | ཋ | ཌ | ཌྷ | ཎ | ཏ | ཐ | ད | དྷ | ན | པ | ཕ | བ | བྷ | མ | ཡ | ར | ལ | ཝ | ཤ | ཥ | ས | ཧ | |||||
มณีปุระ[b] | ꯀ | ꯈ | ꯒ | ꯘ | ꯉ | ꯆ | ꫢ | ꯖ | ꯓ | ꫣ | ꫤ | ꫥ | ꫦ | ꫧ | ꫨ | ꯇ | ꯊ | ꯗ | ꯙ | ꯅ | ꯄ | ꯐ | ꯕ | ꯚ | ꯃ | ꯌ | ꯔ | ꯂ | ꯋ | ꫩ | ꫪ | ꯁ | ꯍ | |||||
เลปชา | ᰀ | ᰂ | ᰃ | ᰅ | ᰆ | ᰇ | ᰈ | ᰉ | ᱍ | ᱎ | ᱏ | ᰊ | ᰋ | ᰌ | ᰍ | ᰎ | ᰐ | ᰓ | ᰕ | ᰚ | ᰛ | ᰜ | ᰟ | ᰡ | ᰡ᰷ | ᰠ | ᰝ | |||||||||||
ลิมบู | ᤁ | ᤂ | ᤃ | ᤄ | ᤅ | ᤆ | ᤇ | ᤈ | ᤉ | ᤊ | ᤋ | ᤌ | ᤍ | ᤎ | ᤏ | ᤐ | ᤑ | ᤒ | ᤓ | ᤔ | ᤕ | ᤖ | ᤗ | ᤘ | ᤙ | ᤚ | ᤛ | ᤜ | ||||||||||
ติรหุตา | 𑒏 | 𑒐 | 𑒑 | 𑒒 | 𑒓 | 𑒔 | 𑒕 | 𑒖 | 𑒗 | 𑒘 | 𑒙 | 𑒚 | 𑒛 | 𑒜 | 𑒝 | 𑒞 | 𑒟 | 𑒠 | 𑒡 | 𑒢 | 𑒣 | 𑒤 | 𑒥 | 𑒦 | 𑒧 | 𑒨 | 𑒩 | 𑒪 | 𑒬 | 𑒭 | 𑒮 | 𑒯 | ||||||
ไกถี | 𑂍 | 𑂎 | 𑂏 | 𑂐 | 𑂑 | 𑂒 | 𑂓 | 𑂔 | 𑂕 | 𑂖 | 𑂗 | 𑂘 | 𑂙 | 𑂛 | 𑂝 | 𑂞 | 𑂟 | 𑂠 | 𑂡 | 𑂢 | 𑂣 | 𑂤 | 𑂥 | 𑂦 | 𑂧 | 𑂨 | 𑂩 | 𑂪 | 𑂫 | 𑂬 | 𑂭 | 𑂮 | 𑂯 | |||||
ครันถะ | 𑌕 | 𑌖 | 𑌗 | 𑌘 | 𑌙 | 𑌚 | 𑌛 | 𑌜 | 𑌝 | 𑌞 | 𑌟 | 𑌠 | 𑌡 | 𑌢 | 𑌣 | 𑌤 | 𑌥 | 𑌦 | 𑌧 | 𑌨 | 𑌪 | 𑌫 | 𑌬 | 𑌭 | 𑌮 | 𑌯 | 𑌰 | 𑌲 | 𑌳 | 𑌵 | 𑌶 | 𑌷 | 𑌸 | 𑌹 | ||||
สิเลฏินาครี | ꠇ | ꠈ | ꠉ | ꠊ | ꠌ | ꠍ | ꠎ | ꠏ | ꠐ | ꠑ | ꠒ | ꠓ | ꠔ | ꠕ | ꠖ | ꠗ | ꠘ | ꠙ | ꠚ | ꠛ | ꠜ | ꠝ | ꠞ | ꠟ | ꠡ | ꠢ | ||||||||||||
จักมา[c] | 𑄇 | 𑄈 | 𑄉 | 𑄊 | 𑄋 | 𑄌 | 𑄍 | 𑄎 | 𑄏 | 𑄐 | 𑄑 | 𑄒 | 𑄓 | 𑄔 | 𑄕 | 𑄖 | 𑄗 | 𑄘 | 𑄙 | 𑄚 | 𑄛 | 𑄜 | 𑄝 | 𑄞 | 𑄟 | 𑄠 | 𑄡 | 𑄢 | 𑄣 | 𑅄 | 𑄤 | 𑄥 | 𑄦 | |||||
พม่า | က | ခ | ဂ | ဃ | င | စ | ဆ | ဇ | ဈ | ဉ / ည | ဋ | ဌ | ဍ | ဎ | ဏ | တ | ထ | ဒ | ဓ | န | ပ | ဖ | ဗ | ဘ | မ | ယ | ရ | လ | ဠ | ဝ | ၐ | ၑ | သ | ဟ | ||||
เขมร | ក | ខ | គ | ឃ | ង | ច | ឆ | ជ | ឈ | ញ | ដ | ឋ | ឌ | ឍ | ណ | ត | ថ | ទ | ធ | ន | ប | ផ | ព | ភ | ម | យ | រ | ល | ឡ | វ | ឝ | ឞ | ស | ហ | ||||
ไทย | ก | ข,ฃ[d] | ค,ฅ[d] | ฆ | ง | จ | ฉ | ช,ซ[d] | ฌ | ญ | ฎ,[d]ฏ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด,[d]ต | ถ | ท | ธ | น | บ,[d]ป | ผ,ฝ[d] | พ,ฟ[d] | ภ | ม | ย | ร | ล | ฬ | ว | ศ | ษ | ส | ห,ฮ[d] | ||||
ลาว | ກ | ຂ | ຄ | ຆ[e] | ງ | ຈ | ຉ[e] | ຊ | ຌ[e] | ຎ[e] | ຏ[e] | ຐ[e] | ຑ[e] | ຒ[e] | ຓ[e] | ຕ | ຖ | ທ | ຘ[e] | ນ | ປ | ຜ | ພ | ຠ[e] | ມ | ຍ | ຣ | ລ | ຬ[e] | ວ | ຨ[e] | ຩ[e] | ສ | ຫ | ||||
จาม | ꨆ | ꨇ | ꨈ | ꨉ | ꨋ | ꨌ | ꨍ | ꨎ | ꨏ | ꨑ | ꨓ | ꨔ | ꨕ | ꨖ | ꨘ | ꨚ | ꨜ | ꨝ | ꨞ | ꨠ | ꨢ | ꨣ | ꨤ | ꨥ | ꨦ | ꨧ | ꨨ | |||||||||||
บาหลี | ᬓ | ᬔ | ᬕ | ᬖ | ᬗ | ᬘ | ᬙ | ᬚ | ᬛ | ᬜ | ᬝ | ᬞ | ᬟ | ᬠ | ᬡ | ᬢ | ᬣ | ᬤ | ᬥ | ᬦ | ᬧ | ᬨ | ᬩ | ᬪ | ᬫ | ᬬ | ᬭ | ᬮ | ᬯ | ᬰ | ᬱ | ᬲ | ᬳ | |||||
ชวา[f] | ꦏ | ꦑ[f] | ꦒ | ꦓ[f] | ꦔ | ꦕ | ꦖ[f] | ꦗ | ꦙ[f] | ꦚ | ꦛ | ꦜ[f] | ꦝ | ꦞ[f] | ꦟ[f] | ꦠ | ꦡ[f] | ꦢ | ꦣ[f] | ꦤ | ꦘ | ꦥ | ꦦ[f] | ꦧ | ꦨ[f] | ꦩ | ꦪ | ꦫ | ꦭ | ꦮ | ꦯ[f] | ꦰ[f] | ꦱ | ꦲ | ||||
