ข้ามไปเนื้อหา

โกลเดนดิสก์อะวอดส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โกลเดนดิสก์อะวอดส์
ปัจจุบัน: โกลเดนดิสก์อะวอดส์ ครั้งที่ 39
รางวัลสำหรับ"ความสำเร็จที่โดดเด่นของอุสาหกรรมเคป็อป"
ประเทศเกาหลีใต้
จัดโดย
เดิมเรียกว่า
Korea Visual and Records Grand Prize Award (1986–2000)
  • Golden Disk Awards (2001–14)
รางวัลแรก1986
เว็บไซต์Golden Disc Awards
โทรทัศน์/วิทยุ
เครือข่ายเจทีบีซี, เจทีบีซี 2, เจทีบีซี 4 (เกาหลีใต้)
วีไลฟ์ (ทั่วโลก)

โกลเดนดิสก์อะวอดส์ (เกาหลี골든 디스크 시상식, อังกฤษ: Golden Disc Awards และก่อนปี ค.ศ. 2015 สะกดด้วย Golden Disk Awards) เป็นงานประกาศรางวัลทางด้านดนตรีประจำปีของเกาหลีใต้เพื่อเป็นเกียรติแก่ความสำเร็จในอุสาหกรรมเพลงในท้องถิ่น[2] พิธีมอบรางวัลก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในวัฒนธรรมสมัยนิยม ค้นพบศิลปินหน้าใหม่ และมีส่วนสนับสนุนการเติบโตของวงการเพลง พิธีครั้งแรกจัดขึ้นในปี 1986[3]

โกลเดนดิสก์อะวอดส์ ครั้งที่ 35 จัดขึ้นในวันที่ 9–10 มกราคม ค.ศ. 2021 โดยไม่มีผู้ชมถ่ายทอดสดเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19[4]

พิธี

[แก้]
ครั้งที่ ปี วันที่ สถานที่ เมือง อ้างอิง
8 1993 12 ธันวาคม 1993 Grand Walkerhill Hotel โซล [5]
9 1994 11 ธันวาคม 1994 National Theater of Korea [6]
10 1995 10 ธันวาคม 1995 [7]
11 1996 8 ธันวาคม 1996 [8]
12 1997 14 ธันวาคม 1997 [9]
13 1998 5 ธันวาคม 1998 [10]
14 1999 16 ธันวาคม 1999 Sejong Center [11]
15 2000 1 ธันวาคม 2000 [12]
16 2001 14 ธันวาคม 2001 [13]
17 2002 13 ธันวาคม 2002 [14]
18 2003 5 ธันวาคม 2003 Kyung Hee University Grand Peace Palace [15]
19 2004 2 ธันวาคม 2004 Sejong Center [16]
20 2005 7 ธันวาคม 2005 [17]
21 2006 14 ธันวาคม 2006 อุทยานโอลิมปิก [18]
22 2007 14 ธันวาคม 2007 [19]
23 2008 10 ธันวาคม 2008 [20]
24 2009 10 ธันวาคม 2009 [21]
25 2010 9 ธันวาคม 2010 Korea University Hwajung Gymnasium [22]
26 2011 11–12 มกราคม 2012 โอซากะโดม โอซากะ [23]
27 2012 15–16 มกราคม 2013 เซปังอินเตอร์เนชั่นแนลเซอร์กิต กัวลาลัมเปอร์ [24]
28 2013 16 มกราคม 2014 Kyung Hee University Grand Peace Palace โซล [25]
29 2014 14–15 มกราคม 2015 MasterCard Center ปักกิ่ง [26]
30 2015 20–21 มกราคม 2016 Kyung Hee University Grand Peace Palace โซล [27]
31 2016 13–14 มกราคม 2017 KINTEX โกยาง [28]
32 2017 10–11 มกราคม 2018 [29]
33 2018 5–6 มกราคม 2019 โกชอกสกายโดม โซล [30]
34 2019 4–5 มกราคม 2020 [31]
35 2020 9–10 มกราคม 2021 KINTEX โกยาง [4]
36 2021 8 มกราคม 2022 โกชอกสกายโดม โซล [32]
37 2022 7 มกราคม 2023 ราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ [33]
38 2023 6 มกราคม 2024 สนามกีฬานานาชาติจาการ์ตา จาการ์ตา [34]
39 2024 4–5 มกราคม 2025 มิซูโฮะเพย์เพย์โดม ฟูกูโอกะ [35]

ประเภทรางวัล

[แก้]

