ข้ามไปเนื้อหา

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก APEC)
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

เอเปค
สัญลักษณ์ของเอเปค
สัญลักษณ์
ที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจ
ที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจ
ที่ทำการธงของประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์
ประเภทความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
รัฐสมาชิก21 เขตเศรษฐกิจ
ผู้นำ
• ประธาน
สหรัฐ โจ ไบเดน (2566)
• ผู้อำนวยการบริหาร
Rebecca Fatima Santa Maria
สถาปนาพ.ศ. 2532
เว็บไซต์
www.apec.org

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (อังกฤษ: Asia-Pacific Economic Cooperation) หรือ เอเปค (APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะสหภาพยุโรป อีกด้วย

สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้วย

ภาค

[แก้]
  ชาติสมาชิกในปัจจุบัน
  ชาติที่แสดงเจตจำนงเข้าเป็นสมาชิก

สมาชิกในปัจจุบัน

[แก้]

ปัจจุบัน เอเปคมีสมาชิกทั้งสิ้น 21 เขตเศรษฐกิจ (20 ประเทศ 1 เขตเศรษฐกิจ) ประกอบด้วยประเทศมหาอำนาจทางการเมืองและเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ สหรัฐ รัสเซีย จีน และญี่ปุ่น รวมทั้งสมาชิกอาเซียน และประเทศในอเมริกาเหนือและใต้ ซึ่งประกอบด้วย :

แสดงเจตจำนงเข้าเป็นสมาชิก

[แก้]

การประชุมประจำปี

[แก้]
การประชุมสุดยอดผู้นำเอเปค 2003 APEC summit กรุงเทพฯ
ครั้งที่ ปี เจ้าภาพ เมือง ประธาน
1 6-7 พฤศจิกายน 1989 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย แคนเบอร์รา นายกรัฐมนตรีบ็อบ ฮอว์ก
2 29-31 กรกฎาคม 1990  สิงคโปร์ สิงคโปร์ นายกรัฐมนตรีลี กวนยู
3 12-14 พฤศจิกายน 1991  เกาหลีใต้ โซล ประธานาธิบดีโน แท-อู
4 10-11 กันยายน 1992  ไทย กรุงเทพมหานคร นายกรัฐมนตรีอานันท์ ปันยารชุน
5 19-20 พฤศจิกายน 1993  สหรัฐ ซีแอตเทิล ประธานาธิบดีบิล คลินตัน
6 15 พฤศจิกายน 1994 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย โบโกร์ ประธานาธิบดีซูฮาร์โต
7 19 พฤศจิกายน 1995  ญี่ปุ่น โอซากะ นายกรัฐมนตรีโทมิอิ มูรายามะ
8 25 พฤศจิกายน 1996  ฟิลิปปินส์ ซูบิก ประธานาธิบดีฟิเดล รามอส
9 24-25 พฤศจิกายน 1997 ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา แวนคูเวอร์ นายกรัฐมนตรีฌ็อง เครเตียง
10 17-18 พฤศจิกายน 1998 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ นายรัฐมนตรีมาฮาดีร์ บิน โมฮามัด
11 12-13 กันยายน 1999 ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ นายกรัฐมนตรีเจนนี ชิปลีย์
12 15-16 พฤศจิกายน 2000 ธงของประเทศบรูไนดารุสซาลาม บรูไน บันดาร์เซอรีเบอกาวัน สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์
13 20-21 ตุลาคม 2001 ธงของประเทศจีน จีน เซี่ยงไฮ้ ประธานาธิบดีเจียง เจ๋อหมิน
14 26-27 ตุลาคม 2002 ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก โลสกาโบส ประธานาธิบดีวิเซนเต ฟ็อกซ์
15 20-21 ตุลาคม 2003  ไทย กรุงเทพมหานคร นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร
16 20-21 พฤศจิกายน 2004 ธงของประเทศชิลี ชิลี ซันติอาโก ประธานาธิบดีริการ์โด ลากอส
17 18-19 พฤศจิกายน 2005  เกาหลีใต้ ปูซาน ประธานาธิบดีโน มู-ฮย็อน
18 18-19 พฤศจิกายน 2006 ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม ฮานอย ประธานาธิบดีเหงียน มิญ เจี๊ยต
19 8-9 กันยายน 2007 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ซิดนีย์ นายกรัฐมนตรีจอห์น โฮเวิร์ด
20 22-23 พฤศจิกายน 2008 ธงของประเทศเปรู เปรู ลิมา ประธานาธิบดีอาลัน การ์ซิอา
21 14-15 พฤศจิกายน 2009  สิงคโปร์ สิงคโปร์ นายกรัฐมนตรีลี เซียนลุง
22 13-14 พฤศจิกายน 2010 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น โยโกฮามะ นายกรัฐมนตรีนาโอโตะ คัง
23 11-12 พฤศจิกายน 2011  สหรัฐ โฮโนลูลู ประธานาธิบดีบารัก โอบามา
24 7-8 กันยายน 2012 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย วลาดีวอสตอค ประธานาธิบดีวลาดีมีร์ ปูติน
25 5-7 ตุลาคม 2013 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย บาหลี ประธานาธิบดีซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน
26 10-11 พฤศจิกายน 2014 ธงของประเทศจีน จีน ปักกิ่ง ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง
27 18-19 พฤศจิกายน 2015 ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ มะนิลา ประธานาธิบดีเบนิกโน อากีโนที่ 3
28 19-20 พฤศจิกายน 2016 ธงของประเทศเปรู เปรู ลิมา ประธานาธิบดีเปโดร ปาโบล คูซินสกี
29 10-11 พฤศจิกายน 2017 ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม ดานัง ประธานาธิบดีเจิ่น ดั่ย กวาง
30 17-18 พฤศจิกายน 2018 ธงของประเทศปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี พอร์ตมอร์สบี นายกรัฐมนตรีปีเตอร์ โอนีล
31 16-17 พฤศจิกายน 2019 (ยกเลิก) ธงของประเทศชิลี ชิลี ซันติอาโก ประธานาธิบดีเซบัสเตียน ปิญเญรา
31 20 พฤศจิกายน 2020 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ (การประชุมทางไกล) นายกรัฐมนตรีมุฮ์ยิดดิน ยัซซิน
32 11-12 พฤศจิกายน 2021 ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ (การประชุมทางไกล) นายกรัฐมนตรีจาซินดา อาร์เดิร์น
33 18-19 พฤศจิกายน 2022  ไทย กรุงเทพมหานคร นายกรัฐมนตรีประยุทธ์ จันทร์โอชา
34 15-17 พฤศจิกายน 2023  สหรัฐ ซานฟรานซิสโก[1] ประธานาธิบดีโจ ไบเดิน
35 10-16 พฤศจิกายน 2024 ธงของประเทศเปรู เปรู กุสโก ประธานาธิบดีดินา โบลัวร์เต
36 2025 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ คย็องจู ประธานาธิบดียุน ซ็อก-ย็อลคาดการณ์

รูปภาพกลุ่มผู้นำในการประชุม

[แก้]

ผู้นำประเทศในการประชุมปัจจุบัน

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. House, The White (2022-11-19). "Statement by Vice President Kamala Harris on Selection of San Francisco as Host City for 2023 APEC Leaders Meeting". The White House (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]