ซุนดา | ᮊ | ᮮ[g] | ᮌ | ᮍ | ᮎ | ᮏ | ᮑ | ᮒ | ᮓ | ᮔ | ᮕ | ᮘ | ᮽ[h] | ᮙ | ᮚ | ᮛ | ᮜ | ᮝ | ᮯ[i] | ᮞ | ᮠ | |||||||||||||||||
ลนตารา | ᨀ | ᨁ | ᨂ | ᨌ | ᨍ | ᨎ | ᨈ | ᨉ | ᨊ | ᨄ | ᨅ | ᨆ | ᨐ | ᨑ | ᨒ | ᨓ | ᨔ | ᨕ | ||||||||||||||||||||
มากาซาร์ | 𑻠 | 𑻡 | 𑻢 | 𑻩 | 𑻪 | 𑻫 | 𑻦 | 𑻧 | 𑻨 | 𑻣 | 𑻤 | 𑻥 | 𑻬 | 𑻭 | 𑻮 | 𑻯 | 𑻰 | 𑻱 | ||||||||||||||||||||
เรอจัง | ꤰ | ꤱ | ꤲ | ꤹ | ꤺ | ꤻ | ꤳ | ꤴ | ꤵ | ꤶ | ꤷ | ꤸ | ꤿ | ꤽ | ꤾ | ꥀ | ꤼ | ꥁ | ||||||||||||||||||||
บาตัก (โตบา) |
ᯂ | ᯎ | ᯝ | ᯐ | ᯠ/ᯛ | ᯖ | ᯑ | ᯉ | ᯇ | ᯅ | ᯔ | ᯒ | ᯞ | ᯞ | ᯘ | ᯂ | ||||||||||||||||||||||
ไบบายิน | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
บูฮิด | ᝃ | ᝄ | ᝅ | ᝆ | ᝇ | ᝈ | ᝉ | ᝊ | ᝋ | ᝌ | ᝍ | ᝎ | ᝏ | ᝐ | ᝑ | |||||||||||||||||||||||
ฮานูโนโอ | ᜣ | ᜤ | ᜥ | ᜦ | ᜧ | ᜨ | ᜩ | ᜪ | ᜫ | ᜬ | ᜭ | ᜮ | ᜯ | ᜰ | ᜱ | |||||||||||||||||||||||
ตักบันวา | ᝣ | ᝤ | ᝥ | ᝦ | ᝧ | ᝨ | ᝩ | ᝪ | ᝫ | ᝬ | ᝮ | ᝯ | ᝰ | |||||||||||||||||||||||||
ISO | ka | kha | ga | gha | ṅa | ca | cha | ja | jha | ña | ṭa | ṭha | ḍa | ḍha | ṇa | ta | tha | da | dha | na | ṉa | pa | pha | ba | bha | ma | ya | ẏa | ra | ṟa | la | ḷa | ḻa | va | śa | ṣa | sa | ha |
- หมายเหตุ
- ↑ รายการนี้พยายามรวมอักษรที่มีต้นตอเดียวกัน ไม่ใช่เสียงเดียวกัน เช่น র ในอักษรเบงกอลออกเสียงเป็น rô แต่เดิมทีเป็นอักษร va ซึ่งใช้แทนเสียง wa ในMithilakshar และ ৱ (wabbô) ในอักษรอัสสัมสมัยใหม่มาจาก র (wô) ในอักษรอัสสัมสมัยกลาง เมื่อเทียบกับ জ (ja) য (ya) และ য় (ẏ) ที่ภาษาเบงกอลออกเสียงว่า jô, jô และ yô และภาษาอัสสัมออกเสียงว่า zô, zô และ yô ตามลำดับ য มีความใกล้ชิดกับ य (ya) ในอักษรเทวนาครี แต่ยังคงออกเสียงเป็น "ya" ใน Mithilakshar เนื่องจากมีการเปลี่ยนเสียง จึงเพิ่มจุดเข้าไปเพื่อรักษาเสียงต้นฉบับ
- ↑ รวมพยัญชนะเสริมที่ไม่ใช้ในสมัยใหม่
- ↑ สระลดรูปคือ ā
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 อักษรดัดแปลงเหล่านี้มีไว้แยกอักษรต่าง ๆ ที่มีเสียงเดียวกันในภาษาไทย ซึ่งไม่พบในภาษาบาลีและสันสกฤตสำหรับอักษรไทย
- ↑ 5.00 5.01 5.02 5.03 5.04 5.05 5.06 5.07 5.08 5.09 5.10 5.11 5.12 5.13 อักษรเหล่านี้เลิกใช้งานแล้ว แต่ในอดีต ส่วนใหญ่ใช้เขียนภาษาบาลีและสันสกฤตในอักษรลาว
- ↑ 6.00 6.01 6.02 6.03 6.04 6.05 6.06 6.07 6.08 6.09 6.10 6.11 6.12 6.13 อักษรในภาษาชวาเก่า ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว แต่ในภาษาชวาสมัยใหม่ใช้ในเชิงให้เกียรติ
- ↑ อักษรประดิษฐ์ใหม่ที่ใช้แทนอักษรอาหรับ خ
- ↑ อักษรที่ใช้ในภาษาซุนดาเก่า ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว
- ↑ อักษรประดิษฐ์ใหม่ที่ใช้แทนอักษรอาหรับ ش ซึ่งออกเสียงคล้ายกับ śa.