งานประกาศรางวัลโกลเดนดิสก์อะวอดส์ ครั้งที่ 34 มีสองรางวัลใหญ่ได้แก่ อัลบั้มแห่งปี (หรือที่รู้จักในชื่อ Album Daesang) และ เพลงดิจิทัลแห่งปี (หรือที่รู้จักในชื่อ Digital Song Daesang) รางวัลหลัก (หรือที่เรียกว่า Bonsang) เป็นรางวัลสำหรับศิลปินหลายคนในหมวดอัลบั้มและเพลงดิจิทัล ผู้ชนะรางวัลใหญ่จะถูกเลือกจากผู้ชนะรางวัลหลัก[36][2][37]

  • อัลบั้มแห่งปี (รางวัลใหญ่)
  • เพลงแห่งปี (รางวัลใหญ่)
  • อัลบั้มบอนซัง (รางวัลหลัก)
  • เพลงดิจิทัลบอนซัง (รางวัลหลัก)
  • รางวัลศิลปินหน้าใหม่
  • รางวัลความนิยม
  • รางวัลประเภท
  • รางวัลพิเศษ
  • รางวัลการยอมรับระดับนานาชาติ
  • รางวัลพิเศษ Golden Disc Awards
  • รางวัลอื่น ๆ

รางวัลใหญ่

[แก้]

รายชื่อผู้ชนะทั้งหมดดัดแปลงมาจากเว็บไซต์ Golden Disc Awards[38]

เพลงแห่งปี (ดิจิทัลแดซัง)

[แก้]
ปี ผู้ชนะ เพลง
2023 นิวจีนส์ "Ditto"
2022 ไอฟ์ "Love Dive"
2021 ไอยู "Celebrity"
2020 "Blueming"
2019 บีทีเอส "Boy with Luv"
2018 ไอคอน "Love Scenario"
2017 ไอยู "Through the Night"
2016 ทไวซ์ "Cheer Up"
2015 บิกแบง "Loser"
2014 แทยัง "Eyes, Nose, Lips"
2013 ไซ "Gentleman"
2012 "Gangnam Style"
2011 เกิลส์เจเนอเรชัน "The Boys"
2010 ทูเอเอ็ม "Can't Let You Go Even If I Die"
2009 เกิลส์เจเนอเรชัน "Gee"
2008 Jewelry "One More Time"
2007 ไอวี่ "If You're Gonna Be Like This"
2006 เอสจีวอนนาบี "Partner for Life"

อัลบั้มแห่งปี (อัลบั้มแดซัง)

[แก้]
ปี ผู้ชนะ อัลบั้ม
2023 เซเวนทีน FML
2022 บีทีเอส Proof
2021 Be
2020 Map of the Soul: 7
2019 Map of the Soul: Persona
2018 Love Yourself: Answer
2017 Love Yourself: Her
2016 เอ็กโซ Ex'Act
2015 Exodus
2014 Overdose
2013 XOXO
2012 ซูเปอร์จูเนียร์ Sexy, Free & Single
2011 Mr. Simple
2010 เกิลส์เจเนอเรชัน Oh!
2009 ซูเปอร์จูเนียร์ Sorry, Sorry
2008 ทงบังชินกี Mirotic
2007 เอสจีวอนนาบี The Sentimental Chord
2006 ทงบังชินกี "O"-Jung.Ban.Hap.
2005 เอสจีวอนนาบี Saldaga
2004 อี ซู-ย็อง The Colors of My Life
2003 โจ ซอง-โม A Singer
2002 คูล Truth
2001 จีโอดี Chapter 4: Road
2000 โจ ซอง-โม Let me love
1999 For Your Soul
1998 คิม จอง-ฮวาน For Love
1997 เอชโอที Wolf and Sheep
1996 คิม กอน-โม Exchange Kg. M4
1995 Wrongful Meeting
1994 Excuses
1993 ชิน ซึง-ฮุน Because I Love You
1992 Invisible Love
1991 Kim Hyun-sik Kim Hyun Sik Vol.6
1990 พย็อน จิน-ซ็อบ Byeon Jin-Seob 2
1989 Byeon Jin-Seob
1988 จู ฮยอน-มี่ Joo Hyun-Mi 2
1987 Lee Moon-sae When Love Goes Away
1986 โช ยง-พิล Empty Space

รางวัลหลัก

[แก้]

ผู้ชนะทั้งหมดดัดแปลงมาจากเว็บไซต์ Golden Disc Awards[38]

