ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เติ้ง เสี่ยวผิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Add 6 books for WP:V (20241214)) #IABot (v2.0.9.5) (GreenC bot
CKM149104 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| native_name_lang = zh
| native_name_lang = zh
| image = Deng Xiaoping at the arrival ceremony for the Vice Premier of China (cropped).jpg
| image = Deng Xiaoping at the arrival ceremony for the Vice Premier of China (cropped).jpg
| caption = เติ้งระหว่าง[[การเยือนสหรัฐอเมริกาของเติ้ง เสี่ยวผิง|การเยือนสหรัฐอเมริกา]]ในปี ค.ศ. 1979
| caption = เติ้งระหว่าง[[การเยือนสหรัฐอเมริกาของเติ้ง เสี่ยวผิง|การเยือนสหรัฐอเมริกา]]ใน ค.ศ. 1979
| office = ประธาน[[คณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง]]
| office = ประธาน[[คณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง]]
| 1blankname1 = {{nowrap|เลขาธิการ}}
| 1blankname1 = {{nowrap|เลขาธิการ}}
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
* [[สวี เซี่ยงเฉียน]]
* [[สวี เซี่ยงเฉียน]]
}}
}}
| term1 = {{longitem|'''แห่งพรรค''': {{avoid wrap|{{nowrap|28 มิถุนายน ค.ศ. 1981}} – {{nowrap|9 กันยายน ค.ศ. 1989<br />({{อายุปีและวัน|1981|6|28|1989|9|9}})}}}}}}
| term1 = {{longitem|'''คณะกรรมการพรรค''': {{avoid wrap|{{nowrap|28 มิถุนายน ค.ศ. 1981}} – {{nowrap|9 กันยายน ค.ศ. 1989<br />({{อายุปีและวัน|1981|6|28|1989|9|9}})}}}}}}
| predecessor1 = [[ฮฺว่า กั๋วเฟิง]]
| predecessor1 = [[ฮฺว่า กั๋วเฟิง]]
| successor1 = [[เจียง เจ๋อหมิน]]
| successor1 = [[เจียง เจ๋อหมิน]]
| term2 = {{longitem|'''แห่งรัฐ''':<br />{{avoid wrap|{{nowrap|6 มิถุนายน ค.ศ. 1983}}{{snd}}{{nowrap|19 มีนาคม ค.ศ. 1990<br />({{อายุปีและวัน|1983|6|6|1990|3|19}})}}}}}}
| term2 = {{longitem|'''คณะกรรมการรัฐ''':<br />{{avoid wrap|{{nowrap|6 มิถุนายน ค.ศ. 1983}}{{snd}}{{nowrap|19 มีนาคม ค.ศ. 1990<br />({{อายุปีและวัน|1983|6|6|1990|3|19}})}}}}}}
| predecessor2 = ''สถาปนาตำแหน่ง''
| predecessor2 = ''สถาปนาตำแหน่ง''
| successor2 = [[เจียง เจ๋อหมิน]]
| successor2 = [[เจียง เจ๋อหมิน]]
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
| term_start3 = 8 มีนาคม ค.ศ. 1978
| term_start3 = 8 มีนาคม ค.ศ. 1978
| term_end3 = 17 มิถุนายน ค.ศ. 1983<br />({{อายุปีและวัน|1978|3|8|1983|6|17}})
| term_end3 = 17 มิถุนายน ค.ศ. 1983<br />({{อายุปีและวัน|1978|3|8|1983|6|17}})
| predecessor3 = [[โจว เอินไหล]] (ถึงปี 1976)
| predecessor3 = [[โจว เอินไหล]] (ถึง ค.ศ. 1976)
| successor3 = [[เติ้ง อิ่งเชา]]
| successor3 = [[เติ้ง อิ่งเชา]]
| birth_name = เติ้ง เซียนเชิ่ง
| birth_name = เติ้ง เซียนเชิ่ง
| birth_date = {{birth date|1904|08|22|df=y}}
| birth_date = {{birth date|1904|08|22|df=y}}
| birth_place = [[กว่างอัน]], มณฑลเสฉวน, [[จักรวรรดิชิง]]
| birth_place = [[กว่างอาน]], มณฑลเสฉวน, [[จักรวรรดิชิง]]
| death_date = {{death date and age|1997|2|19|1904|8|22|df=y}}
| death_date = {{death date and age|1997|2|19|1904|8|22|df=y}}
| death_place = [[ปักกิ่ง]], ประเทศจีน
| death_place = [[ปักกิ่ง]], ประเทศจีน
| party = [[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] (ตั้งแต่ปี 1924)
| party = [[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] (ตั้งแต่ ค.ศ. 1924)
| spouse = {{plainlist|
| spouse = {{plainlist|
* {{marriage|จาง ซี-ยฺเวี่ยน ({{lang|zh|张锡瑗}})|1928|1929|end=d}}
* {{marriage|จาง ซี-ยฺเวี่ยน ({{lang|zh|张锡瑗}})|1928|1929|end=d}}
บรรทัด 73: บรรทัด 73:
| serviceyears = 1929–1952, 1975–1980
| serviceyears = 1929–1952, 1975–1980
| rank = {{indented plainlist|
| rank = {{indented plainlist|
* [[ผู้ตรวจการทางการเมือง]] (1929–1952)
* [[ผู้ตรวจการการเมือง]] (1929–1952)
* [[ประธานคณะเสนาธิการ]] (1975–1976, 1977–1980)
* [[ประธานคณะเสนาธิการ]] (1975–1976, 1977–1980)
* ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางแห่งรัฐ}}
* ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางแห่งรัฐ}}
บรรทัด 84: บรรทัด 84:
| battles = {{indented plainlist|
| battles = {{indented plainlist|
* [[สงครามกลางเมืองจีน]]
* [[สงครามกลางเมืองจีน]]
* [[สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง]]
* [[สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง]]
}}
}}
| signature = Signature of Deng Xiaoping 19840126.svg
| signature = Signature of Deng Xiaoping 19840126.svg
บรรทัด 101: บรรทัด 101:
}}
}}


'''เติ้ง เสี่ยวผิง''' ({{zh|s=邓小平|p=Dèng Xiǎopíng}}; 22 สิงหาคม ค.ศ. 1904{{snd}}19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997) เป็นนักปฏิวัติและรัฐบุรุษชาวจีน เขาดำรงตำแหน่ง[[ผู้นำสูงสุดของจีน|ผู้นำสูงสุด]]ของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978 ถึง 1989 ภายหลังการ[[อสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเหมา เจ๋อตง|ถึงแก่อสัญกรรม]]ของ[[เหมา เจ๋อตง]]ในปี ค.ศ. 1976 เติ้งได้ก้าวขึ้นสู่อำนาจและนำพาประเทศจีนผ่านยุคสมัยของ[[การปฏิรูปเศรษฐกิจจีน|การปฏิรูปและเปิดประเทศ]] ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจของจีนให้เป็น[[เศรษฐกิจตลาดสังคมนิยม]] เขาได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็น “สถาปนิกแห่งจีนสมัยใหม่” จากการพัฒนา[[สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน]] และริเริ่ม[[ทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง]]<ref>{{Cite news |last=Faison |first=Seth |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping is Dead at 92; Architect of Modern China |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20170123203613/http://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |archive-date=23 January 2017 |access-date=19 April 2021 |work=[[The New York Times]] |issn=0362-4331}}</ref><ref>{{Cite web |year=2014 |title=Deng Xiaoping: Architect of modern China |url=https://www.chinadaily.com.cn/opinion/dengxiaoping.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20240623152008/https://www.chinadaily.com.cn/opinion/dengxiaoping.html |archive-date=2024-06-23 |website=[[China Daily]]}}</ref>{{sfn|Vogel|2011}}
'''เติ้ง เสี่ยวผิง''' ({{zh|s=邓小平|p=Dèng Xiǎopíng}}; 22 สิงหาคม ค.ศ. 1904{{snd}}19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997) เป็นนักปฏิวัติและรัฐบุรุษชาวจีน เขาดำรงตำแหน่ง[[ผู้นำสูงสุดของจีน|ผู้นำสูงสุด]]ของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ตั้งแต่ ค.ศ. 1978 ถึง 1989 ภายหลังการ[[อสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเหมา เจ๋อตง|ถึงแก่อสัญกรรม]]ของ[[เหมา เจ๋อตง]]ใน ค.ศ. 1976 เติ้งได้ก้าวขึ้นสู่อำนาจและนำพาประเทศจีนผ่านยุคสมัยของ[[การปฏิรูปเศรษฐกิจจีน|การปฏิรูปและเปิดประเทศ]] ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจของจีนให้เป็น[[เศรษฐกิจตลาดสังคมนิยม]] เขาได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็น “สถาปนิกแห่งจีนสมัยใหม่” จากการพัฒนา[[สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน]] และริเริ่ม[[ทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง]]<ref>{{Cite news |last=Faison |first=Seth |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping is Dead at 92; Architect of Modern China |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20170123203613/http://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |archive-date=23 January 2017 |access-date=19 April 2021 |work=[[The New York Times]] |issn=0362-4331}}</ref><ref>{{Cite web |year=2014 |title=Deng Xiaoping: Architect of modern China |url=https://www.chinadaily.com.cn/opinion/dengxiaoping.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20240623152008/https://www.chinadaily.com.cn/opinion/dengxiaoping.html |archive-date=2024-06-23 |website=[[China Daily]]}}</ref>{{sfn|Vogel|2011}}


เติ้งเกิดใน[[มณฑลเสฉวน]]ในช่วงปลาย[[ราชวงศ์ชิง]] และเริ่มสนใจ[[ลัทธิมากซ์–เลนิน]]ในช่วงทศวรรษที่ 1920 ขณะศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1924 เขาได้เข้าร่วม[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] และเดินทางไปยังกรุงมอสโกเพื่อศึกษาต่อ ก่อนจะเดินทางกลับมายังประเทศจีน และดำรงตำแหน่ง[[ผู้ตรวจการทางการเมือง]]ในกองทัพแดง เติ้งมีบทบาทสำคัญในฐานะผู้นำคนสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีนระหว่าง[[สงครามกลางเมืองจีน]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการรักษาความอยู่รอดของพรรคระหว่าง[[การเดินทัพทางไกล]] ต่อมาเขาช่วยนำ[[กองทัพปลดปล่อยประชาชน]]สู่ชัยชนะในสงครามกลางเมือง รวมถึงการมีส่วนร่วมร่วมในการยึดเมือง[[หนานจิง]]ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน
เติ้งเกิดใน[[มณฑลเสฉวน]]ในช่วงปลาย[[ราชวงศ์ชิง]] และเริ่มสนใจ[[ลัทธิมากซ์–เลนิน]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 ขณะศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1924 เขาเข้าร่วม[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]และเดินทางไปยังกรุงมอสโกเพื่อศึกษาต่อ ก่อนจะเดินทางกลับมายังประเทศจีน และดำรงตำแหน่ง[[ผู้ตรวจการการเมือง]]ในกองทัพแดง เติ้งมีบทบาทสำคัญในฐานะผู้นำคนสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีนระหว่าง[[สงครามกลางเมืองจีน]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการรักษาความอยู่รอดของพรรคระหว่าง[[การเดินทัพทางไกล]] ต่อมาเขาช่วยนำ[[กองทัพปลดปล่อยประชาชน]]สู่ชัยชนะในสงครามกลางเมือง รวมถึงการมีส่วนร่วมร่วมในการยึดเมือง[[หนานจิง]]ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน


ภายหลังการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1949 เติ้งได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในระดับภูมิภาคหลายตำแหน่ง และในที่สุดก็ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งสำคัญใน[[คณะมนตรีรัฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน|คณะรัฐมนตรี]]ในช่วงทศวรรษที่ 1950 ในฐานะ[[รองนายกรัฐมนตรีจีน|รองนายกรัฐมนตรี]] และ[[เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] ภายใต้การนำของเหมา เจ๋อตง เติ้งได้เป็นประธานในการดำเนินงานฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ เติ้งมีบทบาทสำคัญใน[[การรณรงค์ต่อต้านฝ่ายขวา]] ซึ่งเป็นการกวาดล้างกลุ่มปัญญาชนและผู้วิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์จีน การรณรงค์ดังกล่าวส่งผลให้มีการกดขี่ข่มเหงประชาชนประมาณ 550,000 คน ซึ่งรวมถึงนักเขียนและนักกิจกรรมทางการเมือง และถือเป็นเหตุการณ์สำคัญในการเสริมสร้างการสนับสนุนนโยบายหัวรุนแรงของเหมาในขณะนั้น<ref>{{Cite web |date=May 2006 |title=The Anti-Rightist Campaign of 1957 |url=https://www.cia.gov/readingroom/docs/CIA-RDP88-01350R000200180001-9.pdf |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.cia.gov/readingroom/docs/CIA-RDP88-01350R000200180001-9.pdf |archive-date=8 May 2019}}</ref> เขาได้ตกจากอำนาจในช่วง[[การปฏิวัติทางวัฒนธรรม]] เนื่องจากมีความเห็นชอบต่อนโยบายที่เน้นปฏิบัติและการตลาด เขาถูกเหมากำจัดสองครั้ง แต่หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของเหมา เติ้งก็ได้ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำสูงสุดด้วยความสามารถในการเอาชนะคู่แข่งทางการเมือง
ภายหลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1949 เติ้งได้ดำรงตำแหน่งสำคัญระดับภูมิภาคหลายตำแหน่ง และในที่สุดก็ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งสำคัญใน[[คณะมนตรีรัฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน|คณะมนตรีรัฐกิจ]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 ในฐานะ[[รองนายกรัฐมนตรีจีน|รองนายกรัฐมนตรี]]และ[[เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] ภายใต้การนำของเา เติ้งได้เป็นประธานการดำเนินงานฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ มีบทบาทสำคัญใน[[การรณรงค์ต่อต้านฝ่ายขวา]] ซึ่งเป็นการกวาดล้างกลุ่มปัญญาชนและผู้วิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์จีน การรณรงค์ดังกล่าวส่งผลให้มีการกดขี่ข่มเหงประชาชนประมาณ 550,000 คน ซึ่งรวมถึงนักเขียนและนักกิจกรรมทางการเมือง และถือเป็นเหตุการณ์สำคัญในการเสริมสร้างการสนับสนุนนโยบายหัวรุนแรงของเหมาในขณะนั้น<ref>{{Cite web |date=May 2006 |title=The Anti-Rightist Campaign of 1957 |url=https://www.cia.gov/readingroom/docs/CIA-RDP88-01350R000200180001-9.pdf |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.cia.gov/readingroom/docs/CIA-RDP88-01350R000200180001-9.pdf |archive-date=8 May 2019}}</ref> เขาหลุดจากอำนาจในช่วง[[การปฏิวัติทางวัฒนธรรม]] เนื่องจากมีความเห็นชอบต่อนโยบายที่เน้นปฏิบัติและการตลาด เขาถูกเหมากำจัดสองครั้ง แต่หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของเหมา เติ้งก็ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำสูงสุดด้วยความสามารถในการเอาชนะคู่แข่งทางการเมือง