สระ
แก้ลักษณะของสระในกลุ่มอักษรนี้คือ วางได้รอบพยัญชนะ และแบ่งสระเป็น 2 ชุดคือ สระลอยใช้แทนเสียงสระที่ประสมกับเสียง /อ/ ซึ่งถือเป็นเสียงสระ กับสระจมที่ประสมกับเสียงพยัญชนะ อักษรเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังแบ่งสระเป็นสระลอยกับสระจม ยกเว้น อักษรไทยกับอักษรลาวที่ใช้สระจมเกาะกับอักษร อ แทนสระลอย ในตารางต่อไปนี้รูปสระจมเกาะกับเสียงพยัญชนะ /k/
ISO | a | ā | ê | ô | i | ī | u | ū | e | ē | ai | o | ō | au | r̥ | r̥̄ [a] | l̥ [a] | l̥̄ [a] | ṁ | ḥ | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
a | ka | ā | kā | ê | kê | ô | kô | i | ki | ī | kī | u | ku | ū | kū | e | ke | ē | kē | ai | kai | o | ko | ō | kō | au | kau | r̥ | kr̥ | r̥̄ | kr̥̄ | l̥ | kl̥ | l̥̄ | kl̥̄ | ṁ | kṁ | ḥ | kḥ | k | |
พราหมีอโศก | 𑀅 | 𑀓 | 𑀆 | 𑀓𑀸 | 𑀇 | 𑀓𑀺 | 𑀈 | 𑀓𑀻 | 𑀉 | 𑀓𑀼 | 𑀊 | 𑀓𑀽 | 𑀏 | 𑀓𑁂 | 𑀐 | 𑀓𑁃 | 𑀑 | 𑀓𑁄 | 𑀒 | 𑀓𑁅 | 𑀋 | 𑀓𑀾 | 𑀌 | 𑀓𑀿 | 𑀍 | 𑀓𑁀 | 𑀎 | 𑀓𑁁 | 𑀅𑀂 | 𑀓𑀂 | 𑀅𑀃 | 𑀓𑀃 | 𑀓𑁆 | ||||||||
เทวนาครี | अ | क | आ | का | ॲ | कॅ | ऑ | कॉ | इ | कि | ई | की | उ | कु | ऊ | कू | ऎ | कॆ | ए | के | ऐ | कै | ऒ | कॊ | ओ | को | औ | कौ | ऋ | कृ | ॠ | कॄ | ऌ | कॢ | ॡ | कॣ | अं | कं | अः | कः | क् |
เบงกอล-อัสสัม | অ | ক | আ | কা | অ্য | ক্য | অ্যা | ক্যা | ই | কি | ঈ | কী | উ | কু | ঊ | কূ | এ | কে | ঐ | কৈ | ও | কো | ঔ | কৌ | ঋ | কৃ | ৠ | কৄ | ঌ | কৢ | ৡ | কৣ | অং | কং | অঃ | কঃ | ক্ | ||||
คุชราต | અ | ક | આ | કા | ઇ | કિ | ઈ | કી | ઉ | કુ | ઊ | કૂ | એ | કે | ઐ | કૈ | ઓ | કો | ઔ | કૌ | ઋ | કૃ | ૠ | કૄ | ઌ | કૢ | ૡ | કૣ | અં | કં | અઃ | કઃ | ક્,ક્ | ||||||||
โอริยา | ଅ | କ | ଆ | କା | ଇ | କି | ଈ | କୀ | ଉ | କୁ | ଊ | କୂ | ଏ | କେ | ଐ | କୈ | ଓ | କୋ | ଔ | କୌ | ଋ | କୃ | ୠ | କୄ | ଌ | କୢ | ୡ | କୣ | ଂ | କଂ | ଃ | କଃ | କ୍ | ||||||||
คุรมุขี | ਅ | ਕ | ਆ | ਕਾ | ਇ | ਕਿ | ਈ | ਕੀ | ਉ | ਕੁ | ਊ | ਕੂ | ਏ | ਕੇ | ਐ | ਕੈ | ਓ | ਕੋ | ਔ | ਕੌ | ਅਂ | ਕਂ | ਅਃ | ਕਃ | ਕ੍ | ||||||||||||||||
มณีปุระ[b] | ꯑ | ꯀ | ꯑꯥ | ꯀꯥ | ꯏ | ꯀꯤ | ꯑꫫ | ꯀꫫ | ꯎ | ꯀꯨ | ꯑꫬ | ꯀꫬ | ꯑꯦ | ꯀꯦ | ꯑꯩ | ꯀꯩ | ꯑꯣ | ꯀꯣ | ꯑꯧ | ꯀꯧ | ꯑꯪ | ꯀꯪ | ꯑꫵ | ꯀꫵ | ꯛ | ||||||||||||||||
ทิเบต | ཨ | ཀ | ཨཱ | ཀཱ | ཨི | ཀི | ཨཱི | ཀཱི | ཨུ | ཀུ | ཨཱུ | ཀཱུ | ཨེ | ཀེ | ཨཻ | ཀཻ | ཨོ | ཀོ | ཨཽ | ཀཽ | རྀ | ཀྲྀ | རཱྀ | ཀཷ | ལྀ | ཀླྀ | ལཱྀ | ཀླཱྀ | ཨཾ | ཀཾ | ཨཿ | ཀཿ | ཀ྄ | ||||||||
เลปชา | ᰣ | ᰀ | ᰣᰦ | ᰀᰦ | ᰣᰧ | ᰀᰧ | ᰣᰧᰶ | ᰀᰧᰶ | ᰣᰪ | ᰀᰪ | ᰣᰫ | ᰀᰫ | ᰣᰬ | ᰀᰬ | ᰣᰨ | ᰀᰨ | ᰣᰩ | ᰀᰩ | ᰣᰴ | ᰀᰴ | |||||||||||||||||||||
ลิมบู | ᤀ | ᤁ | ᤀᤠ | ᤁᤠ | ᤀᤡ | ᤁᤡ | ᤀᤡ᤺ | ᤁᤡ᤺ | ᤀᤢ | ᤁᤢ | ᤀ᤺ᤢ | ᤁ᤺ᤢ | ᤀᤧ | ᤁᤧ | ᤀᤣ | ᤁᤣ | ᤀᤤ | ᤁᤤ | ᤀᤨ | ᤁᤨ | ᤀᤥ | ᤁᤥ | ᤀᤦ | ᤁᤦ | ᤀᤲ | ᤁᤲ | ᤁ᤻ | ||||||||||||||
ติรหุตา | 𑒁 | 𑒏 | 𑒂 | 𑒏𑒰 | 𑒃 | 𑒏𑒱 | 𑒄 | 𑒏𑒲 | 𑒅 | 𑒏𑒳 | 𑒆 | 𑒏𑒴 | 𑒏𑒺 | 𑒋 | 𑒏𑒹 | 𑒌 | 𑒏𑒻 | 𑒏𑒽 | 𑒍 | 𑒏𑒼 | 𑒎 | 𑒏𑒾 | 𑒇 | 𑒏𑒵 | 𑒈 | 𑒏𑒶 | 𑒉 | 𑒏𑒷 | 𑒊 | 𑒏𑒸 | 𑒁𑓀 | 𑒏𑓀 | 𑒁𑓁 | 𑒏𑓁 | 𑒏𑓂 | ||||||
ไกถี | 𑂃 | 𑂍 | 𑂄 | 𑂍𑂰 | 𑂅 | 𑂍𑂱 | 𑂆 | 𑂍𑂲 | 𑂇 | 𑂍𑂳 | 𑂈 | 𑂍𑂴 | 𑂉 | 𑂍𑂵 | 𑂊 | 𑂍𑂶 | 𑂋 | 𑂍𑂷 | 𑂌 | 𑂍𑂸 | 𑂃𑂁 | 𑂍𑂁 | 𑂃𑂂 | 𑂍𑂂 | 𑂍𑂹 | ||||||||||||||||
สิเลฏินาครี | ꠇ | ꠀ | ꠇꠣ | ꠁ | ꠇꠤ | ꠃ | ꠇꠥ | ꠄ | ꠇꠦ | ꠅꠂ | ꠇꠂ | ꠅ | ꠇꠧ | ꠀꠋ | ꠇꠋ | ꠇ꠆ | |||||||||||||||||||||||||
ทมิฬ | அ | க | ஆ | கா | இ | கி | ஈ | கீ | உ | கு | ஊ | கூ | எ | கெ | ஏ | கே | ஐ | கை | ஒ | கொ | ஓ | கோ | ஔ | கௌ | அஂ | கஂ | அஃ | கஃ | க் | ||||||||||||
กันนาดา | ಅ | ಕ | ಆ | ಕಾ | ಇ | ಕಿ | ಈ | ಕೀ | ಉ | ಕು | ಊ | ಕೂ | ಎ | ಕೆ | ಏ | ಕೇ | ಐ | ಕೈ | ಒ | ಕೊ | ಓ | ಕೋ | ಔ | ಕೌ | ಋ | ಕೃ | ೠ | ಕೄ | ಌ | ಕೢ | ೡ | ಕೣ | అం | ಕಂ | అః | ಕಃ | ಕ್ | ||||
เตลูกู | అ | క | ఆ | కా | ఇ | కి | ఈ | కీ | ఉ | కు | ఊ | కూ | ఎ | కె | ఏ | కే | ఐ | కై | ఒ | కొ | ఓ | కో | ఔ | కౌ | ఋ | కృ | ౠ | కౄ | ఌ | కౢ | ౡ | కౣ | అం | కం | అః | కః | క్ | ||||
สิงหล | අ | ක | ආ | කා | ඇ | කැ | ඈ | කෑ | ඉ | කි | ඊ | කී | උ | කු | ඌ | කූ | එ | කෙ | ඒ | කේ | ඓ | කෛ | ඔ | කො | ඕ | කෝ | ඖ | කෞ | සෘ | කෘ | සෲ | කෲ | ඏ | කෟ | ඐ | කෳ | අං | කං | අඃ | කඃ | ක් |