อัลบั้มบอนซัง

[แก้]
ปี ผู้ชนะ
2023 เอสปา เอ็นซีทีดรีม ไอฟ์ เอนไฮเพน สเตรย์คิดส์ ทีบายที เซเวนทีน จ็องกุก เลเซราฟิม ซีโรเบสวัน
2022 เอ็นซีที 127 เอ็นซีทีดรีม เอ็นซีที เอนไฮเพน สเตรย์คิดส์ แบล็กพิงก์ เซเวนทีน บีทีเอส
2021 เอ็นซีที 127 เอ็นซีทีดรีม ไอยู เอนไฮเพน สเตรย์คิดส์ ทีบายที เซเวนทีน บีทีเอส
2020 เอ็นซีที 127 เอ็กโซ เอ็นซีที แบ็กฮย็อน ทไวซ์ ทีบายที เซเวนทีน บีทีเอส ก็อตเซเวน แบล็กพิงก์
2019 ซูเปอร์จูเนียร์ เอ็นซีทีดรีม เอ็กโซ-เอสซี แบ็กฮย็อน ทไวซ์ มอนสตาเอ็กซ์ เซเวนทีน บีทีเอส ก็อตเซเวน นิวอิสต์
2018 เอ็นซีที 127 เอ็กโซ วอนนาวัน จงฮย็อน ทไวซ์ มอนสตาเอ็กซ์ เซเวนทีน บีทีเอส ก็อตเซเวน นิวอีสต์ ดับเบิลยู
2017 ซูเปอร์จูเนียร์ เอ็กโซ ฮวัง ชี-ย็อล เกิลส์เจเนอเรชัน ทไวซ์ มอนสตาเอ็กซ์ เซเวนทีน บีทีเอส ก็อตเซเวน นิวอีสต์ ดับเบิลยู แทย็อน
2016 แทมิน เอ็กโซ ชายนี วิกซ์ อินฟินิต มอนสตาเอ็กซ์ เซเวนทีน บีทีเอส ก็อตเซเวน
2015 ซูเปอร์จูเนียร์ เอ็กโซ ชายนี วิกซ์ จงฮย็อน ซีเอ็นบลู ไฮไลต์ บีทีเอส เอฟ(เอกซ์) เอพิงก์
2014 ซูเปอร์จูเนียร์ เอ็กโซ วิกซ์ เกิลส์เจเนอเรชัน อินฟินิต ซีเอ็นบลู แทมิน บีทีเอส บีวันเอโฟร์ เอพิงก์ เกิลส์เจเนอเรชัน-แททีซอ
2013 โช ยง-พิล เอ็กโซ ชายนี เกิลส์เจเนอเรชัน อินฟินิต เอฟ(เอกซ์) ไฮไลต์ บีวันเอโฟร์
2012 ซูเปอร์จูเนียร์ คารา ชายนี เอฟ.ที. ไอส์แลนด์ อินฟินิต ซีเอ็นบลู ไฮไลต์ บีวันเอโฟร์ โฟร์มินิต
2011 ซูเปอร์จูเนียร์ คารา เอ็มแบล็ก เจย์ พาร์ก อินฟินิต ซีเอ็นบลู ไฮไลต์ เอฟ(เอกซ์)
2010 ซูเปอร์จูเนียร์ โบอา ชายนี เกิลส์เจเนอเรชัน DJ DOC
2009 ซูเปอร์จูเนียร์ เอสจีวอนนาบี ทูพีเอ็ม ดรังเคน ไทเกอร์ อี ซึง-ชอล
2008 ชินฮวา เอสจีวอนนาบี ทงบังชินกี คิม ดง-รย็อล บราวน์อายส์ เรน
2007 ซูเปอร์จูเนียร์ เอสจีวอนนาบี ยังพา เอพิคไฮ ฮวีซอง ชิน ฮเย-ซ็อง บิกแบง
2006 ชินฮวา เอสจีวอนนาบี ทงบังชินกี เอ็มซีเดอะแม็กซ์ ชิน ซึง-ฮุน ไวบ์ ฟลายทูเดอะสกาย ซน โฮ-ย็อง บัซ คิม จง-กุก
ผู้ชนะ 1986–2005
ปี ผู้ชนะ
2005 MC Mong Koyote โจ ซอง-โม ฮวีซอง เอสจีวอนนาบี ชิน ฮเย-ซ็อง จีโอดี อี มิน-อู Buzz คิม จง-กุก
2004 อี ซู-ย็อง Koyote ชิน ซึง-ฮุน ฮวีซอง เอ็มซีเดอะแม็กซ์ กัมมี ลี ซึง-ชอล Seven เรน วงชินฮวา
2003 อี ซู-ย็อง Koyote โจ ซอง-โม ฮวีซอง คูล ฟลายทูเดอะสกาย NRG Wax อี ฮโยรี วงชินฮวา
2002 อี ซู-ย็อง Koyote ชิน ซึง-ฮุน ปาร์ค ฮโย-ชิน คูล ซ็อง ชี-คยอง จัง นารา Wax คังตะ วงชินฮวา
