เอเชียนคัพ 2027 รอบคัดเลือก
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
วันที่ | ตุลาคม ค.ศ. 2023 – มีนาคม ค.ศ. 2026 |
ทีม | 47 (จาก 1 สมาพันธ์) |
เอเชียนคัพ 2027 รอบคัดเลือก (อังกฤษ: 2027 AFC Asian Cup Qualification) เป็นกระบวนการคัดเลือกที่จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (เอเอฟซี) เพื่อตัดสินทีมที่เข้าร่วมสำหรับการแข่งขันเอเชียนคัพ 2027 ซึ่งเป็นการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์ระดับนานาชาติของทวีปเอเชีย ครั้งที่ 19 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2019 การแข่งขันรอบสุดท้ายของเอเชียนคัพมี 24 ทีมเข้าร่วม โดยได้ขยายจากรูปแบบ 16 ทีมที่ใช้จากปี ค.ศ. 2004 ถึง 2015[1][2]
กระบวนการคัดเลือกประกอบด้วย 4 รอบ โดยสองรอบแรกเป็นฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือกสำหรับทวีปเอเชีย
ผู้เข้าแข่งขัน
[แก้]มีทั้งหมด 47 ประเทศในเครือสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชียที่มีสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขัน อันดับโลกฟีฟ่า ณ เวลาที่จับฉลากใช้เพื่อตัดสินว่าชาติใดจะแข่งขันในรอบแรก สำหรับการจัดลำดับในการจับฉลากรอบที่สองและรอบที่สาม จะใช้การจัดอันดับฟีฟ่าล่าสุดก่อนการจับฉลากเหล่านั้น หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนามีสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขัน เอเชียนคัพ 2027 หลังจากเข้าร่วมเอเอฟซีในปี ค.ศ. 2020
ผ่านเข้ารอบที่ 2 | แข่งขันรอบแรก | |||
---|---|---|---|---|
Pot 1 | Pot 2 | Pot 3 | Pot 1 | Pot 2 |
|
|
|
|
รอบแรก
[แก้]รอบที่ 2
[แก้]รอบที่ 3
[แก้]ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
[แก้]มีทั้งหมด 24 ทีมที่จะผ่านเข้ารอบสุดท้ายรวมถึงเจ้าภาพซาอุดิอาระเบีย
ทีม | การคัดเลือก | วันที่ | เข้าร่วมรอบสุดท้าย | เข้าร่วมครั้งล่าสุด | ผลงานดีที่สุด |
---|---|---|---|---|---|
ซาอุดีอาระเบีย (คาดการณ์) | เจ้าภาพ | กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 | 12 | 2023 | ชนะเลิศ (1984, 1988, 1996) |
ออสเตรเลีย | ชนะเลิศ Second round Group I | 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 | 6 | 2023 | ชนะเลิศ (2015) |
อิรัก | ชนะเลิศ Second round Group F | 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 | 11 | 2023 | ชนะเลิศ (2007) |
อิหร่าน | ชนะเลิศ Second round Group E | 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 | 16 | 2023 | ชนะเลิศ (1968, 1972, 1976) |
อุซเบกิสถาน | รองชนะเลิศ Second round Group E | 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 | 9 | 2023 | อันดับที่ 4 (2011) |
กาตาร์ | ชนะเลิศ Second round Group A | 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 | 12 | 2023 | ชนะเลิศ (2019, 2023) |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | ชนะเลิศ Second round Group H | 26 มีนาคม ค.ศ. 2024 | 12 | 2023 | รองชนะเลิศ (1996) |
ญี่ปุ่น | ชนะเลิศ Second round Group B | 2 เมษายน ค.ศ. 2024 | 11 | 2023 | ชนะเลิศ (1992, 2000, 2004, 2011) |
เกาหลีใต้ | ชนะเลิศ Second round Group C | 6 มิถุนายน ค.ศ. 2024 | 16 | 2023 | ชนะเลิศ (1956, 1960) |
โอมาน | ชนะเลิศ Second round Group D | 6 มิถุนายน ค.ศ. 2024 | 6 | 2023 | รอบ 16 ทีม (2019) |
ปาเลสไตน์ | รองชนะเลิศ Second round Group I | 6 มิถุนายน ค.ศ. 2024 | 4 | 2023 | รอบ 16 ทีม (2023) |
บาห์เรน | รองชนะเลิศ Second round Group H | 6 มิถุนายน ค.ศ. 2024 | 8 | 2023 | Fourth place (2004) |
จอร์แดน | ชนะเลิศ Second round Group G | 6 มิถุนายน ค.ศ. 2024 | 6 | 2023 | รองชนะเลิศ (2023) |
จีน | Second round Group C runners-up | 11 June 2024 | 14 | 2023 | รองชนะเลิศ (1984, 2004) |
อินโดนีเซีย | Second round Group F runners-up | 11 June 2024 | 6 | 2023 | รอบ 16 ทีม (2023) |
เกาหลีเหนือ | Second round Group B runners-up | 11 June 2024 | 6 | 2019 | Fourth place (1980) |
คูเวต | Second round Group A runners-up | 11 June 2024 | 11 | 2015 | Winners (1980) |
คีร์กีซสถาน | Second round Group D runners-up | 11 June 2024 | 3 | 2023 | Round of 16 (2019) |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ExCo approves expanded AFC Asian Cup finals". Asian Football Confederation. 16 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 May 2015.
- ↑ "AFC Asian Cup China 2023 Competition Regulations" (PDF). Asian Football Confederation. 10 September 2020.
- ↑ "FIFA Men's Ranking – July 2023". FIFA. 20 July 2023.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC Asian Cup, the-AFC.com