เจ้าหนี้
Appearance
Thai
[edit]Alternative forms
[edit]- (obsolete) เจ้านี่
Etymology
[edit]From เจ้า (jâao, “chief, lord, master; owner; etc”) + หนี้ (nîi, “debt; obligation”).
Pronunciation
[edit]Orthographic | เจ้าหนี้ e t͡ɕ ˆ ā h n ī ˆ | ||
Phonemic | จ้าว-นี่ t͡ɕ ˆ ā w – n ī ˋ | เจ้า-นี่ e t͡ɕ ˆ ā – n ī ˋ | |
Romanization | Paiboon | jâao-nîi | jâo-nîi |
Royal Institute | chao-ni | chao-ni | |
(standard) IPA(key) | /t͡ɕaːw˥˩.niː˥˩/(R) | /t͡ɕaw˥˩.niː˥˩/(R) |
Noun
[edit]เจ้าหนี้ • (jâao-nîi) (classifier คน or ราย)
- (law) creditor; obligee.
- 1935 June 20, “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง”, in ห้องสมุดกฎหมาย[1], Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, published 2019-03-21, archived from the original on 9 February 2021:
- บทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ไม่ตัดสิทธิของเจ้าหนี้ในอันที่จะใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้และที่จะเรียกลูกหนี้ให้เข้ามาในคดีดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
- bòt-ban-yàt nai bprà-muuan-gòt-mǎai níi mâi dtàt sìt-tí kɔ̌ɔng jâao-nîi nai-an-tîi-jà chái sìt-tí-rîiak-rɔ́ɔng kɔ̌ɔng lûuk-nîi lɛ́ tîi jà rîiak lûuk-nîi hâi kâo maa nai ká-dii dang tîi ban-yàt wái nai bprà-muuan-gòt-mǎai pɛ̂ng lɛ́ paa-nít
- The provisions of this Code does not deprive the obligee of the right to exercise the claim of the obligor and to call the obligor into the case as prescribed in the Civil and Commercial Code.
- บทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ไม่ตัดสิทธิของเจ้าหนี้ในอันที่จะใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้และที่จะเรียกลูกหนี้ให้เข้ามาในคดีดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
- 1925 November 11, “ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์”, in ห้องสมุดกฎหมาย[2], Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, published 2017-04-06, archived from the original on 5 July 2020:
- มาตรา ๑๙๔ ด้วยอำนาจแห่งมูลหนี้ เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิจะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ อนึ่ง การชำระหนี้ด้วยงดเว้นการอันใดอันหนึ่งก็ย่อมมีได้
- mâat-dtraa · nʉ̀ng-rɔ́ɔi gâao-sìp sìi · dûai am-nâat hɛ̀ng muun nîi · jâao-nîi yɔ̂m mii sìt-tí jà rîiak hâi lûuk-nîi cham-rá nîi dâai · à-nʉ̀ng · gaan-cham-rá nîi dûai ngót-wéen gaan an-dai-an-nʉ̀ng gɔ̂ yɔ̂m mii dâai
- Section 194 By virtue of the cause of an obligation, the obligee does have the right to demand the obligor to perform the obligation. Furthermore, there can also be the performance of an obligation by [means of] the forbearance of any particular act.
- มาตรา ๑๙๔ ด้วยอำนาจแห่งมูลหนี้ เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิจะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ อนึ่ง การชำระหนี้ด้วยงดเว้นการอันใดอันหนึ่งก็ย่อมมีได้
- 1356, “พระไอยการลักษณกู้หนี้”, in กฎหมายตรา ๓ ดวง ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง แก้ไขปรับปรุงใหม่ เล่ม ๒, Bangkok: สุขภาพใจ, published 2005, →ISBN, page 156:
- มาตราหนึ่ง ผัวเมียกู้หนี้ท่านด้วยกัน แลผัวไปค้ามิได้มา เจ้าหนี้รุกร้นจะเอาต้นเงินดอกเบี้ย ท่านให้เมียซึ่งอยู่นั้นใช้แต่ต้นเงินท่าน ดอกเบี้ยยกเสีย ถ้าผัวมันมิตายกลับมา จึ่งเอาดอกเบี้ยแก่มัน
- mâat-dtraa nʉ̀ng · pǔua miia gùu-nîi tâan dûai-gan · lɛɛ pǔua bpai káa mí dâai maa · jâao-nîi rúk-rón jà ao dtôn-ngəən dɔ̀ɔk-bîia · tâan hâi miia sʉ̂ng yùu nán chái dtɛ̀ɛ dtôn-ngəən tâan · dɔ̀ɔk-bîia yók sǐia · tâa pǔua man mí dtaai glàp maa · jʉ̀ng ao dɔ̀ɔk-bîia gɛ̀ɛ man
- Another section [is as follows: When] a husband [and] wife jointly borrow another's money, and the husband goes [to a foreign state for] trade [and] does not come [back yet, and] the creditor urgently [comes] to demand the principal [and] interest, LORD prescribes [that] the wife that stays [behind shall] merely pay him the principal [whilst] the interest [shall be] excluded, [and] if her husband returns alive, then the interest [shall be] demanded from him.
- มาตราหนึ่ง ผัวเมียกู้หนี้ท่านด้วยกัน แลผัวไปค้ามิได้มา เจ้าหนี้รุกร้นจะเอาต้นเงินดอกเบี้ย ท่านให้เมียซึ่งอยู่นั้นใช้แต่ต้นเงินท่าน ดอกเบี้ยยกเสีย ถ้าผัวมันมิตายกลับมา จึ่งเอาดอกเบี้ยแก่มัน
Antonyms
[edit]- ลูกหนี้ (lûuk-nîi)