2001 อิม ชาง-จอง Koyote พัก จิน-ย็อง คิมกอนโม คูล Position อี กี-ชาน Wax คังตะ วงชินฮวา
2000 คิม ฮยอน จุง พัค จี-ยุน ชิน ซึง-ฮุน จีโอดี ฟิงเคิล ฮง คยอง-มิน แท จิน-อา อีจองฮยอน ออม จอง-ฮวา โจ ซ็อง-โม ยูซึงจุน, Turbo
1999 คิม ฮยอน จุง เชคส์กีส์ เอชโอที เอส.อี.เอส ฟิงเคิล Seol Woon-do ยูจู Song Dae-kwan ออม จอง-ฮวา โจ ซอง-โม Yoo Seung-jun
1998 คิม ฮยอน จุง เชคส์กีส์ เอชโอที คิม กอน-โม ชิน ซึง-ฮุน Seol Woon-do แท จิน-อา คิม คยอง-โฮ ออม จอง-ฮวา Turbo คิม จอง-ฮวาน
1997 อิมชางจอง เชคส์กีส์ เอชโอที Carnival Clon Seol Woon-do UP คิม คยอง-โฮ ลีจีฮุน Turbo ยู ซึง-จุน
1996 Noise ชิน ซึง-ฮุน Jo Kwan-woo คิม กอน-โม Clon Seol Woon-do ชเว แบค-โฮ พัก มี่-คยอง Panic Turbo
1995 Noise คิม จอง-ซอก R.ef คิม กอน-โม Clon Seol Woon-do แท จิน-อา พัก มี่-คยอง Shin Hyo-beom Solid
1994 คิม วอน-จุน ชิน ซึง-ฮุน Boohwal คิม กอน-โม ซอแทจีแอนด์บอยส์ Seol Woon-do Kim Hyeon-chul Lim Ju-ri Shin Hyo-beom ชเว ยู-นา
1993 คิม วอน จุน ชิน ซึง-ฮุน 015B คิม กอน-โม ซอแทจีแอนด์บอยส์ Seol Woon-do คิม ซู-ฮี Kim Jeong-soo Shin Hyo-beom Lee Moon-sae ลี ซึง-ฮวาน
1992 คิม วัน-ซุน ชิน ซึง-ฮุน 015B Bom Yeoreum Gaeul Kyeoul ซอแทจีแอนด์บอยส์ Seol Woon-do โนห์ สา-ยอน หยาง ซู-คยอง ยูนซังฮยอน ลี ซึง ฮวาน, โอ แท-โฮ The Blue Sky
1991 คิม วัน-ซุน ชิน ซึง-ฮุน Kim Hyun-sik มิน แฮ-คยอง คิม เจีย ลีซังวู โนห์ สา-ยอน หยาง ซู-คยอง คิม จอง-ซอก ลี ซึง-ฮวาน โชฮยอนชอล
1990 คิม วัน-ซุน จู ฮยอน-มี Kang In-won, Kwon In-ha, Kim Hyun-sik มิน แฮ-คยอง นา-มิ พย็อน จิน-ซ็อบ แท จิน-อา ชิน เฮชอล อีซอนฮี Kim Min-woo โชฮยอนชอล
1989 มุน ฮี-โอเค จู ฮยอน-มี Cho Deok-bae มิน แฮ-คยอง Joo Ha-moon Byun Ji-sub Tae Jin-ah Yang Soo-kyung อี ซอน-ฮี Lee Seung-chul โชฮยอนชอล
1988 Kim Jong-chan จู ฮยอน-มี Kim Hyun-sik มิน แฮ-คยอง Lee Nam-yi จุง ซู-รา Jeon Young-rok Lee Chi-hyun and His Friends อี ซอน-ฮี Lee Moon-sae Choi Sang-soo
1987 คิม วัน-ซุน จู ฮยอน-มี คู ชาง-โม มิน แฮ-คยอง นา-มิ Friends Kim Byeong-rok ชเว จิน-ฮี อี ซอน-ฮี Lee Moon-sae Choi Sang-soo
1986 Deulgukhwa จู ฮยอน-มี คู ชาง-โม มิน แฮ-คยอง ลี กวัง-โจ โช ยง-พิล คิม ซู-ฮี ชเว จิน-ฮี อีซอนฮี Lee Moon-sae