เมื่อขึ้นสู่อำนาจ เติ้งได้ดำเนินการปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐานและระบบการเมืองของประเทศจีนอย่างครอบคลุม เนื่องจากความระส่ำระสายของสถาบันและความปั่นป่วนทางการเมืองจาก[[ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน (ค.ศ. 1949–1976)|ยุคเหมา]] เขาและพันธมิตรจึงได้ริเริ่มโครงการ "[[ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง]]" เพื่อฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยโดยการคืนความยุติธรรมให้แก่ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนรุ่นเก่า ตลอดประชาชนหลายล้านคนที่ถูกกดขี่ข่มเหงในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขายังได้ริเริ่ม[[การปฏิรูปเศรษฐกิจจีน|โครงการปฏิรูปและเปิดประเทศ]] ซึ่งได้นำเอาองค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเข้ามาสู่ระบบเศรษฐกิจของประเทศจีน โดยการกำหนด[[เขตเศรษฐกิจพิเศษ]]ทั่วประเทศ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 เติ้งได้ริเริ่ม[[ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน#การปฏิรูปการเมือง|การปฏิรูปทางการเมืองครั้งใหญ่]] โดยกำหนดระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของเจ้าหน้าที่รัฐไว้ในรัฐธรรมนูญ และมีการปรับปรุงแก้ไขระบบต่าง ๆ ซึ่งรวมอยู่ใน[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2525|รัฐธรรมนูญฉบับที่สี่ของประเทศ]] ต่อมาเติ้งได้ให้การสนับสนุน[[นโยบายลูกคนเดียว]] เพื่อแก้ไข[[ปัญหาประชากรล้นเมือง]]ที่ประเทศจีนเผชิญอยู่ อีกทั้งยังมีส่วนสำคัญในการจัดตั้งระบบ[[การศึกษาภาคบังคับ|การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี]] และเป็นผู้กำกับดูแลการเริ่ม[[โครงการ 863]] เพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การปฏิรูปที่ดำเนินการโดยเติ้งและพันธมิตรของเขาได้นำพาประเทศจีนให้ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงจาก[[ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน|ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับบัญชา]]และ[[ลัทธิเหมา]] เปิดรับการลงทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และนำกำลังแรงงานจำนวนมหาศาลของประเทศเข้าสู่[[โลกาภิวัตน์ในประเทศจีน|ตลาดโลก]] ส่งผลให้จีนกลายเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก<ref>{{Cite news |last=Denmark |first=Abraham |title=40 years ago, Deng Xiaoping changed China — and the world |newspaper=[[The Washington Post]] |url=https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |url-status=live |access-date=19 April 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |archive-date=8 May 2019 |issn=0190-8286}}</ref>
เมื่อขึ้นสู่อำนาจ เติ้งได้ดำเนินการปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐานและระบบการเมืองของประเทศจีนอย่างครอบคลุม ด้วยความระส่ำระสายของสถาบันและความปั่นป่วนทางการเมืองจาก[[ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน (ค.ศ. 1949–1976)|ยุคเหมา]] เขาและพันธมิตรจึงริเริ่มโครงการ "[[ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง]]" เพื่อฟื้นความสงบเรียบร้อยโดยการคืนความยุติธรรมให้แก่ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนรุ่นเก่า ตลอดจนประชาชนหลายล้านคนที่ถูกกดขี่ข่มเหงในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขายังริเริ่ม[[การปฏิรูปเศรษฐกิจจีน|โครงการปฏิรูปและเปิดประเทศ]] ซึ่งนำเอาองค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเข้ามาสู่ระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนโดยการกำหนด[[เขตเศรษฐกิจพิเศษ]]ทั่วประเทศ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 เติ้งริเริ่ม[[ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน#การปฏิรูปการเมือง|การปฏิรูปการเมืองครั้งใหญ่]]โดยกำหนดระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของเจ้าหน้าที่รัฐไว้ในรัฐธรรมนูญ และมีการปรับปรุงแก้ไขระบบต่าง ๆ ซึ่งรวมอยู่ใน[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2525|รัฐธรรมนูญฉบับที่สี่ของประเทศ]] ต่อมาเติ้งให้การสนับสนุน[[นโยบายลูกคนเดียว]]เพื่อแก้ไข[[ปัญหาประชากรล้นเมือง]]ที่ประเทศจีนเผชิญอยู่ ทั้งยังมีส่วนสำคัญในการจัดตั้งระบบ[[การศึกษาภาคบังคับ|การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี]]และเป็นผู้กำกับดูแลการเริ่ม[[โครงการ 863]] เพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การปฏิรูปที่ดำเนินโดยเติ้งและพันธมิตรของเขานำพาประเทศจีนให้ค่อย ๆ เปลี่ยนจาก[[ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน|ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับ]]และ[[ลัทธิเหมา]] เป็นการเปิดรับการลงทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และนำแรงงานจำนวนมหาศาลของประเทศเข้าสู่[[โลกาภิวัตน์ในประเทศจีน|ตลาดโลก]] ส่งผลให้จีนกลายเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก<ref>{{Cite news |last=Denmark |first=Abraham |title=40 years ago, Deng Xiaoping changed China — and the world |newspaper=[[The Washington Post]] |url=https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |url-status=live |access-date=19 April 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |archive-date=8 May 2019 |issn=0190-8286}}</ref>


ในระหว่างการดำรงตำแหน่งผู้นำของตน เติ้งได้รับการยกย่องให้เป็น[[บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์]]ถึงสองครั้ง ในปี ค.ศ. 1978 และ 1985<ref>{{Cite magazine |date=1 January 1979 |title=Man of the Year: Teng Hsiao-p'ing: Visions of a New China |url=http://content.time.com/time/covers/0,16641,19790101,00.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20210419041030/http://content.time.com/time/covers/0,16641,19790101,00.html |archive-date=19 April 2021 |access-date=19 April 2021 |magazine=[[Time (magazine)|Time]]}}</ref><ref>{{Cite magazine |date=6 January 1986 |title=Man of the Year: Deng Xiaoping |url=http://content.time.com/time/covers/0,16641,19860106,00.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191209202013/http://content.time.com/time/covers/0,16641,19860106,00.html |archive-date=9 December 2019 |access-date=19 April 2021 |magazine=Time}}</ref> แม้ว่าเติ้งจะมีส่วนสำคัญในการนำพาประเทศจีนให้ทันสมัย แต่ผลงานของเขาก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกัน เขาได้สั่งการให้กองทัพเข้าปราบปราม[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในปี พ.ศ. 2532|การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในปี ค.ศ. 1989]] ซึ่งเป็นเหตุให้การปฏิรูปทางการเมืองสิ้นสุดลง และยังคงเป็นประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ไปทั่วโลก<ref>{{cite web |last=Wu |first=Wei |date=4 June 2015 |title=Why China's Political Reforms Failed |url=https://thediplomat.com/2015/06/why-chinas-political-reforms-failed/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20230413104706/https://thediplomat.com/2015/06/why-chinas-political-reforms-failed/ |archive-date=13 April 2023 |access-date=3 May 2020 |website=[[The Diplomat]]}}</ref> [[นโยบายลูกคนเดียว]]ซึ่งริเริ่มขึ้นในยุคของเติ้งนั้นก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์เช่นกัน อย่างไรก็ตาม นโยบายของเขาก่อให้เกิดรากฐานที่มั่นคงสำหรับการก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจระดับโลกของจีน<ref>{{Cite news |last=Denmark |first=Abraham |title=40 years ago, Deng Xiaoping changed China — and the world |newspaper=[[The Washington Post]] |url=https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |url-status=live |access-date=19 April 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |archive-date=8 May 2019}}</ref>
ในระหว่างการดำรงตำแหน่งผู้นำของตน เติ้งได้รับการยกย่องให้เป็น[[บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์]]ถึงสองครั้ง ใน ค.ศ. 1978 และ 1985<ref>{{Cite magazine |date=1 January 1979 |title=Man of the Year: Teng Hsiao-p'ing: Visions of a New China |url=http://content.time.com/time/covers/0,16641,19790101,00.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20210419041030/http://content.time.com/time/covers/0,16641,19790101,00.html |archive-date=19 April 2021 |access-date=19 April 2021 |magazine=[[Time (magazine)|Time]]}}</ref><ref>{{Cite magazine |date=6 January 1986 |title=Man of the Year: Deng Xiaoping |url=http://content.time.com/time/covers/0,16641,19860106,00.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191209202013/http://content.time.com/time/covers/0,16641,19860106,00.html |archive-date=9 December 2019 |access-date=19 April 2021 |magazine=Time}}</ref> แม้เติ้งจะมีส่วนสำคัญในการนำพาประเทศจีนให้ทันสมัย แต่ผลงานของเขาก็ยังคงเป็นที่ถกเถียง เขาสั่งให้กองทัพเข้าปราบปราม[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิ พ.ศ. 2532|การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิ ค.ศ. 1989]] ซึ่งเป็นเหตุให้การปฏิรูปทางการเมืองสิ้นสุดลง และยังคงเป็นประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ไปทั่วโลก<ref>{{cite web |last=Wu |first=Wei |date=4 June 2015 |title=Why China's Political Reforms Failed |url=https://thediplomat.com/2015/06/why-chinas-political-reforms-failed/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20230413104706/https://thediplomat.com/2015/06/why-chinas-political-reforms-failed/ |archive-date=13 April 2023 |access-date=3 May 2020 |website=[[The Diplomat]]}}</ref> [[นโยบายลูกคนเดียว]]ซึ่งริเริ่มขึ้นในยุคของเติ้งนั้นก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์เช่นกัน อย่างไรก็ตาม นโยบายของเขาก่อให้เกิดรากฐานที่มั่นคงสำหรับการก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจระดับโลกของจีน<ref>{{Cite news |last=Denmark |first=Abraham |title=40 years ago, Deng Xiaoping changed China — and the world |newspaper=[[The Washington Post]] |url=https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |url-status=live |access-date=19 April 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |archive-date=8 May 2019}}</ref>


== ชีวิตช่วงต้น ==
== ชีวิตช่วงต้น ==
[[File:Student Deng Xiaoping in France.jpg|thumb|left|เติ้ง เสี่ยวผิง ในวัย 16 ปี ขณะศึกษาอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส (ค.ศ 1921)]]
[[File:Student Deng Xiaoping in France.jpg|thumb|left|เติ้งในวัย 16 ปี ขณะศึกษาอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส (ค.ศ 1921)]]
บรรพบุรุษของเติ้งสามารถสืบย้อนไปถึง[[อำเภอเหมย์เซี่ยน (เหมย์โจว)|อำเภอเจียอิง]] (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นเหมย์เซี่ยน) [[มณฑลกวางตุ้ง]]<ref name="Asiawind.com">{{Cite web |date=29 December 1997 |title=The arrival of the Hakkas in Sichuan Province |url=http://www.asiawind.com/pub/forum/fhakka/mhonarc/msg00475.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20101104074554/http://www.asiawind.com/pub/forum/fhakka/mhonarc/msg00475.html |archive-date=4 November 2010 |access-date=13 March 2010 |publisher=Asiawind.com}}</ref> ซึ่งเป็นถิ่นฐานดั้งเดิมที่สำคัญของ[[ชาวฮากกา]] และได้อพยพมาตั้งรกรากอยู่ในมณฑลเสฉวนต่อเนื่องกันมาหลายชั่วอายุคน<ref>{{Cite web |date=14 January 2008 |title=Luodai, a Hakkanese town in Sichuan Province |url=http://www.gov.cn/english/2008-01/14/content_857292.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215533/http://www.gov.cn/english/2008-01/14/content_857292.htm |archive-date=17 September 2018 |access-date=14 May 2010 |publisher=GOV.cn}}</ref> [[เติ้ง หรง]] บุตรสาวของเติ้งได้กล่าวไว้ในหนังสือ บิดาของข้าพเจ้า เติ้ง เสี่ยวผิง (我的父亲邓小平) ว่าบรรพบุรุษของเขาอาจจะมีเชื้อสายฮากกา แต่ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัด สกุลเติ้งมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในมณฑลเสฉวน แต่ในช่วง[[ราชวงศ์หมิง]] มีบุคคลสกุลเติ้งคนหนึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางราชการในมณฑลกวางตุ้ง อย่างไรก็ตาม เมื่อ[[ราชวงศ์ชิง]]มีนโยบายส่งเสริมการเพิ่มจำนวนประชากรในปี ค.ศ. 1671 ตระกูลเติ้งจึงได้อพยพกลับมายังมณฑลเสฉวน เติ้ง เสี่ยวผิง เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1904 ใน[[เขตกว่างอัน]] [[กว่างอัน|เมืองกว่างอัน]] [[มณฑลเสฉวน]]<ref name="Dai2009">{{Cite book |last=Yingcong Dai |url=https://books.google.com/books?id=DYHfVVAAf_kC&pg=PA25 |title=The Sichuan Frontier and Tibet: Imperial Strategy in the Early Qing |publisher=University of Washington Press |year=2009 |isbn=978-0-295-98952-5 |pages=25– |access-date=20 July 2016 |archive-url=https://web.archive.org/web/20161128154047/https://books.google.com/books?id=DYHfVVAAf_kC&pg=PA25 |archive-date=28 November 2016 |url-status=live}}</ref>
บรรพบุรุษของเติ้งสามารถสืบย้อนไปถึง[[อำเภอเหมย์เซี่ยน (เหมย์โจว)|อำเภอเจียอิง]] (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นเหมย์เซี่ยน) [[มณฑลกวางตุ้ง]]<ref name="Asiawind.com">{{Cite web |date=29 December 1997 |title=The arrival of the Hakkas in Sichuan Province |url=http://www.asiawind.com/pub/forum/fhakka/mhonarc/msg00475.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20101104074554/http://www.asiawind.com/pub/forum/fhakka/mhonarc/msg00475.html |archive-date=4 November 2010 |access-date=13 March 2010 |publisher=Asiawind.com}}</ref> ซึ่งเป็นถิ่นฐานดั้งเดิมที่สำคัญของ[[ชาวฮากกา]] และได้อพยพมาตั้งรกรากอยู่ในมณฑลเสฉวนต่อเนื่องกันมาหลายชั่วอายุคน<ref>{{Cite web |date=14 January 2008 |title=Luodai, a Hakkanese town in Sichuan Province |url=http://www.gov.cn/english/2008-01/14/content_857292.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215533/http://www.gov.cn/english/2008-01/14/content_857292.htm |archive-date=17 September 2018 |access-date=14 May 2010 |publisher=GOV.cn}}</ref> [[เติ้ง หรง]] บุตรสาวของเติ้งได้กล่าวไว้ในหนังสือ ''บิดาของข้าพเจ้า เติ้ง เสี่ยวผิง'' (''我的父亲邓小平'') ว่าบรรพบุรุษของเขาอาจมีเชื้อสายฮากกา แต่ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัด สกุลเติ้งมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในมณฑลเสฉวน แต่ในช่วง[[ราชวงศ์หมิง]] มีบุคคลสกุลเติ้งคนหนึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งราชการในมณฑลกวางตุ้ง อย่างไรก็ตาม เมื่อ[[ราชวงศ์ชิง]]มีนโยบายส่งเสริมการเพิ่มจำนวนประชากรใน ค.ศ. 1671 ตระกูลเติ้งจึงอพยพกลับมายังมณฑลเสฉวน เติ้ง เสี่ยวผิง เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1904 ใน[[เขตกว่างอัน]] [[กว่างอัน|เมืองกว่างอัน]] [[มณฑลเสฉวน]]<ref name="Dai2009">{{Cite book |last=Yingcong Dai |url=https://books.google.com/books?id=DYHfVVAAf_kC&pg=PA25 |title=The Sichuan Frontier and Tibet: Imperial Strategy in the Early Qing |publisher=University of Washington Press |year=2009 |isbn=978-0-295-98952-5 |pages=25– |access-date=20 July 2016 |archive-url=https://web.archive.org/web/20161128154047/https://books.google.com/books?id=DYHfVVAAf_kC&pg=PA25 |archive-date=28 November 2016 |url-status=live}}</ref>


