ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาวอลเลย์บอล
ในโอลิมปิกครั้งที่ 30
สนามอีเลสคอร์ตเอ็กฮิตบิชันเซนเตอร์ (ในร่ม)
ฮอร์สการ์ดพาเหรด (ชาดหาย)
วันที่28 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม ค.ศ. 2012
← 2008
2016 →
วอลเลย์บอล
โอลิมปิกฤดูร้อน 2012
อินดอร์
การแข่งขัน   ชาย   หญิง
Rosters   ชาย   หญิง
ชายหาด
การแข่งขัน ชาย หญิง

การแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เป็นการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในร่มที่จะจัดขึ้นในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม ค.ศ. 2012 โดยการแข่งขันวอลเลย์บอลในร่มทำการแข่งขันที่อีเลสคอร์ตเอ็กฮิตบิชันเซนเตอร์ และวอลเลย์บอลชาดหายจัดที่หาดฮอร์สการ์ดพาเหรด

ประเภทการแข่งขัน

[แก้]

ประเภทการแข่งขันแบ่งออกเป็น 4 ประเภทดังนี้

การคัดเลือก

[แก้]

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติได้กำหนดให้การแข่งขันวอลเลย์บอลประเภทในร่มทั้งชายและหญิงสามารถส่งตัวแทนเข้าแข่งขันได้ประเทศละ 1 ทีมต่อการแข่งขันเท่านั้น แต่วอลเลย์บอลประเภทชายหาดสามารถส่งทีมเข้าแข่งขันได้มากที่สุดประเทศละ 2 ทีม

การคัดเลือกทีมชาย

[แก้]

ทีมที่ผ่านการคัดเลือกทีมชายมีรายละเอียดดังนี้

การคัดเลือก
วันที่ เจ้าภาพ จำนวน ทีมที่ได้รับเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 6 กรกฎาคม 2005 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 1 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่
เวิลด์คัพ 2011 20 พฤศจิกายน – 4 ธันวาคม 2011 ญี่ปุ่น โตเกียว 3 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
ธงชาติบราซิล บราซิล
รอบคัดเลือกโซนแอฟริกา 17–21 กุมภาพันธ์ 2012 แคเมอรูน ยัวอันเดร 1 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ 7–12 พฤษภาคม 2012 สหรัฐอเมริกา ลองบีช 1 ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
รอบคัดเลือกโซนยุโรป 8–13 พฤษภาคม 2012 บัลแกเรีย โซเฟีย 1 ธงชาติอิตาลี อิตาลี
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ 11–13 พฤษภาคม 2012 อาร์เจนตินา บูร์ซาโก 1 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
รอบคัดเลือกระดับโลก 1 1–10 มิถุนายน 2012 ญี่ปุ่น โตเกียว 1 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย
รอบคัดเลือกโซนเอเชีย* 1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
รอบคัดเลือกระดับโลก 2 8–10 มิถุนายน 2012 บัลแกเรีย โซเฟีย 1 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย
รอบคัดเลือกระดับโลก 3 8–10 มิถุนายน 2012 เยอรมนี เบอร์ลิน 1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
รวม 12

* ทีมที่ได้รับเลือกจากทวีปเอเชียจะเป็นทีมมาจากการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกรอบคัดเลือกระดับโลก โดยจะต้องเป็นทีมจากเอเชียที่อันดับดีที่สุดนับตั้งแต่ลำดับที่ 2 ลงมา

การคัดเลือกทีมหญิง

[แก้]

ทีมที่ผ่านการคัดเลือกทีมหญิงมีรายละเอียดดังนี้

การคัดเลือก วันที่ เจ้าภาพ จำนวน ทีมที่ได้รับเลือก
เจ้าภาพ เจ้าภาพ สิงคโปร์ สิงคโปร์ 1 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่
เวิลด์คัพ 2011 4–18 พฤศจิกายน 2011  ญี่ปุ่น 3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
ธงชาติจีน จีน
รอบคัดเลือกโซนแอฟริกา 2–4 กุมภาพันธ์ 2012 แอลจีเรีย บลีดา 1 ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ 29 เม.ย. – 5 พ.ค. 2012 เม็กซิโก ตีฮัวนา 1 ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
รอบคัดเลือกโซนยุโรป 1–6 พฤษภาคม 2012 ตุรกี อังการา 1 ธงชาติตุรกี ตุรกี
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ 9–13 พฤษภาคม 2012 บราซิล เซาคาร์ลอส 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
รอบคัดเลือกโซนเอเชีย 19–27 พฤษภาคม 2012 ญี่ปุ่น โตเกียว 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
รอบคัดเลือกระดับโลก 3 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย
รวม 12