ดิจิทัลบอนซัง

[แก้]
ปี ผู้ชนะ
2023 จีซู เลเซราฟิม ไอฟ์ บีเอสเอส ไอเดิล จ็องกุก นิวจีนส์ สเตย์ซี เซเวนทีน พัก แช-จ็อง
2022 ไซ อิม ย็อง-อุง ไอฟ์ คิม มิน-ซ็อก ไอเดิล เจย์ พาร์ก นิวจีนส์ บิกแบง
2021 เอสปา ไอยู โอมายเกิร์ล อักมิว อี มู-จิน บีทีเอส Heize สเตย์ซี
2020 แบล็กพิงก์ ไอยู โอมายเกิร์ล มามามู ฮวาซา บีทีเอส จีโค อิดจี Noel เรดเวลเวต
2019 เจนนี ช็องฮา Paul Kim อักมิว ทไวซ์ บีทีเอส เอ็มซีเดอะแม็กซ์ อิดจี แทย็อน Jannabi
2018 แบล็กพิงก์ ช็องฮา บลปัลกันโฟร์ มามามู ทไวซ์ บีทีเอส รอยคิม โมโมแลนด์ ไอคอน บิกแบง
2017 แบล็กพิงก์ ไอยู บลปัลกันโฟร์ อักมิว ทไวซ์ บีทีเอส Heize บิกแบง วินเนอร์ เรดเวลเวต ยูน จง-ชิน
2016 จีเฟรนด์ อี ฮา-อี เออเบิร์นซาคาปา มามามู ทไวซ์ ซูจี & แบ็ก-ฮย็อน จีโค แทย็อน อิม ชาง-จอง
2015 เกิลส์เจเนอเรชัน อีเอกซ์ไอดี เอโอเอ ไซออน.ที พัก จิน-ย็อง ซิสตาร์ กยูฮย็อน แทย็อน เรดเวลเวต บิกแบง
2014 บีสต์ แทยัง เอโอเอ เค.วิลล์ เกิร์ลเดย์ ไซออน.ที ไอลี ฮย็อนอา เอพิคไฮ โซยู & จองกิโก
2013 ไซ โฟร์มินิต ซีเอ็นบลู ลี ซึง-ชอล ดาวีชี ซิสตาร์ ไอลี ทูเอนีวัน เอพิงก์
2012 ไซ ที-อารา จี-ดรากอน เค.วิลล์ มิสเอ ซิสตาร์ ซีเครต ทูเอนีวัน ฮอกัก บิกแบง เอฟ(เอกซ์)
2011 เกิลส์เจเนอเรชัน โฟร์มินิต ซีเอ็นบลู เค.วิลล์ มิสเอ ซิสตาร์ ซีเครต จี.นา
2010 ทูเอเอ็ม ไอยู ซีเอ็นบลู อี ซึง-กี มิสเอ
2009 เกิลส์เจเนอเรชัน ซน ดัม-บิ เพ็ก จี-ยอง อี ซึง-กี ดาวีชี
2008 วันเดอร์เกิลส์ เอ็มซี มง บราวน์อายด์เกิลส์ Jewelry
2007 วันเดอร์เกิลส์ ซียา ไอวี่

รางวัลศิลปินหน้าใหม่แห่งปี

[แก้]

รายชื่อผู้ชนะเรียงตามตัวอักษรตามปี

ปี ผู้ชนะ[38]
2023 ฟิฟตีฟิฟตี
ซีโรเบสวัน
2022 ไอฟ์
เลเซราฟิม
นิวจีนส์
2021 สเตย์ซี
เอสปา
2020 เอนไฮเพน
Kim Ho-joong
เทรเชอร์
2019 อิดจี
ทีบายที
2018 ไอเดิล
สเตรย์คิดส์
ไอซ์วัน
2017 วอนนาวัน
2016 แบล็กพิงก์
บลปัลกันโฟร์
ไอโอไอ
เอ็นซีที 127
2015 จีเฟรนด์
ไอคอน
เซเวนทีน
ทไวซ์
2014 ก็อตเซเวน
เรดเวลเวต
วินเนอร์
2013 บีทีเอส
เครยอนป็อป
ลิม คิม
รอย คิม
2012 เอ็กโซ
บี.เอ.พี
ไอลี
จูเนียล
อี ฮา-อี
2011 เอพิงก์
บีวันเอโฟร์
ทัลชาเบ็ด
บอยเฟรนด์
ฮอกัก
2010 ซิสตาร์
ซีเครต
บีสต์
2009 โฟร์มินิต
ที-อารา
2008 ชายนี
ดาวีชี
2007 เอฟที ไอส์แลนด์
เกิลส์เจเนอเรชัน
ยุนฮา
2006 กาวี เอ็นเจ
ซูเปอร์จูเนียร์
ซียา
ผู้ชนะ 1986–2005
ปี ผู้ชนะ
2005 Eru ไอวี่ ลิม จอง-ฮี
2004 เอสจีวอนนาบี Tei
2003 บิ๊กมาม่า เซเวน
2002 เรน ฮวีซอง
2001 จัง นารา ซองชีคยอง
2000 Chakra ปาร์ค ฮโย-ชิน ชเวจินยอง
1999 1TYM อีจองฮยอน
1998 ฟิงเคิล เอส.อี.เอส Taesaja
1997 จีนูซีน Yangpa
1996 เอชโอที Idol
1995 Sung Jin-woo
1994 ทูทู
1991 ชิม ชิน ยุน ซัง
1990 Kim Min-woo Park Sung-shin
1989 Jo Gap-Gyeong Park Hak-gi
1988 พย็อน จิน-ซ็อบ ลี ซังอึน
1987 อี จง-ซ็อก มุน ฮี-โอเค
1986 คิม ซึง-จิน คิม วัน-ซุน