มลยาฬัม | അ | ക | ആ | കാ | ഇ | കി | ഈ | കീ | ഉ | കു | ഊ | കൂ | എ | കെ | ഏ | കേ | ഐ | കൈ | ഒ | കൊ | ഓ | കോ | ഔ | കൗ | ഋ | കൃ | ൠ | കൄ | ഌ | കൢ | ൡ | കൣ | അം | കം | അഃ | കഃ | ക്,ക് | ||||
จักมา | 𑄃𑄧 | 𑄇𑄧 | 𑄃 | 𑄇 | 𑄃𑄬𑄬 | 𑄇𑄬𑄬 | 𑄃𑅅 | 𑄇𑅅 | 𑄄, 𑄃𑄨 | 𑄇𑄨 | 𑄃𑄩 | 𑄇𑄩 | 𑄅, 𑄃𑄪 | 𑄇𑄪 | 𑄃𑄫 | 𑄇𑄫 | 𑄆, 𑄃𑄬 | 𑄇𑄬 | 𑄃𑄰 | 𑄇𑄰 | 𑄃𑄮 | 𑄇𑄮 | 𑄃𑄯 | 𑄇𑄯 | 𑄃𑄧𑄁 | 𑄇𑄧𑄁 | 𑄃𑄧𑄂 | 𑄇𑄧𑄂 | 𑄇𑄴 | ||||||||||||
พม่า | အ | က | အာ | ကာ | ဣ | ကိ | ဤ | ကီ | ဥ | ကု | ဦ | ကူ | ဧ | ကေ | အဲ | ကဲ | ဩ | ကော | ဪ | ကော် | ၒ | ကၖ | ၓ | ကၗ | ၔ | ကၘ | ၕ | ကၙ | အံ | ကံ | အး | ကး | က် | ||||||||
เขมร[c] | អ | ក | អា | កា | ឥ | កិ | ឦ | កី | ឧ | កុ | ឩ | កូ | ឯ | កេ | ឰ | កៃ | ឱ | កោ | ឳ | កៅ | ឫ | ក្ឫ | ឬ | ក្ឬ | ឭ | ក្ឭ | ឮ | ក្ឮ | អំ | កំ | អះ | កះ | ក៑ | ||||||||
ไทย[d] | อ (อะ) | ก (กะ) | อา | กา | แอ | แก | (ออ) | (กอ) | อิ | กิ | อี | กี | อุ | กุ | อู | กู | (เอะ) | (เกะ) | เอ | เก | ไอ,ใอ | ไก,ใก | (โอะ) | (โกะ) | โ | โก | เอา | เกา | ฤ | กฺฤ | ฤๅ | กฺฤๅ | ฦ | กฺฦ | ฦๅ | กฺฦๅ | อํ | กํ | อะ (อะฮฺ) | กะ (กะฮฺ) | กฺ (ก/ก์) |
ลาว[d] | ອະ | ກະ | ອາ | ກາ | ແອ | ແກ | (ອອ) | (ກອ) | ອິ | ກິ | ອີ | ກີ | ອຸ | ກຸ | ອູ | ກູ | (ແອະ) | (ແກະ) | ເອ | ເກ | ໄອ,ໃອ | ໄກ,ໃກ | (ໂອະ) | (ໂກະ) | ໂອ | ໂກ | ເອົາ,ອາວ | ເກົາ,ກາວ | ອํ | ກํ | ອະ | ກະ | ກ | ||||||||
จาม | ꨀ | ꨆ | ꨀꨩ | ꨆꨩ | ꨁ | ꨆꨪ | ꨁꨩ | ꨆꨫ | ꨂ | ꨆꨭ | ꨂꨩ | ꨆꨭꨩ | ꨃ | ꨆꨯꨮ | ꨄ | ꨆꨰ | ꨅ | ꨆꨯ | ꨀꨯꨱ | ꨆꨯꨱ | ꨣꨮ | ꨆꨴꨮ | ꨣꨮꨩ | ꨆꨴꨮꨩ | ꨤꨮ | ꨆꨵꨮ | ꨤꨮꨩ | ꨆꨵꨮꨩ | ꨀꩌ | ꨆꩌ | ꨀꩍ | ꨆꩍ | ꩀ | ||||||||
บาหลี | ᬅ | ᬓ | ᬆ | ᬓᬵ | ᬇ | ᬓᬶ | ᬈ | ᬓᬷ | ᬉ | ᬓᬸ | ᬊ | ᬓᬹ | ᬏ | ᬓᬾ | ᬐ | ᬓᬿ | ᬑ | ᬓᭀ | ᬒ | ᬓᭁ | ᬋ | ᬓᬺ | ᬌ | ᬓᬻ | ᬍ | ᬓᬼ | ᬎ | ᬓᬽ | ᬅᬂ | ᬓᬂ | ᬅᬄ | ᬓᬄ | ᬓ᭄ | ||||||||
ชวา | ꦄ | ꦏ | ꦄꦴ | ꦏꦴ | ꦆ | ꦏꦶ | ꦇ | ꦏꦷ | ꦈ | ꦏꦸ | ꦈꦴ | ꦏꦹ | ꦌ | ꦏꦺ | ꦍ | ꦏꦻ | ꦎ | ꦏꦺꦴ | ꦎꦴ | ꦏꦻꦴ | ꦉ | ꦏꦽ | ꦉꦴ | ꦏꦽꦴ | ꦊ | ꦏ꧀ꦭꦼ | ꦋ | ꦏ꧀ꦭꦼꦴ | ꦄꦁ | ꦏꦁ | ꦄꦃ | ꦏꦃ | ꦏ꧀ | ||||||||
ซุนดา | ᮃ | ᮊ | ᮆ | ᮊᮦ | ᮉ | ᮊᮩ | ᮄ | ᮊᮤ | ᮅ | ᮊᮥ | ᮈ | ᮊᮦ | ᮇ | ᮊᮧ | ᮻ[e] | ᮊ᮪ᮻ[e] | ᮼ[e] | ᮊ᮪ᮼ[e] | ᮃᮀ | ᮊᮀ | ᮃᮂ | ᮊᮂ | ᮊ᮪ | ||||||||||||||||||
ลนตารา | ᨕ | ᨀ | ᨕᨛ | ᨀᨛ | ᨕᨗ | ᨀᨗ | ᨕᨘ | ᨀᨘ | ᨕᨙ | ᨀᨙ | ᨕᨚ | ᨀᨚ | |||||||||||||||||||||||||||||
มากาซาร์ | 𑻱 | 𑻠 | 𑻱𑻳 | 𑻠𑻳 | 𑻱𑻴 | 𑻠𑻴 | 𑻱𑻵 | 𑻠𑻵 | 𑻱𑻶 | 𑻠𑻶 | |||||||||||||||||||||||||||||||
เรอจัง | ꥆ | ꤰ | ꥆꥎ | ꤰꥎ | ꥆꥍ | ꤰꥍ | ꥆꥇ | ꤰꥇ | ꥆꥈ | ꤰꥈ | ꥆꥉ | ꤰꥉ | ꥆꥊ | ꤰꥊ | ꥆꥋ | ꤰꥋ | ꥆꥌ | ꤰꥌ | ꥆꥏ | ꤰꥏ | ꥆꥒ | ꤰꥒ | ꤰ꥓ | ||||||||||||||||||
บาตัก (โตบา) | ᯀ | ᯂ | ᯤ | ᯂᯪ | ᯥ | ᯂᯮ | ᯂᯩ | ᯂᯬ | ᯀᯰ | ᯂᯰ | ᯀᯱ | ᯂᯱ | ᯂ᯲ | ||||||||||||||||||||||||||||
ไบบายิน | ᜀ | ᜃ | ᜁ | ᜃᜒ | ᜂ | ᜃᜓ | ᜁ | ᜃᜒ | ᜂ | ᜃᜓ | ᜃ᜔ | ||||||||||||||||||||||||||||||
บูฮิด | ᝀ | ᝃ | ᝁ | ᝃᝒ | ᝂ | ᝃᝓ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฮานูโนโอ | ᜠ | ᜣ | ᜡ | ᜣᜲ | ᜢ | ᜣᜳ | ᜣ᜴ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตักบันวา | ᝠ | ᝣ | ᝡ | ᝣᝲ | ᝢ | ᝣᝳ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
ISO | a | ka | ā | kā | ê | kê | ô | kô | i | ki | ī | kī | u | ku | ū | kū | e | ke | ē | kē | ai | kai | o | ko | ō | kō | au | kau | r̥ | kr̥ | r̥̄ | kr̥̄ | l̥ | kl̥ | l̥̄ | kl̥̄ | ṁ | kṁ | ḥ | kḥ | k |
a | ā | ê | ô | i | ī | u | ū | e | ē | ai | o | ō | au | r̥ | r̥̄ | l̥ | l̥̄ | ṁ | ḥ |
หมายเหตุ
- ↑ 1.0 1.1 1.2 อักษรสำหรับ r̥̄, l̥, l̥̄ และอื่น ๆ ปัจจุบันเลิกใช้งานหรือแทบไม่ได้ใช้งาน
- ↑ รวมสระเสริมที่ไม่ใช้ในสมัยใหม่
- ↑ ภาษาเขมรสามารถใช้ a หรือ o เป็นสระลดรูป เมื่อเขียนถึงภาษาของตนเองตามกฎอักขรวิธี
- ↑ 4.0 4.1 อักษรไทยและลาวไม่มีรูปสระอิสระ เนื่องจากพยางค์ที่ขึ้นต้นด้วยเสียงสระ สระ "ศูนย์" (อ และ ອ ตามลำดับ) ใช้แทนเสียงหยุด เส้นเสียง /ʔ/
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 อักษรที่ใช้ในภาษาซุนดาเก่า ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว
ตัวเลข