บิดาของเติ้งคือ เติ้ง เหวินหมิง เป็นเจ้าของที่ดินขนาดกลางที่เคยศึกษา ณ มหาวิทยาลัยกฎหมายและรัฐศาสตร์ [[เฉิงตู|เมืองเฉิงตู]] มณฑลเสฉวน เขามีชื่อเสียงในระดับท้องถิ่น{{sfn|Yang|1997|pp=11-12}} มารดาของเติ้งมีสกุลต้าน ได้ถึงแก่กรรมตั้งแต่เติ้งยังเยาว์วัย ทำให้เติ้งและพี่น้องร่วมสายโลหิตอีกสามคน และน้องสาวอีกสามคนต้องเผชิญกับการสูญเสียครั้งใหญ่<ref>{{Cite web |title=Deng Xiaoping – Childhood |url=http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103417.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215455/http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103417.htm |archive-date=17 September 2018 |access-date=14 May 2010 |publisher=China.org.cn}}</ref> เมื่ออายุได้ 5 ปี เติ้งได้ถูกส่งไปศึกษา ณ โรงเรียนประถมศึกษาเอกชนแบบจีนดั้งเดิม จากนั้นเมื่ออายุได้ 7 ปีก็ได้ย้ายไปศึกษาต่อ ณ โรงเรียนประถมศึกษาที่ทันสมัยยิ่งขึ้น
บิดาของเติ้งคือเติ้ง เหวินหมิง เจ้าของที่ดินขนาดกลางที่เคยศึกษา ณ มหาวิทยาลัยกฎหมายและรัฐศาสตร์ [[เฉิงตู|เมืองเฉิงตู]] มณฑลเสฉวน เขามีชื่อเสียงในระดับท้องถิ่น{{sfn|Yang|1997|pp=11-12}} มารดาของเติ้งมีสกุลต้าน ได้ถึงแก่กรรมตั้งแต่เติ้งยังเยาว์วัย ทำให้เติ้งและพี่น้องร่วมสายโลหิตอีกสามคนและน้องสาวอีกสามคนต้องเผชิญการสูญเสียครั้งใหญ่<ref>{{Cite web |title=Deng Xiaoping – Childhood |url=http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103417.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215455/http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103417.htm |archive-date=17 September 2018 |access-date=14 May 2010 |publisher=China.org.cn}}</ref> เมื่ออายุได้ 5 ปี เติ้งได้ถูกส่งไปศึกษา ณ โรงเรียนประถมศึกษาเอกชนแบบจีนดั้งเดิม จากนั้นเมื่ออายุได้ 7 ปีได้ย้ายไปศึกษาต่อ ณ โรงเรียนประถมศึกษาที่ทันสมัยขึ้น


ภรรยาคนแรกของเติ้งเป็นเพื่อนร่วมชั้นจากมอสโก เสียชีวิตด้วยวัย 24 ปี เพียงไม่กี่วันหลังจากคลอดบุตรสาวคนแรก ซึ่งก็ได้เสียชีวิตลงด้วยเช่นกัน ภรรยาคนที่สองคือ จิน เหวย์อิ้ง ได้แยกทางกับเติ้งหลังจากที่เขาถูกโจมตีทางการเมืองในปี ค.ศ. 1933 ภรรยาคนที่สามของเขาคือ [[จัว หลิน]] บุตรสาวของนักอุตสาหกรรมใน[[มณฑลยูนนาน]] นางได้เข้าเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ในปี ค.ศ. 1938 และได้สมรสกับเติ้งในปีต่อมา ณ บริเวณหน้าถ้ำที่พักอาศัยของเหมาในเมือง[[เหยียนอาน]] ทั้งสองมีบุตรด้วยกัน 5 คน ได้แก่ บุตรสาว 3 คนคือ เติ้ง หลิน [[เติ้ง หนาน]] และเติ้ง หรง และบุตรชาย 2 คนคือ [[เติ้ง ผู่ฟาง]] และเติ้ง จื่อฟาง เติ้งเลิกสูบบุหรี่เมื่ออายุ 86 ปี<ref name="UPI 1991 e838">{{cite web | title=Deng Xiaoping quits smoking | website=UPI | date=1 Apr 1991 | url=https://www.upi.com/amp/Archives/1991/04/01/Deng-Xiaoping-quits-smoking/6011670482000/ | access-date=23 Oct 2023}}</ref>
ภรรยาคนแรกของเติ้งเป็นเพื่อนร่วมชั้นจากมอสโก เสียชีวิตด้วยวัย 24 ปี เพียงไม่กี่วันหลังคลอดบุตรสาวคนแรกซึ่งก็เสียชีวิตลงด้วยเช่นกัน ภรรยาคนที่สองคือจิน เหวย์อิ้ง ได้แยกทางกับเติ้งหลังจากที่เขาถูกโจมตีทางการเมืองใน ค.ศ. 1933 ภรรยาคนที่สามของเขาคือ[[จัว หลิน]] บุตรสาวของนักอุตสาหกรรมใน[[มณฑลยูนนาน]] เธอเข้าเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ใน ค.ศ. 1938 และได้แต่งงานกับเติ้งในปีต่อมา ณ บริเวณหน้าถ้ำที่พักอาศัยของเหมาใน[[เหยียนอาน]] ทั้งสองมีบุตรด้วยกัน 5 คน ได้แก่ บุตรสาว 3 คนคือ เติ้ง หลิน [[เติ้ง หนาน]] และเติ้ง หรง และบุตรชาย 2 คนคือ [[เติ้ง ผู่ฟาง]] และเติ้ง จื่อฟาง เติ้งเลิกสูบบุหรี่เมื่ออายุ 86 ปี<ref name="UPI 1991 e838">{{cite web | title=Deng Xiaoping quits smoking | website=UPI | date=1 Apr 1991 | url=https://www.upi.com/amp/Archives/1991/04/01/Deng-Xiaoping-quits-smoking/6011670482000/ | access-date=23 Oct 2023}}</ref>


=== การศึกษาและอาชีพช่วงต้น ===
=== การศึกษาและอาชีพช่วงต้น ===
[[File:Deng xxixian.jpg|thumb|upright|left|บัตรประจำตัวพนักงานของโรงงานผลิตรองเท้า[[ฮัตชินสัน]] ในเมือง[[ชาเล็ต-ซูร์-ล็วง]] ประเทศฝรั่งเศสระบุชื่อของเติ้งว่า "เติ้ง ซี เซี่ยน" ซึ่งเป็นชื่อที่เขาทำงานด้วยในระหว่างที่ทำงาน ณ โรงงานแห่งนี้เป็นเวลา 8 เดือนในปี ค.ศ. 1922 และอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1923 แต่ถูกเลิกจ้างหลังจากทำงานได้เพียงหนึ่งเดือน โดยมีข้อความระบุเหตุผลการเลิกจ้างไว้ว่า "ปฏิเสธที่จะทำงาน ห้ามรับกลับเข้าทำงาน"]]
[[File:Deng xxixian.jpg|thumb|upright|left|บัตรประจำตัวพนักงานของโรงงานผลิตรองเท้า[[ฮัตชินสัน]] ใน[[ชาเล็ต-ซูร์-ล็วง]] ประเทศฝรั่งเศสระบุชื่อของเติ้งว่า "เติ้ง ซีเซี่ยน" ซึ่งเป็นชื่อที่เขาทำงานด้วยในระหว่างที่ทำงาน ณ โรงงานแห่งนี้เป็นเวลา 8 เดือนใน ค.ศ. 1922 และอีกครั้งหนึ่งใน ค.ศ. 1923 แต่ถูกเลิกจ้างหลังทำงานได้เพียงหนึ่งเดือน โดยมีข้อความระบุเหตุผลการเลิกจ้างไว้ว่า "ปฏิเสธที่จะทำงาน ห้ามรับกลับเข้าทำงาน"]]
เมื่อเติ้งเข้าศึกษาเล่าเรียนเป็นครั้งแรก ครูผู้สอนได้คัดค้านชื่อที่ได้รับมาเดิมคือ "เซียนเชิ่ง" (先圣) และเรียกเขาว่า "ซีเซี่ยน" (希贤) ซึ่งประกอบด้วยอักษรจีนที่มีความหมายถึง "การปรารถนา" และ "ความดี" แฝงไว้ด้วยความหมายที่สื่อถึงความฉลาด<ref>{{Cite book |last=Evans |first=Richard |title=Deng Xiaoping and the Making of Modern China |title-link=Deng Xiaoping and the Making of Modern China |date=1995 |publisher=Penguin |isbn=978-0-14-013945-7 |edition=2 |page=[https://archive.org/details/dengxiaopingmak00evan/page/5 5]}}</ref><ref>{{Cite book |last=Xia |first=Zhengnong |publisher=Shanghai Dictionary Publishing House |year=2003 |isbn=9787532612369 |volume={{lang|zh-hant|哲學卷}} |location=Shanghai |page=38 |script-title=zh:大辭海}}</ref>
เมื่อเติ้งเข้าศึกษาเป็นครั้งแรก ครูผู้สอนได้คัดค้านชื่อที่ได้รับมาแต่เดิมคือ "เซียนเชิ่ง" (先圣) และเรียกเขาว่า "ซีเซี่ยน" (希贤) ที่ประกอบด้วยอักษรจีนที่มีความหมายถึง "การปรารถนา" และ "ความดี" แฝงไว้ด้วยความหมายที่สื่อถึงความฉลาด<ref>{{Cite book |last=Evans |first=Richard |title=Deng Xiaoping and the Making of Modern China |title-link=Deng Xiaoping and the Making of Modern China |date=1995 |publisher=Penguin |isbn=978-0-14-013945-7 |edition=2 |page=[https://archive.org/details/dengxiaopingmak00evan/page/5 5]}}</ref><ref>{{Cite book |last=Xia |first=Zhengnong |publisher=Shanghai Dictionary Publishing House |year=2003 |isbn=9787532612369 |volume={{lang|zh-hant|哲學卷}} |location=Shanghai |page=38 |script-title=zh:大辭海}}</ref>