รางวัลความนิยม

[แก้]
ปี ผู้ชนะ[38]
2022 บีทีเอส
2021 บีทีเอส
2020 บีทีเอส
2019 บีทีเอส
2018 บีทีเอส
2017 เอ็กโซ
2016 ชายนี
2015 ชายนี
ผู้ชนะ 1986–2014
ฉบับ ปี ผู้ชนะ
ครั้งที่ 29 2014 บีสต์
แทมิน
เกิลส์เจเนอเรชัน
ทูฮาร์ท
ครั้งที่ 28 2013 บีสต์
ชายนี
เกิลส์เจเนอเรชัน
รอย คิม
ครั้งที่ 27 2012 จี-ดรากอน
ชายนี
ครั้งที่ 26 2011 ซูเปอร์จูเนียร์
ครั้งที่ 25 2010 เกิลส์เจเนอเรชัน
ชายนี
ครั้งที่ 24 2009 ซูเปอร์จูเนียร์
ชายนี
ครั้งที่ 23 2008 ซอน โฮยอง
เอฟที ไอส์แลนด์
แทย็อน
ทงบังชินกี
ครั้งที่ 22 2007 ซูเปอร์จูเนียร์
เอฟที ไอส์แลนด์
เกิลส์เจเนอเรชัน
วันเดอร์เกิลส์
ครั้งที่ 21 2006 เพ็ก จี-ยอง
พัคซังมิน
Eru
ครั้งที่ 20 2005 จางอูฮยอก
จีโอดี
ครั้งที่ 19 2004 พัคซังมิน
คิม จง-กุก
ครั้งที่ 18 2003 เอส
ครั้งที่ 17 2002 เบบีวอกซ์
ครั้งที่ 16 2001 ยู ซึง-จุน
เอส.อี.เอส
ครั้งที่ 15 2000 เจ
Country Kko Kko
วงชินฮวา
ครั้งที่ 14 1999 คิม คยอง-โฮ
รูรา
Clon
ครั้งที่ 13 1998 คิม จุง-มิน
คูล
ครั้งที่ 12 1997 ดีวา
Untitle
ครั้งที่ 11 1996 คิม จอง-ฮวาน
ครั้งที่ 10 1995 ซอแทจีแอนด์บอยส์
ครั้งที่ 9 1994 ดิวซ์
Choi Yeon-je
ครั้งที่ 8 1993 Choi Yeon-je
ครั้งที่ 7 1992 ฮยอน จิน-ยัง
Lee Deok-jin
ครั้งที่ 6 1991 ชิน เฮ-ชอล
คัง ซูซี
ครั้ง 5 1990 มิน แฮ-คยอง
ครั้งที่ 4 1989 คิม ฮึง-กุก
ครั้งที่ 3 1988 Sobangcha
ครั้งที่ 2 1987 คิม ซู-ฮี
ยูน ซู-อิล
ครั้งที่ 1 1986 โช ยง-พิล

รางวัลอื่น

[แก้]
ปี รางวัล ผู้ชนะ
2022 Most Popular Artist สเตรย์คิดส์
ไอเดิล
2020 Golden Choice นิวอิสต์
Trend of the Year จีโค
2016 Best K-Pop Band Award ซีเอ็นบลู
2015 Best Vocal Award บีทูบี
ช็อง ยง-ฮวา
2014 Trend of the Year โซยู & จองกิโก
Commission Special Award ดึลกุกฮวา
2013 Goodwill Star Award ซีเอ็นบลู
2012 Samsung Galaxy Star Award ซิสตาร์
Golden Single Award ทีนท็อป
InStyle Fashionista Award ฮงกี
JTBC Best Artist Award ไฮไลต์
2008 New Trend Award คิม จอง-อุก

ศิลปินที่ได้รับรางวัลมากที่สุด

[แก้]

รางวัลใหญ่ที่สุดที่ได้รับรางวัล

[แก้]

รายชื่อผู้ชนะอัลบั้มแห่งปี (อัลบั้มแดซัง) และ เพลงดิจิทัลแห่งปี (ดิจิทัลแดซัง)

