ข้ามไปเนื้อหา

อาณานิคมไนจีเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาณานิคมและรัฐในอารักขาไนจีเรีย
(1914–1954)
สหพันธรัฐไนจีเรีย[1]
(1954–1960)

1914–1960
ธงชาติไนจีเรีย (1914–1960)
ธง
(1914–1952)
ตรา (1914–1952)ของไนจีเรีย (1914–1960)
ตรา
(1914–1952)
ไนจีเรีย (พื้นที่สีแดง) ดินแดนอาณานิคมบริเตนในแอฟริกา (พื้นที่สีชมพู) 1914
ไนจีเรีย (พื้นที่สีแดง)
ดินแดนอาณานิคมบริเตนในแอฟริกา (พื้นที่สีชมพู)
1914
สถานะอาณานิคม
เมืองหลวงเลกอส
ภาษาทั่วไปจารูเบ · เฮาเซ · อีโบห์ · อังกฤษ และภาษาอื่น ๆ
ศาสนา
ศาสนาคริสต์ · ศาสนาอิสลาม · ความเชื่อท้องถิ่น
การปกครองอาณานิคมและรัฐในอารักขา[3]
(1914–1954)
สหพันธรัฐ[1]
(1954–1960)
ผู้ว่าราชการทั่วไป 
• 1914–1919
เฟร์เดอริก ลูการ์ด
• 1955–1960
เจมส์ โรเบิร์ตสัน
ผู้ว่าราชการ 
• 1919–1925
ฮิว คลิฟฟอร์ด
• 1948–1954
จอห์น แมคเฟอร์สัน
สภานิติบัญญัติสภานิติบัญญัติ[4]
(1946–1951)
สภาผู้แทนราษฎร[5]
(1951–1960)
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง / สงครามเย็น
• ก่อตั้ง
1 มกราคม 1914
• สหพันธ์อิสระ
1 ตุลาคม 1954
• เอกราช
1 ตุลาคม 1960
พื้นที่
1924[6]872,050 ตารางกิโลเมตร (336,700 ตารางไมล์)
1952[3]876,953 ตารางกิโลเมตร (338,593 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1924[6]
18500000
• 1952[7]
31156027
สกุลเงินปอนด์บริติชแอฟริกาตะวันตก
(1914–1958)
ปอนด์ไนจีเรีย
(1958–1960)
เขตเวลาUTC+1 (WAT)
ขับรถด้านซ้าย
ก่อนหน้า
ถัดไป
ไนจีเรียเหนือในอารักขา
ไนจีเรียใต้ในอารักขา
สหพันธรัฐไนจีเรีย
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ไนจีเรีย
 แคเมอรูนa
  • ^a คาบสมุทรบาคาสซี; ปกครองโดยไนจีเรียจนถึงปี ค.ศ. 2008

อาณานิคมและรัฐในอารักขาไนจีเรีย เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิบริติชในแอฟริกาตะวันตก ตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 19จนถึงปี ค.ศ. 1960 เริ่มแรกนั้นได้ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการค้าทาส ค.ศ. 1807 เพื่อควบคุมดูแลการค้าทาส ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการจัดระเบียบการปกครอง ต่อมาในปี ค.ศ. 1861 ได้มีข้อตกลงสนธิสัญญาเลกอสเพื่อผนวกดินแดนอาณานิคมเลกอส และในปี ค.ศ. 1884 ก่อตั้งแม่น้ำออยล์ในอารักขา บริเตนได้มีอิทธิพลในดินแดนไนเจอร์มากขึ้นตลอดศตวรรษที่ 19 ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวบริเตนยังไม่ได้เข้ามาปกครองดินแดนอย่างชัดเจนจนถึงปี ค.ศ. 1885 โดยชาติอาณานิคมในยุโรปยอมรับบริเตนในการปกครองพื้นที่จาก การประชุมเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1885

ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1886 ถึง ค.ศ. 1899 บริษัทรอยัลไนเจอร์เป็นผู้มีอำนาจเต็มในการปกครองดินแดนส่วนใหญ่ ภายใต้การดูแลของจอร์จ โกลด์ดี ค.ศ. 1900 ไนจีเรียเหนือในอารักขา และ ไนจีเรียใต้ในอารักขาได้ยกสถานะเป็นอาณานิคมในพระองค์ โดยมี เฟร์เดอริก ลูการ์ด เป็นผู้ว่าราชการอาณานิคม โดยรวมดินแดนในอารักขาเป็น อาณานิคมและรัฐในอารักขาไนจีเรีย แบ่งการปกครองเป็น 3 แคว้นใหญ่ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการจัดเลือกตั้งเป็นการทั่วไปเพื่อเพิ่มตัวแทนและรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งโดยชาวไนจีเรีย ภายหลังจากที่สิ้นสุดการปกครองของสหราชอาณาจักร ในปี ค.ศ. 1960 ไนจีเรียได้รับเอกราชและกลายเป็น สหพันธรัฐไนจีเรีย[8]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
เชิงอรรถ
  1. 1.0 1.1 "The Nigeria (Constitution) Order in Council, 1954" (PDF). p. 16. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-02-24. สืบค้นเมื่อ 2020-08-14.
  2. Ugorji, Basil (2012). From Cultural Justice to Inter-Ethnic Mediation: A Reflection on the Possibility of Ethno-Religious Mediation in Africa. Outskirts Press. p. 183. ISBN 9781432788353.
  3. 3.0 3.1 Armitage, John (1952). Britannica Book of the Year 1952: Events of 1951. London: Encyclopædia Britannica Ltd. p. 456.
  4. Awa, Eme O. (1964). Federal Government in Nigeria. Berkeley and Los Angeles: University of California Press. p. 21.
  5. Awa, Eme O. (1964). Federal Government in Nigeria. Berkeley and Los Angeles: University of California Press. p. 130.
  6. 6.0 6.1 "The British Empire in 1924". The British Empire. สืบค้นเมื่อ 7 November 2017.
  7. Darlington, Mgbeke (2009). Fundamentals of Public Administration: A Blueprint for Nigeria Innovative Public Sector. AuthorHouse. p. 29. ISBN 9781449024550.
  8. "Nigeria - Independent Nigeria". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.
บรรณานุกรม
Bibliography
  • Afeadie, Philip Atsu. "The Hidden Hand of Overrule: Political Agents and the Establishment of British Colonial Rule in Northern Nigeria, 1886–1914". PhD dissertation accepted at the Graduate Programme in History, York University, Ontario. September 1996.
  • Asiegbu, Johnson U. J. Nigeria and its British Invaders, 1851–1920: A Thematic Documentary History. New York & Enugu: Nok Publishers International, 1984. ISBN 0-88357-101-3
  • Carland, John M. The Colonial Office and Nigeria, 1898–1914. Hoover Institution Press, Stanford University, 1985. ISBN 0-8179-8141-1
  • Falola, Toyin, & Matthew M. Heaton, A History of Nigeria, Cambridge, 2008, ISBN 978-0-521-68157-5
  • Isichei, Elizabeth. A History of Nigeria. Harlow, UK, and New York: Longman, Inc., 1983. ISBN 0-582-64331-7
  • Pétré-Grenouilleau, Olivier (ed.). From Slave Trade to Empire: Europe and the colonisation of Black Africa 1780s–1880s. Abingdon, UK, and New York: Routledge, 2004. ISBN 0-714-65691-7
  • Tamuno, T. N. The Evolution of the Nigerian State: The Southern Phase, 1898–1914. New York: Humanities Press, 1972. SBN 391 00232 5

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]