ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020
ประเทศเลบานอน ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 | |
---|---|
รหัสประเทศ | LBN |
เอ็นโอซี | คณะกรรมการโอลิมปิกเลบานอน |
เว็บไซต์ | www |
ณ โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – 8 สิงหาคม ค.ศ. 2021 | |
นักกีฬา | 6 คน ใน 5 ชนิดกีฬา |
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีเปิด) | เรย์ บาสซิล นาซิฟ เอเลียส |
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีปิด) | N/A |
เหรียญ |
|
การเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน | |
ประเทศเลบานอน เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ที่โตเกียว เดิมกำหนดให้จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม 2020 แต่ถูกเลื่อนออกไปเป็นวันที่ 23 กรกฎาคม ถึง 8 สิงหาคม 2021 เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19[1]
นับเป็นครั้งที่ 18 ที่ประเทศเลบานอนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน เลบานอนไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 ที่เมลเบิร์นเพื่อตอบสนองต่อวิกฤตการณ์คลองสุเอซ ในพิธีเปิด ประเทศต่าง ๆ จะเดินขบวนตามลำดับอักษรญี่ปุ่นแบบดั้งเดิมโดยใช้อักษรโกจูอง และรัสเซียถูกถอดออกจากรายชื่อมาตรฐานเนื่องด้วยมาตรการลงโทษเกี่ยวกับการใช้สารกระตุ้น เลบานอนถูกจัดอยู่ในลำดับสุดท้ายในขบวนพาเหรดแห่งชาติ ก่อนประเทศเจ้าภาพในปี 2028 อย่างสหรัฐอเมริกา และประเทศเจ้าภาพในปี 2024 อย่างฝรั่งเศส รวมทั้งประเทศเจ้าภาพอย่างญี่ปุ่นอีกด้วย
จำนวนนักกีฬา
[แก้]กีฬา | ชาย | หญิง | รวม |
---|---|---|---|
กรีฑา | 1 | 0 | 1 |
ยูโด | 1 | 0 | 1 |
ยิงปืน | 0 | 1 | 1 |
ว่ายน้ำ | 1 | 1 | 2 |
ยกน้ำหนัก | 0 | 1 | 1 |
รวม | 3 | 3 | 6 |
กรีฑา
[แก้]ไอซ์แลนด์ได้รับสิทธิ์ระดับสากลจากเวิลด์แอธเลติก ในการส่งนักกีฬาชายไปแข่งขันกีฬาโอลิมปิก[2]
- หมายเหตุ–อันดับที่กำหนดไว้สำหรับการแข่งขันประเภทลู่จะอยู่ภายในกลุ่มของนักกีฬาเท่านั้น
- Q = ผ่านเข้ารอบต่อไป
- q = ผ่านเข้ารอบต่อไปในฐานะผู้แพ้ที่เร็วที่สุด หรือ ในการแข่งขันประเภทลาน โดยพิจารณาจากตำแหน่งโดยไม่บรรลุเป้าหมายการผ่านเข้ารอบ
- NR = สถิติระดับประเทศ
- N/A = รอบที่ไม่สามารถแข่งขันได้
- Bye = นักกีฬาไม่จำเป็นต้องแข่งขันในรอบ
- ประเภทลู่และถนน
นักกีฬา | รายการ | ฮีท | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ||
นูรุดดีน ฮาดิด | 200 เมตร ชาย | 21.12 | 8 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ยูโด
[แก้]เลบานอนส่งนักยูโดชายหนึ่งคนเข้าแข่งขันโอลิมปิกโดยจัดอันดับบุคคลโอลิมปิกของสหพันธ์ยูโดนานาชาติ[3]
นักกีฬา | รายการ/รุ่น | 64 คน | 32 คน | 16 คน | ก่อนรองฯ | รอบรองฯ | แก้ตัว | ชิงชนะเลิศ/ทองแดง | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
อันดับ | ||
นาซิฟ เอเลียส | 81 กก. ชาย | Bye | ลี ซูงโฮ (KOR) แพ้ 00–10 |
ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ยิงปืน
[แก้]นักยิงปืนชาวเลบานอนได้รับสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันต่อไปนี้ด้วยผลงานที่ดีที่สุดของเธอในการแข่งขัน ยิงปืนชิงแชมป์โลก 2018, ISSF เวิลด์คัพ 2019 และการแข่งขันชิงแชมป์แห่งเอเชีย ตราบใดที่พวกเธอได้รับคะแนนขั้นต่ำที่ผ่านการคัดเลือก (MQS) ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2020[4]
นักกีฬา | รายการ | คัดเลือก | ชิงชนะเลิศ | ||
---|---|---|---|---|---|
คะแนน | อันดับ | คะแนน | อันดับ | ||
เรย์ บาสซิล | แทรป หญิง | 114 | 21 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ว่ายน้ำ
[แก้]เลบานอนได้รับคำเชิญจาก FINA ให้ส่งนักว่ายน้ำอันดับต้นๆ 2 คน (เพศละ 1 คน) ในรายการประเภทบุคคลของตนไปแข่งขันโอลิมปิก โดยยึดตามระบบคะแนนของ FINA เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2021[5]
นักกีฬา | รายการ | ฮีท | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | ||
มุนเซอร์ คับบารา | ผสม 200 เมตร ชาย | 2:03.08 | 41 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ | |||
กาเบรียลลา ดูเอฮี | ฟรีสไตล์ 200 เมตร หญิง | 2:11.29 | 29 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ยกน้ำหนัก
[แก้]เลบานอนส่งนักยกน้ำหนักหญิงเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ซิดนีย์ 2000 โดย มาฮาสเซน ฟาตูห์ อยู่อันดับหนึ่งในรายชื่อนักยกน้ำหนักจากเอเชียในประเภทหญิงน้ำหนัก 76 กก. ตามการจัดอันดับความแน่นอนรายทวีปของ IWF[6]
นักกีฬา | รายการ/รุ่น | สแนตช์ | คลีนแอนด์เจิร์ก | รวม | อันดับ | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ||||
มาฮาสเซน ฟาตูห์ | 76 กก. หญิง | 93 | 11 | 124 | 7 | 217 | 9 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Joint Statement from the International Olympic Committee and the Tokyo 2020 Organising Committee". Olympics. 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.
- ↑ "Road to Olympic Games 2020". World Athletics. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ International Judo Federation Olympics Ranking
- ↑ "Quota Places by Nation and Number". www.issf-sports.org/. ISSF. 1 January 2018. สืบค้นเมื่อ 2 September 2018.
- ↑ "Tokyo Olympics Entry Lists Released, Swimming Begins July 24". Swimming World Magazine. สืบค้นเมื่อ 16 July 2021.
- ↑ Zaazaa, Bassam (11 June 2021). "First woman weightlifter to represent Lebanon at the Olympics: 'My dream has become a reality'". Arab News. สืบค้นเมื่อ 24 June 2021.