รางวัล ศิลปิน
7 บีทีเอส
4 เอ็กโซ
3 เกิลส์เจเนอเรชัน
โจ ซอง-โม
คิม กอน-โม
เอสจีวอนนาบี
ซูเปอร์จูเนียร์
ไอยู
2 พย็อน จิน-ซ็อบ
ไซ
ชิน ซึง-ฮุน
ทงบังชินกี

ได้รับรางวัลมากที่สุดโดยรวม

[แก้]
รางวัล ศิลปิน
28 บีทีเอส
20 ซูเปอร์จูเนียร์
18 เอ็กโซ
15 เกิลส์เจเนอเรชัน
ซีเอ็นบลู
14 เซเวนทีน
13 ชายนี
12 บีสต์
ชิน ซึง-ฮุน
ทไวซ์

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "중앙일보S 매체 인수 설명회에 회장 직접 참석한 KG그룹" [KG Group Chairman [Kwak Jae-sun] personally attends JoongAng Ilbo S Media Acquisition Briefing Session]. Media Today via Naver (ภาษาเกาหลี). April 8, 2022. สืบค้นเมื่อ May 4, 2024.
  2. 2.0 2.1 Jin, Min-ji (2018-01-13). "BTS and IU cap off 'unbelievable' year: Exo, Wanna One and more were big winners at the 32nd Golden Disc Awards". Korea JoongAng Daily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  3. Ahn, Jin-yong (December 4, 2020). "35회 골든디스크 어워즈, 내년 1월 9일 10일 개최". Munhwa Ilbo (ภาษาเกาหลี). Naver. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 January 2021. สืบค้นเมื่อ December 7, 2020.
  4. 4.0 4.1 "'35회 골든디스크 어워즈', 내년 1월 9일·10일 개최 확정[공식입장]". Xports News (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-12-04 – โดยทาง Naver.
  5. "93골든디스크 대상/신승훈 「사랑하니까」/어제 영상음반 시상식". The Hankook Ilbo (ภาษาเกาหลี). 13 December 1993. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-07. สืบค้นเมื่อ 7 December 2022.
  6. "「94 영상음반대상」 시상식/일간스포츠·음반협회 주최" ['94 Video and Music Awards' ceremony / hosted by Daily Sports and Record Association]. Hankook Ilbo (ภาษาเกาหลี). 1994-12-12. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-07. สืบค้นเมื่อ 2022-12-07.
  7. "95 대한민국 영상음반대상 (골든디스크)" [95 Korea Video and Music Awards (Golden Disc)]. The Seo Taiji Archive (ภาษาเกาหลี). 2021-03-13. สืบค้นเมื่อ 2022-12-07.
  8. "올해의 골든디스크 대상에 김건모의 [스피드]" [Golden Disk of the Year Grand Prize for Kim Gun-mo's [Speed]]. Yonhap News Agency (ภาษาเกาหลี). Naver. 1996-12-08. สืบค้นเมื่อ 2022-12-07.
  9. "97 대한민국 영상음반대상 수상자 발표" [97 Korea Video and Music Awards Winners Announcement]. ETNews (ภาษาเกาหลี). 1997-12-15. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-07. สืบค้นเมื่อ 2022-12-07.
  10. "「아무도 ...」 영상음반대상 골든비디오대상 수상" [「Nobody...」 Awarded the Golden Video Award at the Video and Music Awards]. Yonhap News Agency (ภาษาเกาหลี). Naver. 1998-12-05. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  11. "[99 영상음반대상] 조성모, 골든디스크상 대상" [[99 Video and Recording Awards] Jo Sung-mo, Golden Disc Award]. JoongAng Ilbo (ภาษาเกาหลี). 2002-02-25. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  12. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :3
  13. "god 골든디스크 '대상'" [god wins Golden Disk 'daesang']. The Korea Times. 14 December 2001. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 April 2021. สืบค้นเมื่อ 8 May 2022.
  14. "제17회 골든디스크상 대상에 그룹 쿨" [Cool at the 17th Golden Disk Awards]. Yonhap News Agency (ภาษาเกาหลี). 2002-12-13. สืบค้นเมื่อ 2022-05-07.
  15. "2003년도 골든디스크 시상식" [2003 Golden Disc Awards]. Newsis (ภาษาเกาหลี). Naver. 2003-12-05. สืบค้นเมื่อ 2022-05-07.
  16. "'휠릴리' 이수영, 골든디스크상 대상 차지" ['Wheel Lily' Lee Soo-young wins Golden Disk Award]. JoyNews24 (ภาษาเกาหลี). Naver. 2004-12-02. สืบค้นเมื่อ 2022-05-07.
  17. "SG Wannabe, Kim Jong-kuk, Hweesung win Golden Disc Awards". KBS World (ภาษาอังกฤษ). 2005-12-09. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-07. สืบค้นเมื่อ 2022-05-07.
  18. "동방신기, 제 21회 골든디스크상 대상 쾌거" [TVXQ wins the 21st Golden Disk Awards grand prize]. The JoongAng Ilbo (ภาษาเกาหลี). 2006-12-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-30. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  19. '2007 골든디스크' 대상은 누구 품에...6팀 각축. Korea Economic Daily (ภาษาเกาหลี). Naver. December 14, 2007. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 16, 2022. สืบค้นเมื่อ June 16, 2022.