ในฤดูร้อน ค.ศ 1919 เติ้งได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียน[[ฉงชิ่ง]] เขาและเพื่อนร่วมชั้นอีก 80 คนได้เดินทางโดยเรือ[[ชั้นสาม]]ไปยังประเทศฝรั่งเศส เพื่อเข้าร่วมโครงการ "[[โครงการขยันทำงาน อดออมศึกษา|ขยันทำงาน อดออมศึกษา]]" (Diligent Work-Frugal Study Movement), ซึ่งเป็นโครงการการศึกษาควบคู่กับการทำงาน<ref name=":10">{{Cite book |last1=Marquis |first1=Christopher |title=Mao and Markets: The Communist Roots of Chinese Enterprise |last2=Qiao |first2=Kunyuan |date=2022 |publisher=[[Yale University Press]] |isbn=978-0-300-26883-6 |location=New Haven |doi=10.2307/j.ctv3006z6k |jstor=j.ctv3006z6k |oclc=1348572572 |author-link=Christopher Marquis |s2cid=253067190}}</ref>{{Rp|page=37}} โดยมีชาวจีนจำนวน 4,001 คน เข้าร่วมโครงการนี้ภายในปี ค.ศ. 1927 เติ้งเป็นสมาชิกที่อายุน้อยที่สุดในกลุ่มนักเรียนชาวจีน เพิ่งมีอายุครบ 15 ปี<ref>Spence, Jonathan (1999), "In Search of Modern China", 310</ref> อู๋ ยฺวี่จาง ผู้นำท้องถิ่นของโครงการในฉงชิ่ง ได้รับสมัครเติ้งและเติ้ง เช่าเชิ่ง ลุงฝ่ายบิดาของเติ้งเข้าร่วมโครงการ บิดาของเติ้งให้การสนับสนุนการเข้าร่วมโครงการศึกษาและทำงานในต่างประเทศของบุตรชายอย่างเต็มที่{{sfnb|Vogel|2011| p= 18–20}} ในคืนก่อนวันเดินทางไปฝรั่งเศส บิดาของเติ้งได้เรียกบุตรชายมาพูดคุยเป็นการส่วนตัว และได้สอบถามถึงความคาดหวังที่บุตรชายมีต่อการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส เขาได้กล่าวคำที่ได้เรียนรู้มาจากครูของเขาว่า "การศึกษาหาความรู้และสัจธรรมจากตะวันตกเพื่อนำมาใช้ในการกอบกู้ประเทศจีน" เติ้งตระหนักดีว่าประเทศจีนกำลังประสบความทุกข์ยากอย่างมาก และประชาชนชาวจีนจำเป็นต้องได้รับการศึกษาสมัยใหม่จึงจะสามารถช่วยเหลือประเทศของตนได้<ref>{{Cite book |last=Stewart |first=Whitney |title=Deng Xiaoping: Leader in a Changing China |url=https://archive.org/details/dengxiaopinglead0000stew |date=2001 |publisher=Twenty-First Century Books |isbn=9780822549628 |page=[https://archive.org/details/dengxiaopinglead0000stew/page/n26 23]}}</ref>
ในฤดูร้อน ค.ศ 1919 เติ้งสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียน[[ฉงชิ่ง]] เขาและเพื่อนร่วมชั้นอีก 80 คนได้เดินทางโดยเรือ[[ชั้นสาม]]ไปยังประเทศฝรั่งเศส เพื่อเข้าร่วมโครงการ "[[โครงการขยันทำงาน อดออมศึกษา|ขยันทำงาน อดออมศึกษา]]" (Diligent Work-Frugal Study Movement), ซึ่งเป็นโครงการการศึกษาควบคู่กับการทำงาน<ref name=":10">{{Cite book |last1=Marquis |first1=Christopher |title=Mao and Markets: The Communist Roots of Chinese Enterprise |last2=Qiao |first2=Kunyuan |date=2022 |publisher=[[Yale University Press]] |isbn=978-0-300-26883-6 |location=New Haven |doi=10.2307/j.ctv3006z6k |jstor=j.ctv3006z6k |oclc=1348572572 |author-link=Christopher Marquis |s2cid=253067190}}</ref>{{Rp|page=37}} โดยมีชาวจีนจำนวน 4,001 คนเข้าร่วมโครงการนี้ภายใน ค.ศ. 1927 เติ้งเป็นสมาชิกที่อายุน้อยที่สุดในกลุ่มนักเรียนชาวจีน เพิ่งมีอายุครบ 15 ปี<ref>Spence, Jonathan (1999), "In Search of Modern China", 310</ref> อู๋ ยฺวี่จาง ผู้นำท้องถิ่นของโครงการในฉงชิ่ง ได้รับสมัครเติ้งและเติ้ง เช่าเชิ่ง ลุงฝ่ายบิดาของเติ้งเข้าร่วมโครงการ บิดาของเติ้งให้การสนับสนุนการเข้าร่วมโครงการศึกษาและทำงานในต่างประเทศของบุตรชายอย่างเต็มที่{{sfnb|Vogel|2011| p= 18–20}} ในคืนก่อนวันเดินทางไปฝรั่งเศส บิดาของเติ้งได้เรียกบุตรชายมาพูดคุยเป็นการส่วนตัว และได้สอบถามถึงความคาดหวังที่บุตรชายมีต่อการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส เขาได้กล่าวคำที่ได้เรียนรู้มาจากครูของเขาว่า "การศึกษาหาความรู้และสัจธรรมจากตะวันตกเพื่อนำมาใช้ในการกอบกู้ประเทศจีน" เติ้งตระหนักดีว่าประเทศจีนกำลังประสบความทุกข์ยากอย่างมาก และประชาชนชาวจีนจำเป็นต้องได้รับการศึกษาสมัยใหม่จึงจะสามารถช่วยเหลือประเทศของตนได้<ref>{{Cite book |last=Stewart |first=Whitney |title=Deng Xiaoping: Leader in a Changing China |url=https://archive.org/details/dengxiaopinglead0000stew |date=2001 |publisher=Twenty-First Century Books |isbn=9780822549628 |page=[https://archive.org/details/dengxiaopinglead0000stew/page/n26 23]}}</ref>


วันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1920 เรือโดยสารฝรั่งเศสชื่ออังเดร เลอบง (''André Lebon'') ได้แล่นเข้าสู่ท่าเรือ[[มาร์แซย์|มาร์เซย์]]พร้อมกับนักศึกษาชาวจีน 210 คนบนเรือ รวมทั้งเติ้งด้วย เติ้งในวัย 16 ปีได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมศึกษาในเมือง[[บาเยอ]]และ[[ชาตีญง]]เป็นระยะเวลาสั้น ๆ แต่เขาใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในฝรั่งเศสเพื่อทำงาน รวมถึงที่โรงงานรถยนต์[[เรอโน]] และเป็นช่างประกอบที่โรงงานเหล็กและเหล็กกล้า[[เลอครูโซต์]] ในเมือง[[ลาแกเรน-โกลอมบ์|ลาแกเรน-โคลอมบ์]] ซึ่งเป็นย่านชานเมืองทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงปารีส ที่ซึ่งเขาได้ย้ายไปอาศัยอยู่ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1921<ref>{{Cite book |last=Mair |first=Victor H. |title=Chinese Lives: The people who made a civilization |url=https://archive.org/details/chineselivespeop0000mair |date=2013 |publisher=Thames & Hudson |isbn=9780500251928 |location=London |page=[https://archive.org/details/chineselivespeop0000mair/page/n218 215]}}</ref> บังเอิญว่าเมื่อสถานการณ์ทางการเมืองของเติ้งย่ำแย่ลงในช่วงหลัง และถูกส่งไปทำงานในโรงงานผลิตรถแทรกเตอร์ในปี ค.ศ. 1969 ระหว่างการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาก็ได้กลับมาปฏิบัติงานในฐานะช่างประกอบอีกครั้ง และได้แสดงให้เห็นว่าเขายังคงเชี่ยวชาญในทักษะดังกล่าว<ref name="sacu.org">[http://www.sacu.org/dengfrance.html] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20101127081058/http://sacu.org/dengfrance.html|date=27 November 2010}}, Wang Song. "Chinese Revolutionaries in France".</ref>
วันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1920 เรือโดยสารฝรั่งเศสชื่ออังเดร เลอบง (''André Lebon'') ได้แล่นเข้าสู่ท่าเรือ[[มาร์แซย์|มาร์เซย์]]พร้อมกับนักศึกษาชาวจีน 210 คนบนเรือรวมทั้งเติ้งด้วย เติ้งในวัย 16 ปีได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมศึกษาใน[[บาเยอ]]และ[[ชาตีญง]]เป็นเวลาสั้น ๆ แต่เขาใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในฝรั่งเศสเพื่อทำงาน รวมถึงที่โรงงานรถยนต์[[เรอโน]] และเป็นช่างประกอบที่โรงงานเหล็กและเหล็กกล้า[[เลอครูโซต์]] ใน[[ลาแกเรน-โกลอมบ์|ลาแกเรน-โคลอมบ์]] ย่านชานเมืองทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงปารีส ที่ซึ่งเขาย้ายไปอาศัยอยู่ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1921<ref>{{Cite book |last=Mair |first=Victor H. |title=Chinese Lives: The people who made a civilization |url=https://archive.org/details/chineselivespeop0000mair |date=2013 |publisher=Thames & Hudson |isbn=9780500251928 |location=London |page=[https://archive.org/details/chineselivespeop0000mair/page/n218 215]}}</ref> บังเอิญว่าเมื่อสถานการณ์ทางการเมืองของเติ้งย่ำแย่ลงในช่วงหลัง และถูกส่งไปทำงานในโรงงานผลิตรถแทรกเตอร์ใน ค.ศ. 1969 ระหว่างการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาก็ได้กลับมาปฏิบัติงานในฐานะช่างประกอบอีกครั้งและแสดงให้เห็นว่าเขายังคงเชี่ยวชาญในทักษะดังกล่าว<ref name="sacu.org">[http://www.sacu.org/dengfrance.html] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20101127081058/http://sacu.org/dengfrance.html|date=27 November 2010}}, Wang Song. "Chinese Revolutionaries in France".</ref>


ณ เมืองลาแกเรน-โกลอมบ์ เติ้งได้พบกับผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนในอนาคต ได้แก่ [[โจว เอินไหล]] [[เฉิน อี้ (จอมพล)|เฉิน อี้]] [[เนี่ย หรงเจิน]] [[หลี่ ฟู่ชุน]] [[หลี่ ลี่ซาน]] และ[[หลี่ เหวย์ฮั่น]]<ref>{{Cite journal |last=Bailey |first=Paul |year=1988 |title=The Chinese Work-Study Movement in France |url=https://www.jstor.org/stable/654865 |url-status=live |journal=The China Quarterly |volume=115 |issue=115 |pages=441–461 |doi=10.1017/S030574100002751X |jstor=654865 |s2cid=154375449 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210413085436/https://www.jstor.org/stable/654865 |archive-date=13 April 2021 |access-date=19 February 2021|url-access=subscription }}</ref> ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1923 เขาได้เข้าร่วมสันนิบาตเยาวชนคอมมิวนิสต์จีนในยุโรป{{sfnb|Pantsov|2015| p= 450}} ในช่วงครึ่งหลังของปี ค.ศ. 1924 เขาได้เข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีน และดำรงตำแหน่งหนึ่งในสมาชิกชั้นนำของสาขาใหญ่ของสันนิบาตเยาวชนในยุโรป ในปี ค.ศ. 1924 เติ้งได้เดินทางไปยัง[[สหภาพโซเวียต]]และศึกษาต่อ ณ [[มหาวิทยาลัยซุนยัตเซ็น มอสโก]] ซึ่งมีเพื่อนร่วมชั้นคนหนึ่งคือ [[เจี่ยง จิงกั๋ว]] บุตรชายของ[[เจียง ไคเชก]]<ref>{{Cite magazine |date=22 March 2002 |title=Exiled son who saved the state |url=http://www.timeshighereducation.co.uk/story.asp?storyCode=167965&sectioncode=22 |url-status=live |magazine=[[Times Higher Education]] |archive-url=https://web.archive.org/web/20121201132001/http://www.timeshighereducation.co.uk/story.asp?storyCode=167965&sectioncode=22 |archive-date=1 December 2012 |access-date=2 December 2010}}</ref>
ที่ลาแกเรน-โกลอมบ์ เติ้งพบกับผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนในอนาคต ได้แก่ [[โจว เอินไหล]] [[เฉิน อี้ (จอมพล)|เฉิน อี้]] [[เนี่ย หรงเจิน]] [[หลี่ ฟู่ชุน]] [[หลี่ ลี่ซาน]] และ[[หลี่ เหวย์ฮั่น]]<ref>{{Cite journal |last=Bailey |first=Paul |year=1988 |title=The Chinese Work-Study Movement in France |url=https://www.jstor.org/stable/654865 |url-status=live |journal=The China Quarterly |volume=115 |issue=115 |pages=441–461 |doi=10.1017/S030574100002751X |jstor=654865 |s2cid=154375449 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210413085436/https://www.jstor.org/stable/654865 |archive-date=13 April 2021 |access-date=19 February 2021|url-access=subscription }}</ref> ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1923 เขาเข้าร่วมสันนิบาตเยาวชนคอมมิวนิสต์จีนในยุโรป{{sfnb|Pantsov|2015| p= 450}} ในช่วงครึ่งหลังของ ค.ศ. 1924 เขาเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีน และดำรงตำแหน่งหนึ่งในสมาชิกชั้นนำของสาขาใหญ่ของสันนิบาตเยาวชนในยุโรป ใน ค.ศ. 1924 เติ้งเดินทางไปยัง[[สหภาพโซเวียต]]และศึกษาต่อ ณ [[มหาวิทยาลัยซุนยัตเซ็น มอสโก]] ซึ่งมีเพื่อนร่วมชั้นคนหนึ่งคือ[[เจี่ยง จิงกั๋ว]] บุตรชายของ[[เจียง ไคเชก]]<ref>{{Cite magazine |date=22 March 2002 |title=Exiled son who saved the state |url=http://www.timeshighereducation.co.uk/story.asp?storyCode=167965&sectioncode=22 |url-status=live |magazine=[[Times Higher Education]] |archive-url=https://web.archive.org/web/20121201132001/http://www.timeshighereducation.co.uk/story.asp?storyCode=167965&sectioncode=22 |archive-date=1 December 2012 |access-date=2 December 2010}}</ref>


=== กลับประเทศจีน ===
=== กลับประเทศจีน ===
ปลายปี ค.ศ. 1927 เติ้งได้เดินทางกลับจากกรุงมอสโกมายังประเทศจีน และได้เข้าร่วมกองทัพของ[[เฝิง ยฺวี่เสียง]] ผู้นำทางทหารในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน ผู้ซึ่งได้ขอความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตในการต่อสู้กับผู้นำท้องถิ่นคนอื่น ๆ ในภูมิภาค ในช่วงเวลานั้น สหภาพโซเวียตได้สนับสนุนการเป็นพันธมิตรระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กับพรรคก๊กมินตั๋ง ซึ่งเป็นพรรคชาตินิยมที่ก่อตั้งโดย[[ซุน ยัตเซ็น|ซุน ยัตเซน]]ผ่าน[[องค์การคอมมิวนิสต์สากล]] ซึ่งเป็นองค์การระหว่างประเทศที่ให้การสนับสนุนขบวนการคอมมิวนิสต์ทั่วโลก
ปลาย ค.ศ. 1927 เติ้งเดินทางกลับจากกรุงมอสโกมายังประเทศจีนและเข้าร่วมกองทัพของ[[เฝิง ยฺวี่เสียง]] ผู้นำทหารในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ผู้ซึ่งขอความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตในการต่อสู้กับผู้นำท้องถิ่นคนอื่น ๆ ในภูมิภาค ในช่วงเวลานั้น สหภาพโซเวียตได้สนับสนุนการเป็นพันธมิตรระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กับก๊กมินตั๋ง พรรคชาตินิยมที่ก่อตั้งโดย[[ซุน ยัตเซ็น|ซุน ยัตเซน]]ผ่าน[[องค์การคอมมิวนิสต์สากล]] องค์การระหว่างประเทศที่ให้การสนับสนุนขบวนการคอมมิวนิสต์ทั่วโลก


เขาได้เดินทางมาถึงเมือง[[ซีอาน]] ซึ่งเป็นฐานที่มั่นของเฝิงในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1927 เขาเป็นส่วนหนึ่งของ[[กลุ่มเฟิ่งเทียน]]ที่พยายามยับยั้งการแตกแยกพันธมิตรระหว่างพรรคก๊กมินตั๋งและคอมมิวนิสต์ การแตกแยกครั้งนี้เกิดขึ้นส่วนหนึ่งจากการที่เจียง ไคเชกบังคับให้พวกเขาอพยพออกจากพื้นที่ที่พรรคก๊กมินตั๋งควบคุม ภายหลังการแตกแยกของพันธมิตรระหว่างคอมมิวนิสต์และชาตินิยม เฝิงก็ได้เข้าร่วมกับเจียง ไคเชก ทำให้คอมมิวนิสต์ที่เข้าร่วมกองทัพขอเฝิง อาทิ เติ้ง เสี่ยวผิง ถูกบังคับให้หลบหนี{{citation needed|date=May 2023}}
เขาเดินทางมาถึง[[ซีอาน]] ฐานที่มั่นของเฝิงในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1927 เขาเป็นส่วนหนึ่งของ[[กลุ่มเฟิ่งเทียน]]ที่พยายามยับยั้งการแตกแยกพันธมิตรระหว่างก๊กมินตั๋งและคอมมิวนิสต์ การแตกแยกครั้งนี้เกิดขึ้นส่วนหนึ่งจากการที่เจียง ไคเชกบังคับให้พวกเขาอพยพออกจากพื้นที่ที่ก๊กมินตั๋งควบคุม ภายหลังการแตกแยกของพันธมิตรระหว่างคอมมิวนิสต์และชาตินิยม เฝิงก็ได้เข้าร่วมกับเจียง ไคเชก ทำให้คอมมิวนิสต์ที่เข้าร่วมกองทัพขอเฝิงรวมถึงเติ้งถูกบังคับให้หลบหนี{{citation needed|date=May 2023}}


