อักษรเรอจัง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก อักษรเรชัง)
อักษรเรอจัง ꥆꤰ꥓ꤼꤽ ꤽꥍꤺꥏ | |
---|---|
ชนิด | |
ช่วงยุค | ?-ปัจจุบัน |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | เรอจัง, มลายู |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบพี่น้อง | บาหลี บาตัก ไบบายิน ชวา ลนตารา มากัสซาร์ ซุนดาเก่า เรินจง |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Rjng (363), Rejang (Redjang, Kaganga) |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Rejang |
ช่วงยูนิโคด | U+A930-U+A95F |
อักษรเรอจัง (Rejang, บางครั้งอาจสะกดเป็น Redjang) พัฒนามาจากอักษรพราหมี โดยผ่านทางอักษรปัลลวะหรืออักษรกวิ นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า มีความต่อเนื่องระหว่างอักษรเรอจัง ไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์ และอักษรตระกูลเซมิติก เช่น อักษรฮีบรู
พยัญชนะ
[แก้]รูปพยัญชนะเป็นไปตามจารึกข้างล่างนี้:[1][2]
อักษรพร้อมสัทอักษรสากล
[แก้]เครื่องหมายเสริมสัทอักษรของอักษรนี้เชื่อมด้วยฐานอักษร a (ꥆ) เพื่อแก้อักษรที่กำกวม เช่นในกรณีของ /i/, /u/, /əu̯/ และ /ɛa̯/ ยกเว้นvirama ซึ่งฐานของมันคือ ka (ꤰ)
อักษรเรอจังกับสัญกรณ์สัทอักษรสากล[3] | ||||||||||||||||
เรอจัง | ꤰ | ꤱ | ꤲ | ꤳ | ꤴ | ꤵ | ꤶ | ꤷ | ꤸ | ꤹ | ꤺ | ꤻ | ꤼ | ꤽ | ꤾ | ꤿ |
สัทอักษรสากล | [k] | [ɡ] | [ŋ] | [t] | [d] | [n] | [p] | [b] | [m] | [c] | [ɟ] | [ɲ] | [s] | [r] | [l] | [j] |
เรอจัง | ꥀ | ꥁ | ꥂ | ꥃ | ꥄ | ꥅ | ꥆ | ꥆꥇ | ꥆꥈ | ꥆꥉ | ꥆꥊ | ꥆꥋ | ꥆꥌ | ꥆꥍ | ꥆꥎ | ꥆꥏ |
สัทอักษรสากล | [w] | [h] | [m], [b] | [ŋ], [g] | [n], [d] | [ɲ], [ɟ] | [a], [ə] | [i], [ɪ] | [u], [ʊ] | [ɛ], [e] | [ai̯] | [o], [ɔ] | [au̯] | [əu̯] | [ɛa̯] | [ŋ] ท้าย |
เรอจัง | ꥆꥐ | ꥆꥑ | ꥆꥒ | ꤰ꥓ | ||||||||||||
สัทอักษรสากล | [n] ท้าย | [r] ท้าย | [ʔ] ท้าย | (ไม่มีสระ) |
ยูนิโคด
[แก้]อักษรเรอจังถูกเพิ่มเข้าไปในยูนิโคดเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2008 รุ่น 5.1. ผังยูนิโคดของเรอจังอยู่ที่ U+A930-U+A95F:
เรอจัง Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+A93x | ꤰ | ꤱ | ꤲ | ꤳ | ꤴ | ꤵ | ꤶ | ꤷ | ꤸ | ꤹ | ꤺ | ꤻ | ꤼ | ꤽ | ꤾ | ꤿ |
U+A94x | ꥀ | ꥁ | ꥂ | ꥃ | ꥄ | ꥅ | ꥆ | ꥇ | ꥈ | ꥉ | ꥊ | ꥋ | ꥌ | ꥍ | ꥎ | ꥏ |
U+A95x | ꥐ | ꥑ | ꥒ | ꥓ | ꥟ |
มีการพัฒนาข้อเสนอเพื่อเพิ่มตัวเลขเรอจัง (angka bejagung)[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Crawfurd, John. (1820). History of the Indian Archipelago (vol. 2).
- ↑ Everson, Michael. (2006). Proposal for encoding the Rejang script in the BMP of the UCS. เก็บถาวร 2012-02-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Omniglot. Rejang. Retrieved 23 March 2019.
- ↑ Pandey, Anshuman (2018-03-26). "Preliminary proposal to encode Rejang Numbers in Unicode" (PDF). Unicode Consortium. L2/L2018/18081. สืบค้นเมื่อ 2021-02-18.