แก้ฮินดู-อารบิก | 0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ตัวเลขพราหมี | 𑁒 | 𑁓 | 𑁔 | 𑁕 | 𑁖 | 𑁗 | 𑁘 | 𑁙 | 𑁚 | |
เลขโดดพราหมี | 𑁦 | 𑁧 | 𑁨 | 𑁩 | 𑁪 | 𑁫 | 𑁬 | 𑁭 | 𑁮 | 𑁯 |
อัสสัม | ০ | ১ | ২ | ৩ | ৪ | ৫ | ৬ | ৭ | ৮ | ৯ |
เบงกอล | ০ | ১ | ২ | ৩ | ৪ | ৫ | ৬ | ৭ | ৮ | ৯ |
ติรหุตา | 𑓐 | 𑓑 | 𑓒 | 𑓓 | 𑓔 | 𑓕 | 𑓖 | 𑓗 | 𑓘 | 𑓙 |
โอริยา | ୦ | ୧ | ୨ | ୩ | ୪ | ୫ | ୬ | ୭ | ୮ | ୯ |
เทวนาครี | ० | १ | २ | ३ | ४ | ५ | ६ | ७ | ८ | ९ |
คุชราต | ૦ | ૧ | ૨ | ૩ | ૪ | ૫ | ૬ | ૭ | ૮ | ૯ |
โมฑี | 𑙐 | 𑙑 | 𑙒 | 𑙓 | 𑙔 | 𑙕 | 𑙖 | 𑙗 | 𑙘 | 𑙙 |
ศารทา | 𑇐 | 𑇑 | 𑇒 | 𑇓 | 𑇔 | 𑇕 | 𑇖 | 𑇗 | 𑇘 | 𑇙 |
ฏากรี | 𑛀 | 𑛁 | 𑛂 | 𑛃 | 𑛄 | 𑛅 | 𑛆 | 𑛇 | 𑛈 | 𑛉 |
คุรมุขี | ੦ | ੧ | ੨ | ੩ | ੪ | ੫ | ੬ | ੭ | ੮ | ੯ |
ขุทาพาที | 𑋰 | 𑋱 | 𑋲 | 𑋳 | 𑋴 | 𑋵 | 𑋶 | 𑋷 | 𑋸 | 𑋹 |
มณีปุระ (เมเต) | ꯰ | ꯱ | ꯲ | ꯳ | ꯴ | ꯵ | ꯶ | ꯷ | ꯸ | ꯹ |
ปรัจลิต | 𑑐 | 𑑑 | 𑑒 | 𑑓 | 𑑔 | 𑑕 | 𑑖 | 𑑗 | 𑑘 | 𑑙 |
ทิเบต | ༠ | ༡ | ༢ | ༣ | ༤ | ༥ | ༦ | ༧ | ༨ | ༩ |
มองโกล[a] | ᠐ | ᠑ | ᠒ | ᠓ | ᠔ | ᠕ | ᠖ | ᠗ | ᠘ | ᠙ |
เลปชา | ᱀ | ᱁ | ᱂ | ᱃ | ᱄ | ᱅ | ᱆ | ᱇ | ᱈ | ᱉ |
ลิมบู | ᥆ | ᥇ | ᥈ | ᥉ | ᥊ | ᥋ | ᥌ | ᥍ | ᥎ | ᥏ |
ตัวเลขโหราศาสตร์สิงหล | ෦ | ෧ | ෨ | ෩ | ෪ | ෫ | ෬ | ෭ | ෮ | ෯ |
อดีตตัวเลขสิงหล | 𑇡 | 𑇢 | 𑇣 | 𑇤 | 𑇥 | 𑇦 | 𑇧 | 𑇨 | 𑇩 | |
ทมิฬ | ೦ | ௧ | ௨ | ௩ | ௪ | ௫ | ௬ | ௭ | ௮ | ௯ |
เตลูกู | ౦ | ౧ | ౨ | ౩ | ౪ | ౫ | ౬ | ౭ | ౮ | ౯ |
กันนาดา | ೦ | ೧ | ೨ | ೩ | ೪ | ೫ | ೬ | ೭ | ೮ | ೯ |
มลยาฬัม | ൦ | ൧ | ൨ | ൩ | ൪ | ൫ | ൬ | ൭ | ൮ | ൯ |
Saurashtra | ꣐ | ꣑ | ꣒ | ꣓ | ꣔ | ꣕ | ꣖ | ꣗ | ꣘ | ꣙ |
อาหม | 𑜰 | 𑜱 | 𑜲 | 𑜳 | 𑜴 | 𑜵 | 𑜶 | 𑜷 | 𑜸 | 𑜹 |
จักมา | 𑄶 | 𑄷 | 𑄸 | 𑄹 | 𑄺 | 𑄻 | 𑄼 | 𑄽 | 𑄾 | 𑄿 |
พม่า | ၀ | ၁ | ၂ | ၃ | ၄ | ၅ | ၆ | ၇ | ၈ | ၉ |
ไทใหญ่ | ႐ | ႑ | ႒ | ႓ | ႔ | ႕ | ႖ | ႗ | ႘ | ႙ |
เขมร | ០ | ១ | ២ | ៣ | ៤ | ៥ | ៦ | ៧ | ៨ | ៩ |
ไทย | ๐ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | ๖ | ๗ | ๘ | ๙ |
ลาว | ໐ | ໑ | ໒ | ໓ | ໔ | ໕ | ໖ | ໗ | ໘ | ໙ |
จาม | ꩐ | ꩑ | ꩒ | ꩓ | ꩔ | ꩕ | ꩖ | ꩗ | ꩘ | ꩙ |
ธรรมล้านนา[b] | ᪐ | ᪑ | ᪒ | ᪓ | ᪔ | ᪕ | ᪖ | ᪗ | ᪘ | ᪙ |
ตัวเลขโหราศาสตร์ธรรมล้านนา[c] | ᪀ | ᪁ | ᪂ | ᪃ | ᪄ | ᪅ | ᪆ | ᪇ | ᪈ | ᪉ |
ไทลื้อ | ᧐ | ᧑ | ᧒ | ᧓ | ᧔ | ᧕ | ᧖ | ᧗ | ᧘ | ᧙ |
บาหลี | ᭐ | ᭑ | ᭒ | ᭓ | ᭔ | ᭕ | ᭖ | ᭗ | ᭘ | ᭙ |
ชวา | ꧐ | ꧑ | ꧒ | ꧓ | ꧔ | ꧕ | ꧖ | ꧗ | ꧘ | ꧙ |
ซุนดา | ᮰ | ᮱ | ᮲ | ᮳ | ᮴ | ᮵ | ᮶ | ᮷ | ᮸ | ᮹ |
ฮินดู-อารบิก | 0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 |
หมายเหตุ
รายการตระกูลอักษรพราหมี
แก้อดีต
แก้อักษรพราหมียุคแรก | |||||||
IAST | อโศก | Girnar | จันทรคุปต์ | คุชราต | อลาหาบาด | Narbada | Kistna |
---|---|---|---|---|---|---|---|
a | |||||||
ā | |||||||
i | |||||||
ī | |||||||
u | |||||||
ū | |||||||
ṛ | |||||||
e | |||||||
ai | |||||||
o | |||||||
au | |||||||
k | |||||||
kh | |||||||
g | |||||||
gh | |||||||
ṅ | |||||||
c | |||||||
ch | |||||||
j | |||||||
jh | |||||||
ñ | |||||||
ṭ | |||||||
ṭh | |||||||
ḍ | |||||||
ḍh | |||||||
ṇ | |||||||
t | |||||||
th | |||||||
d | |||||||
dh | |||||||
n | |||||||
p | |||||||
ph | |||||||
b | |||||||
bh | |||||||
m | |||||||
y | |||||||
r | |||||||
l | |||||||
v | |||||||
ś | |||||||
ṣ | |||||||
s | |||||||
h |
พราหมีเหนือ
แก้พราหมีใต้
แก้- ทมิฬ-พราหมี, ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช
- ปัลลวะ
- ทมิฬ
- ครันถะ
- ขอม
- จาม
- กวิ
- มอญ–พม่า
- มอญสมัยใหม่
- พม่า
- จักมา
- กะเหรี่ยงสะกอ
- ไทใหญ่
- Tanchangya
- Lik-Tai scripts
- ธรรมล้านนา
- ปยู
- วัตเตลุตตุ
- ปัลลวะ
- สิงหล
- Bhattiprolu
ยูนิโคด
แก้ข้อมูลจากยูนิโคดรุ่น 15.0 อักษรตระกูลพราหมีที่ลงรหัสในนี้ มีดังนี้:
อักษร | แยกจาก | ระยะเวลาแยก | การใช้งาน | ISO 15924 | ขอบเขตยูนิโคด | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|---|---|---|
อาหม | พม่า[6] | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | ภาษาอาหมที่สูญหายแล้ว | Ahom | U+11700–U+1174F | 𑜒𑜠𑜑𑜨𑜉 |