== การเติบโตทางการเมือง ==
== การเติบโตทางการเมือง ==
แม้ว่าเติ้งจะเข้าร่วมขบวนการปฏิวัติมาร์กซิสต์ในประเทศจีน แต่เกา มั่วปัว นักประวัติศาสตร์ได้โต้แย้งว่า "เติ้ง เสี่ยวผิง และบุคคลอื่น ๆ ที่มีความคิดเห็นคล้ายคลึงกันในพรรคคอมมิวนิสต์จีนนั้นไม่ได้เป็นมาร์กซิสต์อย่างแท้จริง แต่เป็น[[นักชาตินิยมปฏิวัติ]]ที่ต้องการเห็นจีนยืนหยัดอย่างทัดเทียมกับมหาอำนาจโลก พวกเขาเป็นนักชาตินิยมเป็นหลัก และเข้าร่วมการปฏิวัติคอมมิวนิสต์เพราะเห็นว่าเป็นเส้นทางเดียวที่เป็นไปได้ในการบรรลุอุดมการณ์[[ชาตินิยมจีน]]"<ref>[[#Gao08|Gao 2008]]</ref>
แม้เติ้งจะเข้าร่วมขบวนการปฏิวัติมาร์กซิสต์ในจีน แต่เกา มั่วปัว นักประวัติศาสตร์ได้โต้แย้งว่า "เติ้ง เสี่ยวผิง และบุคคลอื่น ๆ ที่มีความเห็นคล้ายกันในพรรคคอมมิวนิสต์จีนนั้นไม่ได้เป็นมาร์กซิสต์อย่างแท้จริง แต่เป็น[[นักชาตินิยมปฏิวัติ]]ที่ต้องการเห็นจีนยืนหยัดอย่างทัดเทียมกับมหาอำนาจโลก พวกเขาเป็นนักชาตินิยมเป็นหลัก และเข้าร่วมการปฏิวัติคอมมิวนิสต์เพราะเห็นว่าเป็นเส้นทางเดียวที่เป็นไปได้ในการบรรลุอุดมการณ์[[ชาตินิยมจีน]]"<ref>[[#Gao08|Gao 2008]]</ref>


=== การเคลื่อนไหวในเซี่ยงไฮ้และอู่ฮั่น ===
=== การเคลื่อนไหวในเซี่ยงไฮ้และอู่ฮั่น ===
ภายหลังจากการออกจากกองทัพของเฝิง ยฺวี่เสียงในภาคตะวันตกเฉียงเหนือแล้ว เติ้งได้เดินทางมายังเมือง[[อู่ฮั่น]] ซึ่งในขณะนั้นเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของพรรคคอมมิวนิสต์ ในช่วงเวลานั้นเขาได้เริ่มใช้ชื่อเล่นว่า "เสี่ยวผิง" และดำรงตำแหน่งสำคัญในพรรค เขาได้เข้าร่วมการประชุมฉุกเฉินครั้งประวัติศาสตร์ในวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ซึ่งตามคำสั่งของโซเวียต พรรคได้ปลด[[เฉิน ตู๋ซิ่ว]] ผู้ก่อตั้งพรรคออก และ[[ฉิว ชฺวีไป๋]] ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่ง[[เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน|เลขาธิการ]] ณ เมืองอู่ฮั่น เติ้งได้พบปะและสร้างความสัมพันธ์กับ[[เหมา เจ๋อตง]]เป็นครั้งแรก ซึ่งในตอนนั้นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์สายแข็งที่สนับสนุนโซเวียตยังไม่เห็นคุณค่าของเขามากนัก
ภายหลังการออกจากกองทัพของเฝิง ยฺวี่เสียงในภาคตะวันตกเฉียงเหนือแล้ว เติ้งเดินทางมายัง[[อู่ฮั่น]] ซึ่งในขณะนั้นเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของพรรคคอมมิวนิสต์ ในช่วงเวลานั้นเขาได้เริ่มใช้ชื่อเล่นว่า "เสี่ยวผิง" และดำรงตำแหน่งสำคัญในพรรค เขาเข้าร่วมการประชุมฉุกเฉินครั้งประวัติศาสตร์ในวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ซึ่งตามคำสั่งของโซเวียต พรรคได้ปลด[[เฉิน ตู๋ซิ่ว]] ผู้ก่อตั้งพรรคออก และ[[ฉิว ชฺวีไป๋]] ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่ง[[เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน|เลขาธิการ]] ที่อู่ฮั่น เติ้งได้พบปะและสร้างความสัมพันธ์กับ[[เหมา เจ๋อตง]]เป็นครั้งแรก ผู้ซึ่งในตอนนั้นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์สายแข็งที่สนับสนุนโซเวียตยังไม่เห็นค่าของเขามากนัก


ระหว่างปี ค.ศ. 1927 ถึง 1929 เติ้งอาศัยอยู่ในเซี่ยงไฮ้ และได้มีส่วนร่วมในการจัดการประท้วง ซึ่งต่อมาได้เผชิญกับการปราบปรามอย่างรุนแรงจากรัฐบาล[[ก๊กมินตั๋ง|พรรคก๊กมินตั๋ง]] การเสียชีวิตของนักปฏิวัติคอมมิวนิสต์จำนวนมากในช่วงปีเหล่านั้นส่งผลให้จำนวนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ลดลง ซึ่งเปิดโอกาสให้เติ้งสามารถเลื่อนตำแหน่งขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ในช่วงนี้ที่เซี่ยงไฮ้ เติ้งได้แต่งงานกับนางจาง ซี-ยฺเวี่ยน หญิงสาวที่ได้พบกันในกรุงมอสโก
ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง 1929 เติ้งอาศัยอยู่ในเซี่ยงไฮ้ และมีส่วนร่วมในการจัดการประท้วง ซึ่งต่อมาได้เผชิญกับการปราบปรามอย่างรุนแรงจากรัฐบาล[[ก๊กมินตั๋ง]] การเสียชีวิตของนักปฏิวัติคอมมิวนิสต์จำนวนมากในช่วงปีเหล่านั้นส่งผลให้จำนวนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ลดลง เปิดโอกาสให้เติ้งสามารถเลื่อนตำแหน่งขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ในช่วงนี้ที่เซี่ยงไฮ้ เติ้งได้แต่งงานกับนางจาง ซี-ยฺเวี่ยน หญิงสาวที่ได้พบกันในกรุงมอสโก


=== การทัพในกว่างซี ===
=== การทัพในกว่างซี ===
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1929 ถึง 1931 เติ้งได้ดำรงตำแหน่งผู้แทนสูงสุดของคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนประจำมณฑลกว่างซี โดยมีบทบาทสำคัญในการช่วยนำ[[การก่การกำเริบไป่เซ่อ|การก่อการกำเริบไป่เซ่อ]]และ[[การก่อกานกำเริบหลงโจว|หลงโจว]] ทั้งในช่วงเหตุการณ์และภายหลัง การนำของเติ้งในช่วงการก่อกำเริบได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก เขาเดินตาม "แนวทางหลี่ ลี่ซาน" ที่เรียกร้องให้มีการโจมตีเมืองอย่างรุนแรง ในทางปฏิบัติ นั่นหมายความว่าโซเวียตชนบทในกว่างซีถูกทอดทิ้ง และกองทัพแดงที่เจ็ดภายใต้การนำทางการเมืองของเติ้งได้ต่อสู้และพ่ายแพ้ในสงครามนองเลือดหลายครั้ง{{sfn|Yang|1997|pp=66-67}} ในที่สุด เติ้งและผู้นำคอมมิวนิสต์คนอื่น ๆ ในมณฑลกว่างซีก็ตัดสินใจถอยทัพไปยังมณฑลเจียงซีเพื่อรวมกำลังกับเหมา เจ๋อตง อย่างไรก็ดี หลังจากการเดินทัพอันแสนยาวนานผ่านภูมิประเทศที่ขรุขระ เติ้งได้ปล่อยให้กองทัพให้อยู่ในภาวะไร้ผู้นำโดยพลการ{{sfn|Franz|1988|pp=86-87}} ในการประชุมวิเคราะห์หลังเหตุการณ์ของคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนในปี ค.ศ. 1934 ได้มีการระบุพฤติกรรมของเติ้งว่าเป็นตัวอย่างของ "ลัทธิโอกาสนิยมขวา และแนวทางของชาวนาผู้มั่งคั่ง"{{sfn|Yang|1997|pp=66-67}} ในปี ค.ศ. 1945 อดีตผู้บัญชาการหลายนายของกองทัพแดงที่เจ็ดได้ออกมาพูดต่อต้านการกระทำของเติ้งในช่วงการก่อกำเริบ แม้ว่าเหมา เจ๋อตงจะให้การปกป้องเติ้งจากผลกระทบร้ายแรงใด ๆ ก็ตาม{{sfn|Goodman|1994|p=34}} ในช่วง[[การปฏิวัติทางวัฒนธรรม]] กลุ่ม[[ยุวชนแดง]]ได้รับทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์การก่อกำเริบไป่เซ่อ และกล่าวหาเติ้งว่าหนีทัพ{{sfn|Franz|1988|p=87}} เติ้งยอมรับว่าการหนีทัพเป็นหนึ่งใน "ความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดในชีวิตของตน" และ "แม้ว่าพรรคจะอนุญาตให้กระทำเช่นนี้ แต่ก็ถือเป็นสิ่งที่ผิดทางการเมืองอย่างร้ายแรง{{sfn|Deng|1968}} นักประวัติศาสตร์และนักเขียนชีวประวัติสมัยใหม่ต่างเห็นพ้องกัน อูลี ฟรานซ์ ได้เรียกการหนีจากกองทัพว่าเป็น "ความผิดพลาดร้ายแรง"{{sfn|Franz|1988|p=87}} เบนจามิน หยาง กล่าวว่าช่วงเวลานั้นเป็น "ความล้มเหลวอันน่าเศร้าและช่วงเวลาอันมืดมนในชีวิตทางการเมืองของเติ้ง"{{sfn|Yang|1997|p=70}} อีกด้านหนึ่ง ไดอานา แลรี มองว่าความล้มเหลวในการรับมือภัยพิบัติครั้งนี้เกิดจาก "ความไร้ประสิทธิภาพ" ของทั้งผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน
ตั้งแต่ ค.ศ. 1929 ถึง 1931 เติ้งดำรงตำแหน่งผู้แทนสูงสุดของคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนประจำมณฑลกว่างซี โดยมีบทบาทสำคัญในการช่วยนำ[[การก่อการกำเริบไป่เซ่อ|การก่อการกำเริบไป่เซ่อ]]และ[[การก่อการกำเริบหลงโจว|หลงโจว]] ทั้งในช่วงเหตุการณ์และภายหลัง การนำของเติ้งในช่วงการก่อกำเริบได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก เขาเดินตาม "แนวทางหลี่ ลี่ซาน" ที่เรียกร้องให้มีการโจมตีเมืองอย่างรุนแรง ในทางปฏิบัติ นั่นหมายความว่าโซเวียตชนบทในกว่างซีถูกทอดทิ้ง และกองทัพแดงที่เจ็ดภายใต้การนำทางการเมืองของเติ้งได้ต่อสู้และพ่ายแพ้ในสงครามนองเลือดหลายครั้ง{{sfn|Yang|1997|pp=66-67}} ในที่สุด เติ้งและผู้นำคอมมิวนิสต์คนอื่น ๆ ในมณฑลกว่างซีก็ตัดสินใจถอยทัพไปยังมณฑลเจียงซีเพื่อรวมกำลังกับเหมา อย่างไรก็ดี หลังการเดินทัพอันแสนยาวนานผ่านภูมิประเทศที่ขรุขระ เติ้งได้ปล่อยให้กองทัพให้อยู่ในภาวะไร้ผู้นำโดยพลการ{{sfn|Franz|1988|pp=86-87}} ในการประชุมวิเคราะห์หลังเหตุการณ์ของคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนใน ค.ศ. 1934 ได้มีการระบุพฤติกรรมของเติ้งว่าเป็นตัวอย่างของ "ลัทธิโอกาสนิยมขวา และแนวทางของชาวนาผู้มั่งคั่ง"{{sfn|Yang|1997|pp=66-67}} ใน ค.ศ. 1945 อดีตผู้บัญชาการหลายนายของกองทัพแดงที่เจ็ดได้ออกมาพูดต่อต้านการกระทำของเติ้งในช่วงการก่อกำเริบ แม้ว่าเหมาจะให้การปกป้องเติ้งจากผลกระทบร้ายแรงใด ๆ ก็ตาม{{sfn|Goodman|1994|p=34}} ในช่วง[[การปฏิวัติทางวัฒนธรรม]] กลุ่ม[[ยุวชนแดง]]ได้รับทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์การก่อกำเริบไป่เซ่อ และกล่าวหาเติ้งว่าหนีทัพ{{sfn|Franz|1988|p=87}} เติ้งยอมรับว่าการหนีทัพเป็นหนึ่งใน "ความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดในชีวิตของตน" และ "แม้ว่าพรรคจะอนุญาตให้กระทำเช่นนี้ แต่ก็ถือเป็นสิ่งที่ผิดทางการเมืองอย่างร้ายแรง{{sfn|Deng|1968}} นักประวัติศาสตร์และนักเขียนชีวประวัติสมัยใหม่ต่างเห็นพ้องกัน อูลี ฟรานซ์ ได้เรียกการหนีจากกองทัพว่าเป็น "ความผิดพลาดร้ายแรง"{{sfn|Franz|1988|p=87}} เบนจามิน หยาง กล่าวว่าช่วงเวลานั้นเป็น "ความล้มเหลวอันน่าเศร้าและช่วงเวลาอันมืดมนในชีวิตทางการเมืองของเติ้ง"{{sfn|Yang|1997|p=70}} อีกด้านหนึ่ง ไดอานา แลรี มองว่าความล้มเหลวในการรับมือภัยพิบัติครั้งนี้เกิดจาก "ความไร้ประสิทธิภาพ" ของทั้งผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน


