ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา
ฉายานกกระเรียน
ดินแดนไข่มุกแห่งแอฟริกา (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสหพันธ์สมาคมฟุตบอลยูกันดา
สมาพันธ์ย่อยสภาสมาคมฟุตบอลแอฟริกาตะวันออกและกลาง (CECAFA)
สมาพันธ์สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนSébastien Desabre
สนามเหย้าสนามกีฬาแห่งชาติแมนเดลา
รหัสฟีฟ่าUGA
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบันNR (20 มิถุนายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด62 (มกราคม ค.ศ. 2016)
อันดับต่ำสุด121 (กรกฎาคม ค.ศ. 2002)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติเคนยา เคนยา 1–1 ยูกันดา ยูกันดา
(ไนโรบี เคนยา; 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1926)
ชนะสูงสุด
ยูกันดา ยูกันดา 13–1 เคนยา ธงชาติเคนยา
(ยูกันดา; ค.ศ. 1932)
แพ้สูงสุด
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 6–0 ยูกันดา ยูกันดา
(อเล็กซานเดรีย อียิปต์; 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1995)
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 6–0 ยูกันดา ยูกันดา
(ตูนิส ตูนิเซีย; 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999)
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
เข้าร่วม6 (ครั้งแรกใน 1962)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1978)

ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศยูกันดา อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์สมาคมฟุตบอลยูกันดา เคยจบอันดับที่สองในแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ เมื่อปี ค.ศ. 1978

เกียรติประวัติ

[แก้]
เซคาฟาคัพ
  • ชนะเลิศ 14 สมัย (1973, 1976, 1977, 1989, 1990, 1992, 1996, 2000, 2003, 2008, 2009, 2011, 2012, 2015)
  • รองชนะเลิศ 4 สมัย

สถิติการแข่งขันฟุตบอลโลก

[แก้]
สถิติในฟุตบอลโลก สถิติรอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
อุรุกวัย 1930เยอรมนีตะวันตก 1974 ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้เข้าร่วม
อาร์เจนตินา 1978 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 2 1 0 1 3 4
สเปน 1982 ถอนตัว ถอนตัว
เม็กซิโก 1986 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 2 1 0 1 1 3
อิตาลี 1990 2 1 0 1 2 3
สหรัฐอเมริกา 1994 ถอนตัวในรอบคัดเลือก ถอนตัวในรอบคัดเลือก
ฝรั่งเศส 1998 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 2 0 0 2 1 5
เกาหลีใต้ญี่ปุ่น 2002 2 0 1 1 4 7
เยอรมนี 2006 12 3 2 7 10 18
แอฟริกาใต้ 2010 6 3 1 2 8 9
บราซิล 2014 6 2 2 2 5 6
รัสเซีย 2018 8 4 3 1 7 2
ประเทศกาตาร์ 2022 รอแข่งขัน
ทั้งหมด 0/21 42 15 9 18 42 47

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]