บาหลี | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 11 | ภาษาบาหลี | Bali | U+1B00–U+1B7F | ᬅᬓ᭄ᬲᬭᬩᬮᬶ |
บาตัก | ปัลลวะ | คริสต์ศตวรรษที่ 14 | กลุ่มภาษาบาตัก | Batk | U+1BC0–U+1BFF | ᯘᯮᯒᯖ᯲ ᯅᯖᯂ᯲ |
ไบบายิน | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 14 | ภาษาตากาล็อก และกลุ่มภาษาฟิลิปปินอื่น ๆ | Tglg | U+1700–U+171F | |
เบงกอล-อัสสัม | สิทธัม | คริสต์ศตวรรษที่ 11 | ภาษาอัสสัม (รูปแบบอักษรอัสสัม), ภาษาเบงกอล (รูปแบบอักษรเบงกอล), ภาษามณีปุระพิษณุปุระ, ภาษาไมถิลี, ภาษาอังคิกา | Beng | U+0980–U+09FF |
|
ไภกษุกี | คุปตะ | คริสต์ศตวรรษที่ 11 | เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตประมาณช่วงแรกของคริสต์สหัสวรรษที่ 1 | Bhks | U+11C00–U+11C6F | 𑰥𑰹𑰎𑰿𑰬𑰲𑰎𑰱 |
บูฮิด | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 14 | ภาษาบูฮิด | Buhd | U+1740–U+175F | ᝊᝓᝑᝒᝇ |
มอญ-พม่า | ปัลลวะ | คริสต์ศตวรรษที่ 11 | ภาษาพม่า, ภาษามอญ และภาษาอื่น ๆ ที่ใช้อักษรที่ดัดแปลงจากอักษรนี้ เช่น ภาษาจักมา, ภาษากะเหรี่ยงโปตะวันออกและตะวันตก, ภาษากะเหรี่ยงเฆบา, ภาษากะยา, ภาษาปะหล่อง, ภาษากะเหรี่ยงสะกอ, ภาษาไทใหญ่ | Mymr | U+1000–U+109F, U+A9E0–U+A9FF, U+AA60–U+AA7F | မြန်မာအက္ခရာ |
จักมา | พม่า | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ภาษาจักมา | Cakm | U+11100–U+1114F | 𑄌𑄋𑄴𑄟𑄳𑄦 |
จาม | ปัลลวะ | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ภาษาจาม | Cham | U+AA00–U+AA5F | ꨌꩌ |
เทวนาครี | นาครี | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | ภาษากลุ่มอินโด-อารยันบางส่วน (กงกัณ, มราฐี, ฮินดี, สันสกฤต, เนปาล, ภิล, สินธ์, คุชราต ฯลฯ), ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต (โบโด, เนวาร์, เศรปา ฯลฯ), ภาษามุนดารี (ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก) และอื่น ๆ | Deva | U+0900–U+097F, U+A8E0–U+A8FF, U+11B00–U+11B5F | देवनागरी |
ดิเวส อกุรุ | ครันถะ | เคยใช้เขียนภาษามัลดีฟส์จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20[7] | Diak | U+11900–U+1195F | 𑤞𑥂𑤧𑤭𑥂 | |
โฑครี | ฏากรี | เคยใช้เขียนภาษาโฑครี อักษรโฑครีมีความใกล้ชิดกับอักษรฏากรี[8] | Dogr | U+11800–U+1184F | 𑠖𑠵𑠌𑠤𑠬 | |
ครันถะ | ปัลลวะ | คริสต์ศตวรรษที่ 6 | จำกัดใช้ในสำนักพระเวทเพื่อเขียนภาษาสันสกฤต นิยมใช้ในหมู่ผู้พูดภาษาทมิฬเพื่อเขียนภาษาสันสกฤตและภาษาคลาสสิก Manipravalam | Gran | U+11300–U+1137F | 𑌗𑍍𑌰𑌨𑍍𑌥 |
คุชราต | นาครี | คริสต์ศตวรรษที่ 17 | ภาษาคุชราต, ภาษากัจฉิ | Gujr | U+0A80–U+0AFF | ગુજરાતી લિપિ |
คุญชลาโคณฑี | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | ใช้เขียนภาษาโคณฑี สำเนียง Adilabad[9] | Gong | U+11D60–U+11DAF | 𑵶𑶍𑶕𑶀𑵵𑶊 𑵶𑶓𑶕𑶂𑶋 | |
คุรมุขี | ศารทา | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | ภาษาปัญจาบ | Guru | U+0A00–U+0A7F | ਗੁਰਮੁਖੀ |
ฮานูโนโอ | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 14 | ภาษาฮานูโนโอ | Hano | U+1720–U+173F | ᜱᜨᜳᜨᜳᜢ |
ชวา | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | ภาษาชวา, ภาษาซุนดา, ภาษามาดูรา | Java | U+A980–U+A9DF | ꦄꦏ꧀ꦱꦫꦗꦮ |
ไกถี | นาครี | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | ในอดีตใช้สำหรับเขียนบันทึกทางกฎหมาย การบริหาร และส่วนตัว | Kthi | U+11080–U+110CF | 𑂍𑂶𑂟𑂲 |
กันนาดา | เตลูกู-กันนาดา | คริสต์ศตวรรษที่ 9 | ภาษากันนาดา, ภาษากงกัณ, ภาษาตูลู, ภาษาพทคะ, ภาษาโกทวะ, Beary และอื่น ๆ | Knda | U+0C80–U+0CFF | ಕನ್ನಡ ಅಕ್ಷರಮಾಲೆ |
กวิ | ปัลลวะ | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | โดยหลักพบในเกาะชวาและใช้งานทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16[10] | Kawi | U+11F00–U+11F5F | 𑼒𑼮𑼶 |
เขมร | ปัลลวะ | คริสต์ศตวรรษที่ 11 | ภาษาเขมร | Khmr | U+1780–U+17FF, U+19E0–U+19FF | អក្សរខ្មែរ |
โขชกี | ลัณฑา | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | ชุมชนอิสมาอีลียะฮ์บางส่วนใช้งาน ชุมชน Khoja เคยใช้เขียนวรรณกรรมศาสนาอิสลาม | Khoj | U+11200–U+1124F | 𑈉𑈲𑈐𑈈𑈮 |
