ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาแบดมินตัน
รายการ4 (ชาย: 2; หญิง: 2)
การแข่งขัน
  • 1896
  • 1900
  • 1904
  • 1908
  • 1912
  • 1920
  • 1924
  • 1928
  • 1932
  • 1936
  • 1948
  • 1952
  • 1956
  • 1960
  • 1964
  • 1968
  • 1972
  • 1976
หมายเหตุ: กีฬาสาธิตปีที่ระบุด้วยตัวเอียง

กีฬาแบดมินตันในโอลิมปิก เข้าสู่กีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี 1972 ที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี ในครั้งนั้นยังเป็นกีฬาสาธิตอยู่ แต่ก็ขาดหายไป จนปี 1988 โอลิมปิกที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ แบดมินตันก็ได้กลับเข้ามาอีกครั้งในฐานะกีฬาสาธิต และถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิกอย่างเต็มตัวในฐานะกีฬาชิงเหรียญทองตั้งแต่ปี 1992 ในโอลิมปิกที่บาร์เซโลนา

สรุปเหรียญรางวัลแบดมินตัน

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 จีน22151552
2 อินโดนีเซีย86822
3 เกาหลีใต้78722
4 เดนมาร์ก33410
5 จีนไทเป2103
6 ญี่ปุ่น1146
7 สเปน1001
8 มาเลเซีย06511
9 บริเตนใหญ่0123
 อินเดีย0123
11 เนเธอร์แลนด์0101
 ไทย0101
13 รัสเซีย0011
รวม (13 ประเทศ)444448136

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน

[แก้]
ชาติ 1992 1996 2000 2004 2008 2012 2016 2020 2024 ปี
แอลจีเรีย 1 2 2
ออสเตรเลีย 2 8 7 6 6 5 5 4 3 9
ออสเตรีย 2 1 2 2 1 1 6
อาเซอร์ไบจาน [a] 1 2 2
เบลารุส [a] 2 1 1 3
เบลเยียม 1 1 2 2 1 2 6
บราซิล 2 2 2 3
บรูไน 1 1
บัลแกเรีย 7 3 4 2 1 1 3 3 3 9
แคนาดา 6 7 6 7 4 4 2 8 4 9
จีน 13 20 17 19 19 17 14 14 16 9
จีนไทเป 6 5 5 4 8 4 5 6 8
คิวบา 1 1
เช็กเกีย [b] 2 2 2 4 4
เชโกสโลวาเกีย 2 Country dissolved into Czech Republic and Slovakia 1
เดนมาร์ก 12 16 18 12 10 9 8 9 7 9
อียิปต์ 1 1 3 3
เอลซัลวาดอร์ 1 1
เอสโตเนีย 2 1 2 2 1 5
ฟินแลนด์ 2 2 2 3 2 2 1 1 1 9
ฝรั่งเศส 4 2 3 3 2 2 2 4 9 9
เยอรมนี 4 6 6 6 5 6 7 5 4 9
สหราชอาณาจักร 12 11 12 11 6 4 8 7 3 9
กรีซ 2 1
กัวเตมาลา 1 1 1 1 1 2 1 7
ฮ่องกง 5 3 4 5 3 4 7 4 6 9
ฮังการี 3 1 1 2 4
ไอซ์แลนด์ 3 1 1 1 4
อินเดีย 3 2 2 3 2 5 7 4 7 9
อินโดนีเซีย 13 20 19 14 11 9 10 11 9 9
อิหร่าน 1 1 2
ไอร์แลนด์ 1 2 2 2 1 2 6
อิสราเอล 1 1 2 1 4
อิตาลี 1 1 1 1 4
จาเมกา 1 1
ญี่ปุ่น 11 7 9 11 10 11 9 13 12 9
คาซัคสถาน 1 1
ลิทัวเนีย 2 1 2
มาเลเซีย 6 7 6 9 9 6 8 8 8 9
มัลดีฟส์ 1 1 1 3
มอลตา 1 1
มอริเชียส 3 4 5 1 1 1 1 7
เม็กซิโก 1 1 1 2 1 5
พม่า 1 1 2
เนปาล 1 1
เนเธอร์แลนด์ 3 5 8 4 1 3 4 2 8
นิวซีแลนด์ 4 2 2 3 4
ไนจีเรีย 2 1 3 1 4
นอร์เวย์ 1 1 1 3
ปากีสถาน 1 1
เปรู 1 1 1 2 1 1 6
ฟิลิปปินส์ 1 1
โปแลนด์ 6 1 3 3 5 6 5 7
โปรตุเกส 2 1 1 2 2 2 6
ทีมนักกีฬาผู้ลี้ภัย 1 1 2
โรมาเนีย 1 1
รัสเซีย [a] 5 3 2 2 6 4 [c] 6
ไต้หวัน [d] 4 1
เซเชลส์ 2 1
สิงคโปร์ 3 1 3 5 4 2 2 4 8
สโลวาเกีย [b] 1 1 1 3
สโลวีเนีย 1 1 1 3
แอฟริกาใต้ 2 6 5 4 1 1 6
เกาหลีใต้ 12 17 12 15 13 12 14 10 12 9
สเปน 2 2 2 2 2 2 2 7
ศรีลังกา 1 1 2 1 1 1 6
ซูรินาม 1 1 1 1 4
สวีเดน 8 10 6 3 1 1 1 1 8
สวิตเซอร์แลนด์ 2 2 2 1 1 1 2 7
ไทย 8 7 6 8 4 6 7 7 9 9
ตรินิแดดและโตเบโก 1 1
ตุรกี 1 1 1 1 4
ยูกันดา 1 1 2
ยูเครน [a] 3 3 2 2 2 2 1 7
ทีมรวม 2 Dissolved 1
สหรัฐ 6 3 1 2 5 3 7 4 7 9
เวียดนาม 2 1 2 2 2 5
แซมเบีย 1 1
ชาติ 36 37 28 32 50 51 46 49 49 74
ปี 1992 1996 2000 2004 2008 2012 2016 2020 2024 9
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Competed within the Unified Team
  2. 2.0 2.1 Competed within Czechoslovakia
  3. Competed as ROC
  4. Competed within the Unified Team (1992) and as Russia (1996–2016)

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]