ข้ามไปเนื้อหา

ยุทธการที่โบรดี (ค.ศ. 1941)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่โบรดี (ค.ศ. 1941)
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง

การเคลื่อนทัพของกองพลแพนเซอร์ที่ 11 ในช่วงยุทธการที่โบรดี
วันที่23–30 มิถุนายน ค.ศ. 1941
สถานที่
โบรดี, ยูเครน (จากนั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์อย่างเป็นทางการ จนกระทั่ง ค.ศ. 1945, ภายหลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต)
ผล เยอรมันชนะ
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน  สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี เพาล์ ลุดวิจ เอวัลด์ ฟอน ไคลสท์
นาซีเยอรมนี Hyazinth Graf Strachwitz
สหภาพโซเวียต Mikhail Kirponos
สหภาพโซเวียต Maksim Purkayev
สหภาพโซเวียต Ivan Muzichenko
สหภาพโซเวียต Mikhail Potapov
กำลัง
750 tanks[1][2] 3500 tanks[1]
ความสูญเสีย
Only against 8th Mech. Corps:
~ 200 tanks lost[3]
Heavy: Forces rendered non-operational
8th Mech. Corps:
~ 800 tanks lost[3]

ยุทธการที่โบรดี(ชื่ออื่นๆที่ถูกใช้รวมถึงยุทธการที่ดับนา, ยุทธการที่ดับโน, ยุทธการที่โรฟเน,ยุทธการที่โรฟเน-โบรดี)เป็นการสู้รบของรถถังระหว่างกลุ่มพันเซอร์ที่ 1 ของเหล่ากองทัพที่ 3 และเหล่ากองทัพที่ 48 (ยานยนต์) และห้าเหล่ายานยนต์ของกองทัพที่ 5 และกองทัพที่ 6 ของโซเวียตในรูปแบบสามเหลี่ยมโดยเมืองดับโน Lutsk และโบรดีในช่วงระหว่างวันที่ 23 และ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1941 เป็นที่รู้จักในประวัติศาสตร์โซเวียตว่าเป็นส่วนหนึ่งของ"ยุทธการป้องกันชายแดน" แม้ว่ากองทัพแดงจะได้สร้างความสูญเสียอย่างมากต่อกองทัพเยอรมัน พวกเขาก็ถูกหลงกลและประสบความสูญเสียรถถังเป็นอย่างมากเช่นกัน ด้วยพลาธิการทางทหารที่แย่ อำนาจเหนือน่านฟ้าของเยอรมันรวมทั้งความล้มเหลวในการบัญชาการและการควบคุมในกองทัพแดงได้สร้างความมั่นใจว่าจะได้รับชัยชนะสำหรับเวร์มัคท์ แม้ว่ากองทัพแดงจะมีจำนวนมากมายมหาศาลและเทคโนโนโลยีที่เหนือกว่า

ยุทธการครั้งนี้เป็นการรบบนยานเกราะที่ดุเดือดที่สุดในช่วงเปิดฉากของปฏิบัติการบาร์บารอสซา และเมื่อเร็วๆนี้นักวิชาการได้พิจารณาว่าเป็นการต่อสู้รบรถถังที่ใหญ่ที่สุดในสงครามโลกครั้งที่สอง มากกว่ายุทธการที่โปรโฮรอฟกาที่มีชื่อเสียงโด่งดัง[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Popel 2001, p. 414.
  2. Sołonin 2007, pp. 528–529.
  3. 3.0 3.1 Ryabyshev 2002.
  4. archived link, original link