ขุทาพาที | ลัณฑา | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | เคยใช้ในชุมชนชาวสินธ์เพื่อเขียนจดหมายโต้ตอบและธุรกิจ | Sind | U+112B0–U+112FF | 𑊻𑋩𑋣𑋏𑋠𑋔𑋠𑋏𑋢 |
ลาว | เขมร | คริสต์ศตวรรษที่ 14 | ภาษาลาว และอื่น ๆ | Laoo | U+0E80–U+0EFF | ອັກສອນລາວ |
เลปชา | ทิเบต | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ภาษาเลปชา | Lepc | U+1C00–U+1C4F | ᰛᰩᰴ |
ลิมบู | เลปชา | คริสต์ศตวรรษที่ 9 | ภาษาลิมบู | Limb | U+1900–U+194F | ᤛᤡᤖᤡᤈᤨᤅ |
ลนตารา | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 17 | ภาษาบูกิส และอื่น ๆ | Bugi | U+1A00–U+1A1F | ᨒᨚᨈᨑ |
มหาชนี | ลัณฑา | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | เคยใช้เขียนบันทึกรายงานและบันทึกทางการเงินในอินเดียเหนือ | Mahj | U+11150–U+1117F | 𑅬𑅱𑅛𑅧𑅑 |
มากาซาร์ | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 17 | เคยใช้เขียนภาษามากัซซาร์ในจังหวัดซูลาเวซีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย[11] อักษรมากาซาร์ยังมีอีกชื่อในงานวิชาการภาษาอังกฤษว่า "มากัซซาร์เก่า" หรือ "อักษรนกมากัซซาร์"[12] | Maka | U+11EE0–U+11EFF | 𑻪𑻢𑻪𑻢 |
มลยาฬัม | ครันถะ | คริสต์ศตวรรษที่ 12 | ภาษามลยาฬัม | Mlym | U+0D00–U+0D7F | മലയാളലിപി |
มาร์เชน | ทิเบต | คริสต์ศตวรรษที่ 7 | เคยใช้เขียนในภาษาซังซุงที่สูญหายแล้วของศาสนาเพินแห่งทิเบต | Marc | U+11C70–U+11CBF | 𑱳𑲁𑱽𑱾𑲌𑱵𑲋𑲱𑱴𑱶𑲱𑲅𑲊𑱱 |
มณีปุระ | ทิเบต | คริสต์ศตวรรษที่ 11–12 | ใช้เขียนภาษามณีปุระตาม "The Manipur Official Language (Amendment) Act, 2021"[13] | Mtei | U+AAE0–U+AAFF, U+ABC0–U+ABFF | ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ |
โมฑี | นาครี | คริสต์ศตวรรษที่ 17 | เคยใช้เขียนภาษามราฐี | Modi | U+11600–U+1165F | 𑘦𑘻𑘚𑘲 |
มุลตานี | ลัณฑา | เคยใช้เขียนภาษามุลตานี | Mult | U+11280–U+112AF | 𑊠𑊣𑊖𑊚 | |
นันทินาครี | นาครี | คริสต์ศตวรรษที่ 7 | เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตในอินเดียใต้ | Nand | U+119A0–U+119FF | 𑧁𑧞𑦿𑧒𑧁𑧑𑦰𑧈𑧓 |
ไทลื้อ | ธรรมล้านนา | คริสต์ทศวรรษ 1950 | ภาษาไทลื้อ | Talu | U+1980–U+19DF | ᦟᦲᧅᦎᦷᦺᦑ |
โอริยา | สิทธัม | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | ภาษาโอริยา | Orya | U+0B00–U+0B7F | ଓଡ଼ିଆ ଅକ୍ଷର |
พักปา | ทิเบต | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | เคยใช้เขียนในสมัยราชวงศ์หยวนของมองโกล | Phag | U+A840–U+A87F | ꡖꡍꡂꡛ ꡌ |
ปรัจลิต (เนวา) | เนปาล | ใช้เขียนภาษาสันสกฤต, ภาษาเนปาล, ภาษาฮินดี, ภาษาเบงกอล และภาษาไมถิลี | Newa | U+11400–U+1147F | 𑐥𑑂𑐬𑐔𑐮𑐶𑐟 | |
เรอจัง | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 18 | ภาษาเรอจัง ส่วนใหญ่เลิกใช้งานแล้ว | Rjng | U+A930–U+A95F | ꥆꤰ꥓ꤼꤽ ꤽꥍꤺꥏ |
เสาราษฏร์ | ครันถะ | คริสต์ศตวรรษที่ 20 | ภาษารเสาราษฏร์ ส่วนใหญ่เลิกใช้งานแล้ว | Saur | U+A880–U+A8DF | ꢱꣃꢬꢵꢰ꣄ꢜ꣄ꢬꢵ |
ศารทา | คุปตะ | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตและภาษากัศมีร์ | Shrd | U+11180–U+111DF | 𑆯𑆳𑆫𑆢𑆳 |
สิทธัม | คุปตะ | คริสต์ศตวรรษที่ 7 | เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤต | Sidd | U+11580–U+115FF | 𑖭𑖰𑖟𑖿𑖠𑖽 |
สิงหล | พราหมี[14] | คริสต์ศตวรรษที่ 4[15] | ภาษาสิงหล | Sinh | U+0D80–U+0DFF, U+111E0–U+111FF | ශුද්ධ සිංහල |
ซุนดา | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 14 | ภาษาซุนดา | Sund | U+1B80–U+1BBF, U+1CC0–U+1CCF | ᮃᮊ᮪ᮞᮛ ᮞᮥᮔ᮪ᮓ |
สิเลฏินาครี | นาครี | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | อดีตใช้เขียนภาษาสิเลฏ | Sylo | U+A800–U+A82F | ꠍꠤꠟꠐꠤ ꠘꠣꠉꠞꠤ |
ตักบันวา | กวิ | คริสต์ศตวรรษที่ 14 | หลายภาษาในปาลาวัน ปัจจุบันใกล้สูญหาย | Tagb | U+1760–U+177F | ᝦᝪᝨᝯ |
ไทใต้คง | มอญ | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | ภาษาไทใต้คง | Tale | U+1950–U+197F | ᥖᥭᥰᥖᥬᥳᥑᥨᥒᥰ |
ธรรมล้านนา | มอญ | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อ, ภาษาเขิน | Lana | U+1A20–U+1AAF | ᨲᩫ᩠ᩅᨾᩮᩬᩥᨦ |
