ข้ามไปเนื้อหา

เอมิเรตส์คัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอมิเรตส์คัพ
มุมกว้างของสนามในแมตช์เอมิเรตส์ คัพ ระหว่าง อาร์เซนอล และ เรอัลมาดริด, 2008
ก่อตั้ง2007
จำนวนทีม4
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอาร์เซนอล (7 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดอาร์เซนอล (7 สมัย)
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ
เอมิเรตส์คัพ 2017

เอมิเรตส์คัพ (อังกฤษ: Emirates Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตรระหว่างสโมสรต่างๆที่ได้จัดแข่งระหว่างสโมสรดังระหว่างประเทศ ซึ่งจัดการแข่งขันในอังกฤษ

ทัวร์นาเมนต์

[แก้]
ครั้งที่ ปี ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่ ข้อมูล
1 2007 อังกฤษ อาร์เซนอล ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง สเปน บาเลนเซีย อิตาลี อินเตอร์มิลาน [1]
2 2008 เยอรมนี ฮัมบวร์ค สเปน เรอัลมาดริด อังกฤษ อาร์เซนอล อิตาลี ยูเวนตุส [1]
3 2009 อังกฤษ อาร์เซนอล สกอตแลนด์ เรนเจอส์ สเปน อัตเลติโกเดมาดริด ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง [1]
4 2010 อังกฤษ อาร์เซนอล ฝรั่งเศส ลียง สกอตแลนด์ เซลติก อิตาลี มิลาน [1]
5 2011 สหรัฐอเมริกา นิวยอร์ก เรดบูลส์ ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง อังกฤษ อาร์เซนอล อาร์เจนตินา โบคา จูเนียร์ส [1]
6 2013 ตุรกี กาลาทาซาไร โปรตุเกส โปร์ตู อังกฤษ อาร์เซนอล อิตาลี นาโปลี [2]
7 2014 สเปน บาเลนเซีย อังกฤษ อาร์เซนอล ฝรั่งเศส มอนาโก โปรตุเกส เบนฟิกา [3]
8 2015 อังกฤษ อาร์เซนอล สเปน บิยาร์เรอัล เยอรมนี ว็อลฟส์บูร์ก ฝรั่งเศส ลียง [4]
9 2017 อังกฤษ อาร์เซนอล สเปน เซบิยา เยอรมนี แอร์เบไลพ์ซิจ โปรตุเกส เบนฟิกา [5]
10 2019 ฝรั่งเศส ลียง อังกฤษ อาร์เซนอล [6]
11 2022 อังกฤษ อาร์เซนอล สเปน เซบิยา [7]
12 2023 อังกฤษ อาร์เซนอล (7) ฝรั่งเศส มอนาโก [8]
ครั้งที่ ปี ชนะเลิศทีมชาย ผล รองชนะเลิศทีมชาย ชนะเลิศทีมหญิง ผล รองชนะเลิศทีมหญิง หมายเหตุ
10 2019 ฝรั่งเศส ลียง 2–1 อังกฤษ อาร์เซนอล เยอรมนี ไบเอิร์น มิวนิก เฟราเอิน 1–0 อังกฤษ อาร์เซนอล ผู้หญิง [9]

ทำเนียบทีมชนะเลิศ

[แก้]

ชาย

[แก้]
สถิติเอมิเรตส์คัพ ทีมชาย
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่ รวม
อังกฤษ อาร์เซนอล 7 2 3 12
ฝรั่งเศส ลียง 1 1 1 3
สเปน บาเลนเซีย 1 1 2
ตุรกี กาลาทาซาไร 1 1
เยอรมนี ฮัมบวร์ค 1 1
สหรัฐอเมริกา นิวยอร์ก เรดบูลส์ 1 1
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2 1 3
สเปน เซบิยา 2 2
โปรตุเกส โปร์ตู 1 1
สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 1 1
สเปน เรอัลมาดริด 1 1
สเปน บิยาร์เรอัล 1 1
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 1 1
สกอตแลนด์ เซลติก 1 1
ฝรั่งเศส มอนาโก 1 1
เยอรมนี แอร์เบไลพ์ซิจ 1 1
เยอรมนี ว็อลฟส์บูร์ก 1 1
โปรตุเกส เบนฟิกา 2 2
อาร์เจนตินา โบคา จูเนียร์ส 1 1
อิตาลี อินเตอร์มิลาน 1 1
อิตาลี ยูเวนตุส 1 1
อิตาลี มิลาน 1 1
อิตาลี นาโปลี 1 1

หญิง

[แก้]
สถิติเอมิเรตส์คัพ ทีมหญิง
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ รวม
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก ผู้หญิง 1 1
อังกฤษ อาร์เซนอล ผู้หญิง 1 1

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Emirates Cup - A complete history". Arsenal.com. Arsenal F.C. 30 July 2013. สืบค้นเมื่อ 7 August 2013.
  2. "Arsenal 1–2 Galatasaray Match Report". Arsenal.com. 4 Aug 2013. สืบค้นเมื่อ 4 Aug 2014.
  3. "Arsenal 0–1 Monaco Match Report". Arsenal.com. 3 Aug 2014. สืบค้นเมื่อ 4 Aug 2014.
  4. Ciullini, Pablo (10 September 2015). "Emirates Cup 2015". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation (RSSSF). สืบค้นเมื่อ 18 June 2016.
  5. "Arsenal win Emirates Cup despite lesser wins than Sevilla". The Indian Express. Mumbai. 31 July 2017. สืบค้นเมื่อ 5 August 2017.
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :0
  7. Blitz, Sam (30 July 2022). "Arsenal 6–0 Sevilla: Gabriel Jesus scores hat-trick as Bukayo Saka and Eddie Nketiah round off Emirates Cup thrashing". Sky Sports (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 July 2023. สืบค้นเมื่อ 30 July 2022.
  8. Rogers, Jonathon (2 August 2023). "Report: Arsenal 1–1 Monaco (5–4 pens)". Arsenal F.C. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2023. สืบค้นเมื่อ 3 August 2023.
  9. "Lyon beat Arsenal in friendly; Lacazette injured". ESPN. 28 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 March 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]