* ทีมที่ได้รับเลือกจากทวีปเอเชียจะเป็นทีมมาจากการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกรอบคัดเลือกระดับโลก โดยจะต้องเป็นทีมจากเอเชียที่อันดับดีที่สุดนับตั้งแต่ลำดับที่ 2 ลงมา

วอลเลย์บอลชายหาด

[แก้]
การคัดเลือก วันที่ จำนวน ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
ทีมชาย ทีมหญิง
ประเทศเจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552 2 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
อันดับโลก 17 มิถุนายน 2012 30 บราซิล บราซิล
สหรัฐ จีน
เยอรมนี สหรัฐ
เนเธอร์แลนด์ บราซิล
โปแลนด์ สหรัฐ
สหรัฐ เนเธอร์แลนด์
บราซิล อิตาลี
เยอรมนี เยอรมนี
สเปน เช็กเกีย
จีน สเปน
สวิตเซอร์แลนด์ เยอรมนี
เช็กเกีย สวิตเซอร์แลนด์
ลัตเวีย ออสเตรีย
ลัตเวีย ออสเตรเลีย
อิตาลี เช็กเกีย
สวิตเซอร์แลนด์ กรีซ
เอวีซีคัพ 2010–12 2 กรกฎาคม 2012 2 ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย
ซีเอวีบีคัพ 2010–12 2 แอฟริกาใต้ มอริเชียส
ซีอีวีคัพ 2010–12 2 นอร์เวย์ รัสเซีย
ซีเอสวีคัพ 2010–12 2 เวเนซุเอลา อาร์เจนตินา
นอร์เซกาคัพ 2010–12 2 แคนาดา แคนาดา
วอลเลย์บอลชายหาดเวิลด์คัพรอบสุดท้าย
รอบคัดเลือกโอลิมปิก
26 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2012 4 ออสเตรีย เนเธอร์แลนด์
รัสเซีย รัสเซีย
รวม 48 24 24

สรุปเหรียญ

[แก้]

ตารางเหรียญการแข่งขัน

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 บราซิล 1 2 1 4
2 สหรัฐ 1 2 0 3
3 รัสเซีย 1 0 0 1
เยอรมนี 1 0 0 1
5 อิตาลี 0 0 1 1
ญี่ปุ่น 0 0 1 1
ลัตเวีย 0 0 1 1
รวม 4 4 4 12

ผู้ที่ได้รับเหรียญ

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ในร่มทีมชาย
รายละเอียด
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ในร่มทีมหญิง
รายละเอียด
ธงชาติบราซิล บราซิล
ฟาเบียนา คลาวดิโอ
ดาเนล ลินส์
พอลล่า พีเควโน
อเดนทิเซีย เดอ ซิลวา
ไทซ่า เมเนเกวส
จาเควลินส์ เคาวาโฮ
เฟอร์นันดา เฟอร์ริรา
ทันดารา ไคเตซา
นาตาเลีย เปริเวรา
เชลล่า คาสโตว์
ฟาเบียนา เดอ โอลิเวล่า
เฟอร์นันดา โรดิเกวส
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
ดาเนล สก๊อต อารูดา
เทยีบา ฮาเนฟ พาร์ค
ลินซี่ เบิร์ก
ทามารี มิยาชิโร่
นิโคล เดวิส
จอร์แดน เลอสัน
เมแกน ฮอร์ช
คริสตา เฮอมอโทว์
ลอแกน ทอม
ฟอรุค อะคินราเดโว
คอร์ตนีย์ ทอมสัน
ดาสไทนี่ ฮุคเกอร์
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ฮิโตมิ นากามิชิ
โยะชิเอะ ทะเคะชิตะ
ไม ยะมะกุชิ
อิริกะ อะระกิ
คะโอะริ อินโนะเอะ
ไมโกะ คะโนะ
ยุโกะ ซะโนะ
ไอ โอะโทะโมะ
ริซะ ชินนะเบะ
ซะโอะริ ซาโกดะ
ยุกิโกะ เอะบะตะ
ซะโอะริ คิมุระ
ชายหาดชาย
รายละเอียด
เยอรมนี
Julius Brink
Jonas Reckermann
บราซิล
Alison Cerutti
Emanuel Rego
ลัตเวีย
Mārtiņš Pļaviņš
Jānis Šmēdiņš
ชายหาดหญิง
รายละเอียด
สหรัฐ
Kerri Walsh Jennings
and Misty May-Treanor
สหรัฐ
Jennifer Kessy
April Ross
บราซิล
Juliana Felisberta
Larissa França

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]