=== โซเวียตเจียงซี ===
=== โซเวียตเจียงซี ===
การปราบปรามคอมมิวนิสต์ในเมืองต่าง ๆ นับเป็นอุปสรรคสำคัญของพรรค และเป็นการสกัดกั้นความหวังของที่ปรึกษาของโซเวียตแห่งองค์การคอมมิวนิสต์สากล ที่เห็นว่าการระดมกำลังชนชั้นกรรมมาชีพในเมืองคือพลังขับเคลื่อนสำคัญในการเผยแผ่ลัทธิคอมมิวนิสต์ ตรงข้ามกับวิสัยทัศน์การปฏิวัติที่มุ่งเน้นในเมืองซึ่งได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ของสหภาพโซเวียต เหมา เจ๋อตง ผู้นำคอมมิวนิสต์จีน เห็นว่าชาวนาในชนบทเป็นกำลังสำคัญในการปฏิวัติของจีน ในพื้นที่ภูเขาของมณฑลเจียงซี ที่ซึ่งเหมาได้เดินทางไปเพื่อสถาปนาระบอบคอมมิวนิสต์นั้น ได้มีการพัฒนารากฐานของรัฐคอมมิวนิสต์ในอนาคตของจีนขึ้นมา ซึ่งได้ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า[[สาธารณรัฐโซเวียตจีน]] แต่เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ "[[โซเวียตเจียงซี]]"
การปราบปรามคอมมิวนิสต์ในเมืองต่าง ๆ นับเป็นอุปสรรคสำคัญของพรรค และเป็นการสกัดกั้นความหวังของที่ปรึกษาของโซเวียตแห่งองค์การคอมมิวนิสต์สากล ที่เห็นว่าการระดมกำลังชนชั้นกรรมมาชีพในเมืองคือพลังขับเคลื่อนสำคัญในการเผยแผ่ลัทธิคอมมิวนิสต์ ตรงข้ามกับวิสัยทัศน์การปฏิวัติที่มุ่งเน้นในเมืองซึ่งได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ของสหภาพโซเวียต เหมา เจ๋อตง ผู้นำคอมมิวนิสต์จีน เห็นว่าชาวนาในชนบทเป็นกำลังสำคัญในการปฏิวัติของจีน ในพื้นที่ภูเขาของมณฑลเจียงซี ที่ซึ่งเหมาได้เดินทางไปเพื่อสถาปนาระบอบคอมมิวนิสต์นั้น ได้มีการพัฒนารากฐานของรัฐคอมมิวนิสต์ในอนาคตของจีนขึ้นมา ซึ่งได้ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า[[สาธารณรัฐโซเวียตจีน]] แต่เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ "[[โซเวียตเจียงซี]]"


ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1931 เติ้งได้เข้ารับตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ประจำเมือง[[รุ่ยจิน]] เมืองที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเขตโซเวียต ในช่วงฤดูหนาวปี ค.ศ. 1932 เติ้งได้ดำรงตำแหน่งเดิมต่อไปใน[[อำเภอฮุ่ยชาง]]ซึ่งอยู่ใกล้เคียง ในปี ค.ศ. 1933 เขาได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อของคณะกรรมาธิการพรรคประจำมณฑลเจียงซี ตอนนั้นเองเขาได้แต่งงานกับนางจิน เหวย์อิ้ง หญิงสาวที่เขาพบในเซี่ยงไฮ้
ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1931 เติ้งได้เข้ารับตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ประจำเมือง[[รุ่ยจิน]] เมืองที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเขตโซเวียต ในช่วงฤดูหนาวปี ค.ศ. 1932 เติ้งได้ดำรงตำแหน่งเดิมต่อไปใน[[อำเภอฮุ่ยชาง]]ซึ่งอยู่ใกล้เคียง ใน ค.ศ. 1933 เขาได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อของคณะกรรมาธิการพรรคประจำมณฑลเจียงซี ตอนนั้นเองเขาได้แต่งงานกับนางจิน เหวย์อิ้ง หญิงสาวที่เขาพบในเซี่ยงไฮ้


ความสำเร็จของโซเวียตในมณฑลเจียงซีทำให้ผู้นำพรรคตัดสินใจย้ายฐานที่มั่นจากเซี่ยงไฮ้ไปยังมณฑลเจียงซี ความขัดแย้งระหว่างเหมา ผู้นำพรรค กับที่ปรึกษาของโซเวียตทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการชิงอำนาจระหว่างทั้งสองกลุ่มส่งผลให้เติ้ง ผู้สนับสนุนแนวคิดของเหมาถูกปลดจากตำแหน่งในฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อ แม้จะเผชิญกับความขัดแย้งภายในพรรค แต่โซเวียตเจียงซีก็ประสบความสำเร็จในการเป็นรัฐบาลคอมมิวนิสต์แห่งแรกในชนบทของจีน รัฐบาลได้ดำเนินการออกแสตมป์และธนบัตรโดยใช้หัวกระดาษของ "สาธารณรัฐโซเวียตจีน" ซึ่งเป็นการประกาศอำนาจอธิปไตยอย่างเป็นทางการ และในที่สุด กองทัพของเจียง ไคเชกก็ตัดสินใจเข้าโจมตีพื้นที่ที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ครอบครอง
ความสำเร็จของโซเวียตในมณฑลเจียงซีทำให้ผู้นำพรรคตัดสินใจย้ายฐานที่มั่นจากเซี่ยงไฮ้ไปยังมณฑลเจียงซี ความขัดแย้งระหว่างเหมา ผู้นำพรรค กับที่ปรึกษาของโซเวียตทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการชิงอำนาจระหว่างทั้งสองกลุ่มส่งผลให้เติ้ง ผู้สนับสนุนความคิดของเหมาถูกปลดจากตำแหน่งในฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อ แม้จะเผชิญกับความขัดแย้งภายในพรรค แต่โซเวียตเจียงซีก็ประสบความสำเร็จในการเป็นรัฐบาลคอมมิวนิสต์แห่งแรกในชนบทของจีน รัฐบาลได้ดำเนินการออกแสตมป์และธนบัตรโดยใช้หัวกระดาษของ "สาธารณรัฐโซเวียตจีน" ซึ่งเป็นการประกาศอำนาจอธิปไตยอย่างเป็นทางการ และในที่สุด กองทัพของเจียง ไคเชกก็ตัดสินใจเข้าโจมตีพื้นที่ที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ครอบครอง


=== เดินทัพทางไกล ===
=== เดินทัพทางไกล ===
บรรทัด 157: บรรทัด 157:
เมื่อถูกกองทัพชาตินิยมที่มีกำลังเหนือกว่าปิดล้อม พรรคคอมมิวนิสต์จึงได้หลบหนีออกจากมณฑลเจียงซีในเดือนตุลาคม ค.ศ 1934 นับแต่นั้นเป็นต้นมาจึงได้เริ่มต้นขบวนการอันยิ่งใหญ่ที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในการพัฒนาของลัทธิคอมมิวนิสต์จีน การอพยพเป็นไปอย่างยากลำบากเนื่องจากกองทัพชาตินิยมได้เข้ายึดครองพื้นที่ที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์เคยครอบครองอยู่ทั้งหมด ด้วยการเคลื่อนทัพผ่านภูมิประเทศที่ห่างไกลและภูเขาสูงชัน กองทัพจำนวนประมาณ 100,000 นายสามารถหลบหนีออกจากมณฑลเจียงซีได้สำเร็จ ก่อให้เกิดการล่าถอยทางยุทธศาสตร์ที่ยาวนานผ่านภายในประเทศจีน ซึ่งสิ้นสุดลงในหนึ่งปีต่อมาเมื่อทหารที่รอดชีวิตราว 8,000 ถึง 9,000 นายเดินทางมาถึง[[มณฑลฉ่านซี]]ทางตอนเหนือ
เมื่อถูกกองทัพชาตินิยมที่มีกำลังเหนือกว่าปิดล้อม พรรคคอมมิวนิสต์จึงได้หลบหนีออกจากมณฑลเจียงซีในเดือนตุลาคม ค.ศ 1934 นับแต่นั้นเป็นต้นมาจึงได้เริ่มต้นขบวนการอันยิ่งใหญ่ที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในการพัฒนาของลัทธิคอมมิวนิสต์จีน การอพยพเป็นไปอย่างยากลำบากเนื่องจากกองทัพชาตินิยมได้เข้ายึดครองพื้นที่ที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์เคยครอบครองอยู่ทั้งหมด ด้วยการเคลื่อนทัพผ่านภูมิประเทศที่ห่างไกลและภูเขาสูงชัน กองทัพจำนวนประมาณ 100,000 นายสามารถหลบหนีออกจากมณฑลเจียงซีได้สำเร็จ ก่อให้เกิดการล่าถอยทางยุทธศาสตร์ที่ยาวนานผ่านภายในประเทศจีน ซึ่งสิ้นสุดลงในหนึ่งปีต่อมาเมื่อทหารที่รอดชีวิตราว 8,000 ถึง 9,000 นายเดินทางมาถึง[[มณฑลฉ่านซี]]ทางตอนเหนือ


ในระหว่าง[[การประชุมจุนอี้]]ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นของการเดินทัพทางไกล กลุ่มบุคคลที่เรียกว่า "28 บอลเชวิค" นำโดย[[ปั๋ว กู่]] และ[[หวัง หมิง]] ถูกปลดจากอำนาจ และเหมา เจ๋อตงได้ขึ้นเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนคนใหม่ สร้างความไม่พอใจให้แก่สหภาพโซเวียต พรรคคอมมิวนิสต์จีนที่สนับสนุนโซเวียตได้สิ้นสุดลง และมีการก่อตั้งพรรคใหม่ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากชนบทขึ้นมาภายใต้การนำของเหมา เติ้งได้กลับมาเป็นแกนนำสำคัญของพรรคอีกครั้งหนึ่ง
ในระหว่าง[[การประชุมจุนอี้]]ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นของการเดินทัพทางไกล กลุ่มบุคคลที่เรียกว่า "28 บอลเชวิค" นำโดย[[ปั๋ว กู่]] และ[[หวัง หมิง]] ถูกปลดจากอำนาจ และเหมาได้ขึ้นเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนคนใหม่ สร้างความไม่พอใจให้แก่สหภาพโซเวียต พรรคคอมมิวนิสต์จีนที่สนับสนุนโซเวียตได้สิ้นสุดลง และมีการก่อตั้งพรรคใหม่ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากชนบทขึ้นมาภายใต้การนำของเหมา เติ้งได้กลับมาเป็นแกนนำสำคัญของพรรคอีกครั้งหนึ่ง


อย่างไรก็ตาม การเผชิญหน้าระหว่างทั้งสองพรรคถูกยุติลงชั่วคราวจากการรุกรานของญี่ปุ่น ซึ่งบีบบังคับให้พรรคก๊กมินตั๋งต้องร่วมมือเป็นพันธมิตรกับพรรคคอมมิวนิสต์เป็นครั้งที่สอง เพื่อปกป้องประเทศจากการรุกรานจากภายนอก
อย่างไรก็ตาม การเผชิญหน้าระหว่างทั้งสองพรรคถูกยุติลงชั่วคราวจากการรุกรานของญี่ปุ่น ซึ่งบีบบังคับให้พรรคก๊กมินตั๋งต้องร่วมมือเป็นพันธมิตรกับพรรคคอมมิวนิสต์เป็นครั้งที่สอง เพื่อปกป้องประเทศจากการรุกรานจากภายนอก


=== การรุกรานของญี่ปุ่น ===
=== การรุกรานของญี่ปุ่น ===
การรุกรานของกองทัพญี่ปุ่นในปี ค.ศ. 1937 นับเป็นจุดเริ่มต้นของ[[สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง]] ในระหว่างการรุกราน เติ้งยังคงอยู่ในพื้นที่ที่คอมมิวนิสต์ควบคุมอยู่ในภาคเหนือ และดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการฝ่ายการเมืองของกองทัพคอมมิวนิสต์ที่ปรับโครงสร้างใหม่ทั้งสามกองพล ตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 1937 จนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 1938 เขาได้พำนักอยู่ในวัดและอารามพุทธศาสนาบน[[เขาอู่ไถ]] ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1938 เขาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการทางการเมืองประจำกองพลที่ 129 [[กองทัพลู่ที่แปด]] ซึ่งมีนายพล[[หลิว ปั๋วเฉิง]]เป็นผู้บัญชาการ ทำให้เกิดความร่วมมืออันยาวนานระหว่างเขากับนายพลหลิว
การรุกรานของกองทัพญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1937 นับเป็นจุดเริ่มต้นของ[[สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง]] ในระหว่างการรุกราน เติ้งยังคงอยู่ในพื้นที่ที่คอมมิวนิสต์ควบคุมอยู่ในภาคเหนือ และดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการฝ่ายการเมืองของกองทัพคอมมิวนิสต์ที่ปรับโครงสร้างใหม่ทั้งสามกองพล ตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 1937 จนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 1938 เขาได้พำนักอยู่ในวัดและอารามพุทธศาสนาบน[[เขาอู่ไถ]] ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1938 เขาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการทางการเมืองประจำกองพลที่ 129 [[กองทัพลู่ที่แปด]] ซึ่งมีนายพล[[หลิว ปั๋วเฉิง]]เป็นผู้บัญชาการ ทำให้เกิดความร่วมมืออันยาวนานระหว่างเขากับนายพลหลิว