  20. "동방신기, 2008년 영예의 골든디스크 대상 수상" (ภาษาเกาหลี). 2008-12-10. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-31. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  21. Park, Kun-ouc (11 December 2009). "Super Junior sweeps 2009 Golden Disc Awards". Asiae. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 October 2014. สืบค้นเมื่อ 26 April 2012.
  22. "Overview". The 25th Golden Disc Awards (ภาษาเกาหลี). 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2020. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  23. "The 26th Golden Disk Awards in Osaka". Golden Disc Awards. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-28. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  24. "The 27th Golden Disk Awards 2013 Winners List". Nocturnal Asia. 16 January 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-31. สืบค้นเมื่อ 10 May 2022.
  25. Lee, Sun-min (January 17, 2014). "Psy, Exo take top prizes at 28th Golden Disks". Korea JoongAng Daily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 17, 2021. สืบค้นเมื่อ May 15, 2022.
  26. "[단독]김성주·전현무·이특·티파니·페이, '골든디스크' MC 확정" [[Exclusive] Kim Seong-joo, Jeon Hyun-moo, Leeteuk, Tiffany, and Fei confirmed as 'Golden Disc' MCs]. iNews24 (ภาษาเกาหลี). 2014-12-08. สืบค้นเมื่อ 2022-05-08.
  27. Kim, Soo-hyang (January 20, 2016). "30th Golden Disc Awards to be star-studded event". Kpop Herald. สืบค้นเมื่อ May 7, 2022.
  28. "The 31st Golden Disc Schedule". Golden Disc Awards. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 ธันวาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2018.
  29. "Golden Disc Awards to be held in South Korea in 2018". Bandwagon Asia (ภาษาอังกฤษ). 5 December 2017. สืบค้นเมื่อ 8 May 2022.
  30. "Here's all the winners of the 33rd Golden Disc Awards". SBS PopAsia (ภาษาอังกฤษ). 7 January 2019. สืบค้นเมื่อ 8 May 2022.
  31. "이다희·성시경·박소담·이승기, 34회 골든디스크 MC 확정 [공식입장]". Xports News (ภาษาเกาหลี). 13 December 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2020. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019 – โดยทาง Naver.
  32. Kim Young-woong (December 13, 2021). "G성시경·이다희·이승기, 36회 골든디스크 MC 호흡 [공식]" [Sung Si-kyung, Lee Da-hee, Lee Seung-gi, MC for the 36th Golden Disc [Official]] (ภาษาเกาหลี). Sports Kyunghyang. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 13, 2021. สืบค้นเมื่อ December 16, 2021 – โดยทาง Naver.
  33. Park Sang-hoo (November 14, 2022). "'37회 골든디스크 어워즈' 내년 1월 7일 태국 개최" ['37th Golden Disc Awards' to be held in Thailand on January 7 next year] (ภาษาเกาหลี). JTBC. สืบค้นเมื่อ November 14, 2022 – โดยทาง Naver.
  34. "'38회 골든디스크 어워즈 with 만디리' 2024년 1월 6일 자카르타 개최" ['38th Golden Disk Awards with Mandiri' will be held in Jakarta on January 6, 2024]. JTBC (ภาษาเกาหลี). 2023-10-31. สืบค้นเมื่อ 2023-10-31 – โดยทาง Naver.
  35. Shin, Youngeun (4 November 2024). "Sung Si-kyung, Cha Eun-woo, and Moon Ga-young will work together as MCs for the 39th Golden Disc Awards". Maeil Business Newspaper (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 November 2024.
  36. "Categories". Golden Disc Awards. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  37. Yoon, Min-sik (2018-01-24). "Red Velvet releases new songs in repackaged album". The Korea Herald. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 February 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-02-21.
  38. 38.0 38.1 38.2 38.3 "Golden Disc Awards – Winners History". Golden Disc Awards. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 8, 2022. สืบค้นเมื่อ March 7, 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แม่แบบ:JTBC entertainment shows

แม่แบบ:Music industry