ไทเวียด | ไทย | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | ภาษาไทดำ | Tavt | U+AA80–U+AADF | ꪼꪕꪒꪾ |
ฏากรี | ศารทา | คริสต์ศตวรรษที่ 16 | เคยใช้เขียนภาษา Chambeali และภาษาอื่น ๆ | Takr | U+11680–U+116CF | 𑚔𑚭𑚊𑚤𑚯 |
ทมิฬ | ปัลลวะ | คริสต์ศตวรรษที่ 2 | ภาษาทมิฬ | Taml | U+0B80–U+0BFF, U+11FC0–U+11FFF | தமிழ் அரிச்சுவடி |
เตลูกู | เตลูกู-กันนาดา | คริสต์ศตวรรษที่ 5 | ภาษาเตลูกู | Telu | U+0C00–U+0C7F | తెలుగు లిపి |
ไทย | ขอม | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | ภาษาไทย | Thai | U+0E00–U+0E7F | อักษรไทย |
ทิเบต | คุปตะ | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ภาษาทิเบตคลาสสิก, ภาษาซองคา, ภาษาลาดัก | Tibt | U+0F00–U+0FFF | བོད་ཡིག་ |
ติรหุตา | สิทธัม | คริสต์ศตวรรษที่ 13 | อดีตใช้เขียนภาษาไมถิลี | Tirh | U+11480–U+114DF | 𑒞𑒱𑒩𑒯𑒳𑒞𑒰 |
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Frellesvig, Bjarke (2010). A History of the Japanese Language. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 177–178. ISBN 978-0-521-65320-6.
- ↑ Coningham, R. A. E.; Allchin, F. R.; Batt, C. M.; Lucy, D. (April 1996). "Passage to India? Anuradhapura and the Early Use of the Brahmi Script". Cambridge Archaeological Journal. 6 (1): 73–97. doi:10.1017/S0959774300001608. S2CID 161465267.
- ↑ Court, C. (1996). Introduction. In P. T. Daniels & W. Bright (Eds.) The World's Writing Systems (pp. 443). Oxford: Oxford University Press.
- ↑ Court, C. (1996). The spread of Brahmi Script into Southeast Asia. In P. T. Daniels & W. Bright (Eds.) The World's Writing Systems (pp. 445-449). Oxford: Oxford University Press.
- ↑ 5.0 5.1 Sproat, Richard (2006-07-20). "Brahmi-derived scripts, script layout, and segmental awareness". Written Language and Literacy. 9 (1): 45–66. doi:10.1075/wll.9.1.05spr. ISSN 1387-6732.
- ↑ Terwiel; Khamdaengyodtai (2003). Shan Manuscripts, Part 1. p. 13.
- ↑ Pandey, Anshuman (2018-01-23). "L2/18-016R: Proposal to encode Dives Akuru in Unicode" (PDF).
- ↑ Pandey, Anshuman (2015-11-04). "L2/15-234R: Proposal to encode the Dogra script" (PDF).
- ↑ "Chapter 13: South and Central Asia-II" (PDF). The Unicode Standard, Version 11.0. Mountain View, California: Unicode, Inc. June 2018. ISBN 978-1-936213-19-1.
- ↑ Aditya Bayu Perdana and Ilham Nurwansah 2020. Proposal to encode Kawi
- ↑ "Chapter 17: Indonesia and Oceania" (PDF). The Unicode Standard, Version 11.0. Mountain View, California: Unicode, Inc. June 2018. ISBN 978-1-936213-19-1.
- ↑ Pandey, Anshuman (2015-11-02). "L2/15-233: Proposal to encode the Makasar script in Unicode" (PDF).
- ↑ "GAZETTE TITLE: The Manipur Official Language (Amendment) Act, 2021". manipurgovtpress.nic.in.
- ↑ Daniels (1996), p. 379.
- ↑ Diringer, David (1948). Alphabet a key to the history of mankind. p. 389.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Online Tool which supports Conversion between various Brahmic Scripts
- Windows Indic Script Support
- An Introduction to Indic Scripts
- South Asian Writing Systems
- Enhanced Indic Transliterator เก็บถาวร 2017-04-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Transliterate from romanised script to Indian Languages.
- Indian Transliterator A means to transliterate from romanised to Unicode Indian scripts.
- Imperial Brahmi Font and Text-Editor เก็บถาวร 2009-08-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Brahmi Script
- Xlit: Tool for Transliteration between English and Indian Languages เก็บถาวร 2019-04-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Padma: Transformer for Indic Scripts เก็บถาวร 1 ตุลาคม 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – a Firefox add-on