เติ้งประจำการอยู่ในแนวรบที่ติดต่อกับมณฑล[[มณฑลฉ่านซี|ฉ่านซี]] เหอหนาน และ[[มณฑลเหอเป่ย์|เหอเป่ย์]] ตลอดระยะเวลาที่เกิดความขัดแย้งกับญี่ปุ่น จากนั้นได้เดินทางไปยังเมือง[[เหยียนอาน]]หลายครั้ง ซึ่งเป็นที่ที่เหมาได้วางรากฐานสำหรับการนำพรรคคอมมิวนิสต์ไว้ ระหว่างอยู่ในเหอหนาน เขาได้กล่าวสุนทรพจน์อันโด่งดังเรื่อง "สถานการณ์ชัยชนะในการก้าวเข้าสู่ภาคกลาง และนโยบายกลยุทธ์ในอนาคต" ณ โบสถ์แห่งหนึ่งที่เขาเคยพำนักอยู่เป็นระยะเวลาหนึ่ง<ref>{{Cite web |title=豫西革命纪念馆和鲁山邓小平旧居扩建工程竣工 |url=http://www.gov.cn/jrzg/2008-04/25/content_954586.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20220711211823/http://www.gov.cn/jrzg/2008-04/25/content_954586.htm |archive-date=11 July 2022 |access-date=11 July 2022}}</ref><ref>{{Cite web |title=西关大街,从历史中走来 |url=https://www.pds.gov.cn/contents/5380/181.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20220711211824/https://www.pds.gov.cn/contents/5380/181.html |archive-date=11 July 2022 |access-date=11 July 2022}}</ref> ในการเดินทางไปยังเหยียนอานครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1939 เขาได้แต่งงานครั้งที่สามและครั้งสุดท้ายในชีวิตกับนาง[[จัว หลิน]] ชาวเมือง[[คุนหมิง]] ผู้ซึ่งได้เดินทางไปยังเหยียนอานเพื่อเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์เช่นเดียวกับเยาวชนผู้มีอุดมการณ์คนอื่น ๆ ในยุคนั้น
เติ้งประจำการอยู่ในแนวรบที่ติดต่อกับมณฑล[[มณฑลฉ่านซี|ฉ่านซี]] เหอหนาน และ[[มณฑลเหอเป่ย์|เหอเป่ย์]] ตลอดระยะเวลาที่เกิดความขัดแย้งกับญี่ปุ่น จากนั้นได้เดินทางไปยังเมือง[[เหยียนอาน]]หลายครั้ง ซึ่งเป็นที่ที่เหมาได้วางรากฐานสำหรับการนำพรรคคอมมิวนิสต์ไว้ ระหว่างอยู่ในเหอหนาน เขาได้กล่าวสุนทรพจน์อันโด่งดังเรื่อง "สถานการณ์ชัยชนะในการก้าวเข้าสู่ภาคกลาง และนโยบายกลยุทธ์ในอนาคต" ณ โบสถ์แห่งหนึ่งที่เขาเคยพำนักอยู่เป็นระยะเวลาหนึ่ง<ref>{{Cite web |title=豫西革命纪念馆和鲁山邓小平旧居扩建工程竣工 |url=http://www.gov.cn/jrzg/2008-04/25/content_954586.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20220711211823/http://www.gov.cn/jrzg/2008-04/25/content_954586.htm |archive-date=11 July 2022 |access-date=11 July 2022}}</ref><ref>{{Cite web |title=西关大街,从历史中走来 |url=https://www.pds.gov.cn/contents/5380/181.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20220711211824/https://www.pds.gov.cn/contents/5380/181.html |archive-date=11 July 2022 |access-date=11 July 2022}}</ref> ในการเดินทางไปยังเหยียนอานครั้งหนึ่งใน ค.ศ. 1939 เขาได้แต่งงานครั้งที่สามและครั้งสุดท้ายในชีวิตกับนาง[[จัว หลิน]] ชาวเมือง[[คุนหมิง]] ผู้ซึ่งได้เดินทางไปยังเหยียนอานเพื่อเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์เช่นเดียวกับเยาวชนผู้มีอุดมการณ์คนอื่น ๆ ในยุคนั้น


เติ้งได้รับการยกย่องว่าเป็น "ทหารผ่านศึกปฏิวัติ" จากการมีเข้าร่วม[[การเดินทัพทางไกล]]<ref>{{Cite book |last=Cheng Li |url=https://archive.org/details/chinasleadersnew00lich |title=China's leaders |publisher=Rowman & Littlefield |year=2001 |isbn=9780847694976 |page=[https://archive.org/details/chinasleadersnew00lich/page/131 131] |access-date=6 March 2016 |url-access=registration}}</ref> เขาเป็นผู้นำใน[[ปฏิบัติการร้อยกองพัน]] ซึ่งช่วยยกสถานะของเขาในหมู่สหายร่วมอุดมการณ์<ref name="jac">{{Cite web |last=GREGOR BENTON |title=Assessing Deng Xiaoping |url=https://www.jacobinmag.com/2019/01/deng-xiaoping-china-mao-communist-party |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190129064154/https://www.jacobinmag.com/2019/01/deng-xiaoping-china-mao-communist-party |archive-date=29 January 2019 |access-date=28 January 2019 |website=jacobinmag.com}}</ref>
เติ้งได้รับการยกย่องว่าเป็น "ทหารผ่านศึกปฏิวัติ" จากการมีเข้าร่วม[[การเดินทัพทางไกล]]<ref>{{Cite book |last=Cheng Li |url=https://archive.org/details/chinasleadersnew00lich |title=China's leaders |publisher=Rowman & Littlefield |year=2001 |isbn=9780847694976 |page=[https://archive.org/details/chinasleadersnew00lich/page/131 131] |access-date=6 March 2016 |url-access=registration}}</ref> เขาเป็นผู้นำใน[[ปฏิบัติการร้อยกองพัน]] ซึ่งช่วยยกสถานะของเขาในหมู่สหายร่วมอุดมการณ์<ref name="jac">{{Cite web |last=GREGOR BENTON |title=Assessing Deng Xiaoping |url=https://www.jacobinmag.com/2019/01/deng-xiaoping-china-mao-communist-party |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190129064154/https://www.jacobinmag.com/2019/01/deng-xiaoping-china-mao-communist-party |archive-date=29 January 2019 |access-date=28 January 2019 |website=jacobinmag.com}}</ref>
บรรทัด 177: บรรทัด 177:
เติ้งมีส่วนร่วมอย่างมากใน[[การทัพหวยไห่]]เพื่อโค่นล้มรัฐบาลชาตินิยม<ref name=jac/>
เติ้งมีส่วนร่วมอย่างมากใน[[การทัพหวยไห่]]เพื่อโค่นล้มรัฐบาลชาตินิยม<ref name=jac/>


ในช่วงสุดท้ายของสงคราม เติ้งได้กลับมามีบทบาทสำคัญในฐานะผู้นำทางการเมืองและผู้อำนวยการฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อ ในฐานะผู้ตรวจการทางการเมืองประจำ[[กองทัพภาคสนามที่ 2]] ซึ่งมีนายพลหลิว ปั๋วเฉิงเป็นผู้บัญชาการ โดยเติ้งมีส่วนสำคัญในการนำกองทัพปลดปล่อยประชาชนเข้าสู่ทิเบต นอกจากนี้เขายังมีส่วนร่วมในการเผยแพร่แนวคิดของเหมา เจ๋อตง ซึ่งได้กลายมาเป็นรากฐานทางอุดมการณ์ของพรรคคอมมิวนิสต์ ผลงานทางการเมืองและอุดมการณ์อันโดดเด่น รวมถึงสถานะของเขาในฐานะทหารผ่านศึกการเดินทัพทางไกล ทำให้เขาได้รับตำแหน่งที่มีอำนาจภายในพรรคหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์สามารถเอาชนะเจียง ไคเชก และก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนขึ้นมาได้
ในช่วงสุดท้ายของสงคราม เติ้งได้กลับมามีบทบาทสำคัญในฐานะผู้นำทางการเมืองและผู้อำนวยการฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อ ในฐานะผู้ตรวจการทางการเมืองประจำ[[กองทัพภาคสนามที่ 2]] ซึ่งมีนายพลหลิว ปั๋วเฉิงเป็นผู้บัญชาการ โดยเติ้งมีส่วนสำคัญในการนำกองทัพปลดปล่อยประชาชนเข้าสู่ทิเบต นอกจากนี้เขายังมีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความคิดของเหมา เจ๋อตง ซึ่งได้กลายมาเป็นรากฐานทางอุดมการณ์ของพรรคคอมมิวนิสต์ ผลงานทางการเมืองและอุดมการณ์อันโดดเด่น รวมถึงสถานะของเขาในฐานะทหารผ่านศึกการเดินทัพทางไกล ทำให้เขาได้รับตำแหน่งที่มีอำนาจภายในพรรคหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์สามารถเอาชนะเจียง ไคเชก และก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนขึ้นมาได้


[[File:Deng Xiaoping, He Long and Zhu De.jpg|thumb|เติ้ง เสี่ยวผิง กับ[[เฮ่อ หลง]] (กลาง) และ[[จู เต๋อ]] (ขวา) (ค.ศ. 1949)]]
[[File:Deng Xiaoping, He Long and Zhu De.jpg|thumb|เติ้ง เสี่ยวผิง กับ[[เฮ่อ หลง]] (กลาง) และ[[จู เต๋อ]] (ขวา) (ค.ศ. 1949)]]
บรรทัด 188: บรรทัด 188:
รัฐบาลก๊กมินตั๋งถูกบีบให้ย้ายออกจากเมือง[[กว่างโจว]] และได้สถาปนาเมือง[[ฉงชิ่ง]]ขึ้นเป็นเมืองหลวงชั่วคราวแห่งใหม่ ณ ที่นั้น เจียง ไคเชก และ[[เจี่ยง จิงกั๋ว]] บุตรชายผู้เคยเป็นเพื่อนร่วมชั้นกับเติ้งในกรุงมอสโก ต่างปรารถนาที่จะหยุดยั้งการก้าวหน้าของกองกำลังพรรคคอมมิวนิสต์
รัฐบาลก๊กมินตั๋งถูกบีบให้ย้ายออกจากเมือง[[กว่างโจว]] และได้สถาปนาเมือง[[ฉงชิ่ง]]ขึ้นเป็นเมืองหลวงชั่วคราวแห่งใหม่ ณ ที่นั้น เจียง ไคเชก และ[[เจี่ยง จิงกั๋ว]] บุตรชายผู้เคยเป็นเพื่อนร่วมชั้นกับเติ้งในกรุงมอสโก ต่างปรารถนาที่จะหยุดยั้งการก้าวหน้าของกองกำลังพรรคคอมมิวนิสต์


ภายใต้การควบคุมทางการเมืองของเติ้ง กองทัพคอมมิวนิสต์ได้เข้ายึดครองเมืองฉงชิ่งในปลายเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1949 และได้เคลื่อนทัพเข้าสู่เมืองเฉิงตู ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสุดท้ายของเจียง ไคเชกในอีกไม่กี่วันต่อมา ในช่วงเวลานั้น เติ้งได้ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองฉงชิ่ง พร้อมกันนั้นยังเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพคอมมิวนิสต์ที่ขณะนี้ได้ประกาศตนเป็น[[กองทัพปลดปล่อยประชาชน]] ได้ปราบปรามการต่อต้านจากกลุ่มผู้ภักดีต่อระบอบก๊กมินตั๋งเก่า ในปี ค.ศ. 1950 รัฐที่ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ได้เข้ายึดครองทิเบต
ภายใต้การควบคุมทางการเมืองของเติ้ง กองทัพคอมมิวนิสต์ได้เข้ายึดครองเมืองฉงชิ่งในปลายเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1949 และได้เคลื่อนทัพเข้าสู่เมืองเฉิงตู ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสุดท้ายของเจียง ไคเชกในอีกไม่กี่วันต่อมา ในช่วงเวลานั้น เติ้งได้ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองฉงชิ่ง พร้อมกันนั้นยังเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพคอมมิวนิสต์ที่ขณะนี้ได้ประกาศตนเป็น[[กองทัพปลดปล่อยประชาชน]] ได้ปราบปรามการต่อต้านจากกลุ่มผู้ภักดีต่อระบอบก๊กมินตั๋งเก่า ใน ค.ศ. 1950 รัฐที่ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ได้เข้ายึดครองทิเบต


ในคำปราศรัยต่อ[[ระบบคณะทำงานของพรรคคอมมิวนิสต์จีน|คณะทำงาน]]เตรียมการกำกับดูแลการรณรงค์ใน[[ขบวนการปฏิรูปที่ดิน]]ในปี ค.ศ. 1951 เติ้งได้กำชับว่าขณะที่คณะทำงานควรช่วยเหลือชาวนาในการดำเนินการ "การต่อสู้ด้วยเหตุผล" ที่ปราศจากความรุนแรง พวกเขายังต้องตระหนักอยู่เสมอว่า ในฐานะขบวนการประชาชน การปฏิรูปที่ดินมิใช่ช่วงเวลาที่ต้อง "นุ่มนวลละมุนละม่อม"
ในคำปราศรัยต่อ[[ระบบคณะทำงานของพรรคคอมมิวนิสต์จีน|คณะทำงาน]]เตรียมการกำกับดูแลการรณรงค์ใน[[ขบวนการปฏิรูปที่ดิน]]ใน ค.ศ. 1951 เติ้งได้กำชับว่าขณะที่คณะทำงานควรช่วยเหลือชาวนาในการดำเนินการ "การต่อสู้ด้วยเหตุผล" ที่ปราศจากความรุนแรง พวกเขายังต้องตระหนักอยู่เสมอว่า ในฐานะขบวนการประชาชน การปฏิรูปที่ดินมิใช่ช่วงเวลาที่ต้อง "นุ่มนวลละมุนละม่อม"


ในคำกล่าวสุนทรพจน์ปี ค.ศ. 1951 แก่[[ระบบคณะทำงานของพรรคคอมมิวนิสต์จีน|คณะทำงาน]]ที่เตรียมการกำกับดูแลการรณรงค์ใน[[ขบวนการปฏิรูปที่ดิน]] เติ้งได้กำชับว่าขณะที่คณะทำงานควรช่วยเหลือชาวนาในการดำเนินการ "การต่อสู้ด้วยเหตุผล" ที่ปราศจากความรุนแรง พวกเขายังต้องตระหนักอยู่เสมอว่าในฐานะขบวนการประชาชน การปฏิรูปที่ดินไม่ใช่เวลาที่จะต้อง "นุ่มนวลละมุนละม่อม"<ref>{{Cite book |last=DeMare |first=Brian James |title=Land wars : the story of China's agrarian revolution |url=https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema |date=2019 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-0849-8 |location=Stanford, California |pages=[https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema/page/n134 117] |oclc=1048940018}}</ref> และได้แสดงความเห็นในลักษณะคำถามเชิงวาทศิลป์ว่า แม้ในอุดมคติแล้วจะไม่มีเจ้าของที่ดินคนใดต้องเสียชีวิตในกระบวนการนี้ "หากเจ้าของที่ดินใจแคบบางคนฆ่าตัวตาย นั่นหมายความว่านโยบายของเรามีปัญหาหรือไม่? เราต้องรับผิดชอบหรือ?"<ref>{{Cite book |last=DeMare |first=Brian James |title=Land wars : the story of China's agrarian revolution |url=https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema |date=2019 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-0849-8 |location=Stanford, California |pages=[https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema/page/n135 118] |oclc=1048940018}}</ref>
ในคำกล่าวสุนทรพจน์ปี ค.ศ. 1951 แก่[[ระบบคณะทำงานของพรรคคอมมิวนิสต์จีน|คณะทำงาน]]ที่เตรียมการกำกับดูแลการรณรงค์ใน[[ขบวนการปฏิรูปที่ดิน]] เติ้งได้กำชับว่าขณะที่คณะทำงานควรช่วยเหลือชาวนาในการดำเนินการ "การต่อสู้ด้วยเหตุผล" ที่ปราศจากความรุนแรง พวกเขายังต้องตระหนักอยู่เสมอว่าในฐานะขบวนการประชาชน การปฏิรูปที่ดินไม่ใช่เวลาที่จะต้อง "นุ่มนวลละมุนละม่อม"<ref>{{Cite book |last=DeMare |first=Brian James |title=Land wars : the story of China's agrarian revolution |url=https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema |date=2019 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-0849-8 |location=Stanford, California |pages=[https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema/page/n134 117] |oclc=1048940018}}</ref> และได้แสดงความเห็นในลักษณะคำถามเชิงวาทศิลป์ว่า แม้ในอุดมคติแล้วจะไม่มีเจ้าของที่ดินคนใดต้องเสียชีวิตในกระบวนการนี้ "หากเจ้าของที่ดินใจแคบบางคนฆ่าตัวตาย นั่นหมายความว่านโยบายของเรามีปัญหาหรือไม่? เราต้องรับผิดชอบหรือ?"<ref>{{Cite book |last=DeMare |first=Brian James |title=Land wars : the story of China's agrarian revolution |url=https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema |date=2019 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-0849-8 |location=Stanford, California |pages=[https://archive.org/details/landwarsstoryofc0000dema/page/n135 118] |oclc=1048940018}}</ref>


เติ้ง เสี่ยวผิง ใช้เวลาสามปีในเมืองฉงชิ่ง ซึ่งเป็นเมืองที่เขาเคยศึกษาเล่าเรียนในช่วงวัยรุ่นก่อนที่จะเดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1951 เขาได้ย้ายไปปักกิ่ง และดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในรัฐบาลกลาง
เติ้ง เสี่ยวผิง ใช้เวลาสามปีในเมืองฉงชิ่ง ซึ่งเป็นเมืองที่เขาเคยศึกษาเล่าเรียนในช่วงวัยรุ่นก่อนที่จะเดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1951 เขาได้ย้ายไปปักกิ่ง และดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในรัฐบาลกลาง


=== การขึ้นสู่อำนาจทางการเมืองในปักกิ่ง ===
=== การขึ้นสู่อำนาจทางการเมืองในปักกิ่ง ===
{{Main|ขบวนการต่อต้านฝ่ายขวา|การก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า}}
{{Main|ขบวนการต่อต้านฝ่ายขวา|การก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า}}
[[File:Dalai-dengxiaoping1954.jpg|thumb|เติ้ง เสี่ยวผิง (ซ้าย) พบกับองค์[[ทะไลลามะที่ 14]] (ขวา) ในปี ค.ศ. 1954]]
[[File:Dalai-dengxiaoping1954.jpg|thumb|เติ้ง เสี่ยวผิง (ซ้าย) พบกับองค์[[ทะไลลามะที่ 14]] (ขวา) ใน ค.ศ. 1954]]


ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1952 เติ้งเดินทางมายังกรุงปักกิ่งเพื่อเข้ารับตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรองประธานคณะกรรมการการเงิน หลังจากนั้นไม่นานเขาก็ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้อำนวยการสำนักสื่อสาร ในปี ค.ศ. 1954 เขาถูกปลดจากตำแหน่งดังกล่าวทั้งหมด เหลือเพียงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีเท่านั้น ในปี ค.ศ. 1956 เขาได้รับตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายองค์กรของพรรคคอมมิวนิสต์ และสมาชิก[[คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|คณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]]
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1952 เติ้งเดินทางมายังกรุงปักกิ่งเพื่อเข้ารับตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรองประธานคณะกรรมการการเงิน หลังจากนั้นไม่นานเขาก็ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้อำนวยการสำนักสื่อสาร ใน ค.ศ. 1954 เขาถูกปลดจากตำแหน่งดังกล่าวทั้งหมด เหลือเพียงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีเท่านั้น ใน ค.ศ. 1956 เขาได้รับตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายองค์กรของพรรคคอมมิวนิสต์ และสมาชิก[[คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|คณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]]


หลังจากให้การสนับสนุนเหมา เจ๋อตงอย่างเป็นทางการในการ[[ขบวนต่อต้านฝ่ายขวา]]ในปี ค.ศ. 1957 เติ้งก็ได้รับตำแหน่งเลขาธิการ[[สำนักงานเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน|สำนักเลขาธิการ]] และรับผิดชอบการบริหารกิจการประจำวันของประเทศร่วมกับประธานาธิบดี[[หลิว เช่าฉี]] และนายกรัฐมนตรี[[โจว เอินไหล]] นโยบายของเติ้งและหลิวมุ่งเน้นไปที่เศรษฐกิจมากกว่าอุดมการณ์ เป็นการเบี่ยงเบนจากความกระตือรือร้นอันมหาศาลของนโยบายก้าวกระโดดไกลไปโดยปริยาย ทั้งหลิวและเติ้งต่างให้การสนับสนุนเหมาในการรณรงค์ครั้งใหญ่ในทศวรรษที่ 1950 ซึ่งทั้งสองได้ร่วมกันโจมตีชนชั้นกลางและทุนนิยม และส่งเสริมอุดมการณ์ของเหมา<ref name=":3">{{Cite web |title=The Man Who Re-Invented China |url=https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190725131635/https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |archive-date=25 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=origins.osu.edu|date=17 September 2012 }}</ref> อย่างไรก็ตาม ความล้มเหลวของนโยบาย[[การก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า|ก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า]]ได้ถูกมองว่าเป็นการตำหนิความสามารถในการบริหารจัดการเศรษฐกิจของเหมา [[เผิง เต๋อหวย]]เริ่มวิพากษ์วิจารณ์เหมาอย่างเปิดเผย ขณะที่หลิวและเติ้งยังคงสงวนท่าทีที่ระมัดระวังมากขึ้น และในที่สุดก็เข้ามารับผิดชอบนโยบายเศรษฐกิจเมื่อเหมาเลิกยุ่งเกี่ยวกับกิจการประจำวันของพรรคและประเทศ เหมาเหมาตกลงที่จะสละตำแหน่งประธานาธิบดี (ตำแหน่ง[[ประมุขแห่งรัฐ]]โดยนิตินัย) ให้แก่หลิว ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาตำแหน่งผู้นำพรรคและกองทัพไว้
หลังจากให้การสนับสนุนเหมาอย่างเป็นทางการในการ[[ขบวนต่อต้านฝ่ายขวา]]ใน ค.ศ. 1957 เติ้งก็ได้รับตำแหน่งเลขาธิการ[[สำนักงานเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน|สำนักเลขาธิการ]] และรับผิดชอบการบริหารกิจการประจำวันของประเทศร่วมกับประธานาธิบดี[[หลิว เช่าฉี]] และนายกรัฐมนตรี[[โจว เอินไหล]] นโยบายของเติ้งและหลิวมุ่งเน้นไปที่เศรษฐกิจมากกว่าอุดมการณ์ เป็นการเบี่ยงเบนจากความกระตือรือร้นอันมหาศาลของนโยบายก้าวกระโดดไกลไปโดยปริยาย ทั้งหลิวและเติ้งต่างให้การสนับสนุนเหมาในการรณรงค์ครั้งใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 1950 ซึ่งทั้งสองได้ร่วมกันโจมตีชนชั้นกลางและทุนนิยม และส่งเสริมอุดมการณ์ของเหมา<ref name=":3">{{Cite web |title=The Man Who Re-Invented China |url=https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190725131635/https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |archive-date=25 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=origins.osu.edu|date=17 September 2012 }}</ref> อย่างไรก็ตาม ความล้มเหลวของนโยบาย[[การก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า|ก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า]]ได้ถูกมองว่าเป็นการตำหนิความสามารถในการบริหารจัดการเศรษฐกิจของเหมา [[เผิง เต๋อหวย]]เริ่มวิพากษ์วิจารณ์เหมาอย่างเปิดเผย ขณะที่หลิวและเติ้งยังคงสงวนท่าทีที่ระมัดระวังมากขึ้น และในที่สุดก็เข้ามารับผิดชอบนโยบายเศรษฐกิจเมื่อเหมาเลิกยุ่งเกี่ยวกับกิจการประจำวันของพรรคและประเทศ เหมาเหมาตกลงที่จะสละตำแหน่งประธานาธิบดี (ตำแหน่ง[[ประมุขแห่งรัฐ]]โดยนิตินัย) ให้แก่หลิว ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาตำแหน่งผู้นำพรรคและกองทัพไว้


ในปี ค.ศ. 1955 เติ้งได้รับการพิจารณาให้เป็นผู้มีสิทธิ์รับยศ[[จอมพลแห่งกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน]] แต่สุดท้ายแล้วก็ไม่ได้รับยศดังกล่าว
ใน ค.ศ. 1955 เติ้งได้รับการพิจารณาให้เป็นผู้มีสิทธิ์รับยศ[[จอมพลแห่งกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน]] แต่สุดท้ายแล้วก็ไม่ได้รับยศดังกล่าว


ใน[[การประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 8|การประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่ 8]] ในปี ค.ศ. 1956 เติ้งได้สนับสนุนให้มีการลบข้อความที่อ้างถึง "ความคิดของเหมา เจ๋อตง" ออกจากข้อบังคับของพรรคทั้งหมด<ref name="jac" />
ใน[[การประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 8|การประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่ 8]] ใน ค.ศ. 1956 เติ้งได้สนับสนุนให้มีการลบข้อความที่อ้างถึง "ความคิดของเหมา เจ๋อตง" ออกจากข้อบังคับของพรรคทั้งหมด<ref name="jac" />


ในปี ค.ศ. 1963 เติ้งได้เดินทางไปยังกรุงมอสโกเพื่อเป็นประธานในการประชุมคณะผู้แทนจากประเทศจีนกับ[[นีกีตา ครุชชอฟ]] ผู้สืบทอดอำนาจของ[[โจเซฟ สตาลิน|สตาลิน]] ความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนกับสหภาพโซเวียตนั้นเลวร้ายลงอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่การถึงแก่อสัญกรรมของสตาลิน ภายหลังการประชุมครั้งนี้ ผลการเจรจาไม่เป็นผลสำเร็จ และ[[ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต|ความแตกแยกระหว่างจีนกับโซเวียต]]ก็ทวีความรุนแรงขึ้น ส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างมหาอำนาจคอมมิวนิสต์ทั้งสองในยุคนั้นหยุดชะงักลงเกือบทั้งหมด<ref>Jacques Guillermaz, ''The Chinese Communist Party in Power, 1949–1976'' (1976) pp. 320–331.</ref>
ใน ค.ศ. 1963 เติ้งได้เดินทางไปยังกรุงมอสโกเพื่อเป็นประธานในการประชุมคณะผู้แทนจากประเทศจีนกับ[[นีกีตา ครุชชอฟ]] ผู้สืบทอดอำนาจของ[[โจเซฟ สตาลิน|สตาลิน]] ความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนกับสหภาพโซเวียตนั้นเลวร้ายลงอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่การถึงแก่อสัญกรรมของสตาลิน ภายหลังการประชุมครั้งนี้ ผลการเจรจาไม่เป็นผลสำเร็จ และ[[ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต|ความแตกแยกระหว่างจีนกับโซเวียต]]ก็ทวีความรุนแรงขึ้น ส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างมหาอำนาจคอมมิวนิสต์ทั้งสองในยุคนั้นหยุดชะงักลงเกือบทั้งหมด<ref>Jacques Guillermaz, ''The Chinese Communist Party in Power, 1949–1976'' (1976) pp. 320–331.</ref>


ภายหลัง[[การประชุมคณะทำงาน 7,000 คน]]ในปี ค.ศ. 1962 การปฏิรูปเศรษฐกิจของหลิวและเติ้งในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย และได้ฟื้นฟูสถาบันทางเศรษฐกิจหลายแห่งที่ถูกยกเลิกไปก่อนหน้านี้ในช่วงการก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า<ref name=":3" /> เหมาเริ่มรู้สึกว่าตนเองจะสูญเสียอำนาจ จึงได้ดำเนินการเพื่อยึดอำนาจการปกครองประเทศกลับคืนมา เหมาได้อ้างถึงจิตวิญญาณแห่งการปฏิวัติของตนและริเริ่มการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ซึ่งส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปร่วมกันขจัดกลุ่มทุนนิยมขวาจัดที่ได้ "แทรกซึมเข้าสู่พรรค" เติ้งถูกเย้ยหยันว่าเป็น "[[ผู้สนับสนุนทุนนิยม]]หมายเลขสอง"<ref>{{Cite book |last=Henry He |url=https://books.google.com/books?id=YCm3DAAAQBAJ&pg=PT713 |title=Dictionary of the Political Thought of the People's Republic of China |publisher=Taylor & Francis |year=2016 |isbn=9781315500430 |page=713 |access-date=3 October 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210308070316/https://books.google.com/books?id=YCm3DAAAQBAJ&pg=PT713 |archive-date=8 March 2021 |url-status=live}}</ref>
ภายหลัง[[การประชุมคณะทำงาน 7,000 คน]]ใน ค.ศ. 1962 การปฏิรูปเศรษฐกิจของหลิวและเติ้งในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย และได้ฟื้นฟูสถาบันทางเศรษฐกิจหลายแห่งที่ถูกยกเลิกไปก่อนหน้านี้ในช่วงการก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า<ref name=":3" /> เหมาเริ่มรู้สึกว่าตนเองจะสูญเสียอำนาจ จึงได้ดำเนินการเพื่อยึดอำนาจการปกครองประเทศกลับคืนมา เหมาได้อ้างถึงจิตวิญญาณแห่งการปฏิวัติของตนและริเริ่มการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ซึ่งส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปร่วมกันขจัดกลุ่มทุนนิยมขวาจัดที่ได้ "แทรกซึมเข้าสู่พรรค" เติ้งถูกเย้ยหยันว่าเป็น "[[ผู้สนับสนุนทุนนิยม]]หมายเลขสอง"<ref>{{Cite book |last=Henry He |url=https://books.google.com/books?id=YCm3DAAAQBAJ&pg=PT713 |title=Dictionary of the Political Thought of the People's Republic of China |publisher=Taylor & Francis |year=2016 |isbn=9781315500430 |page=713 |access-date=3 October 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210308070316/https://books.google.com/books?id=YCm3DAAAQBAJ&pg=PT713 |archive-date=8 March 2021 |url-status=live}}</ref>


เติ้งเป็นหนึ่งในผู้ร่างหลักแผนพัฒนาเศรษฐกิจ (แผนห้าปี) ฉบับที่สาม<ref name=":05">{{Cite book |last=Meyskens |first=Covell F. |url= |title=Mao's Third Front: The Militarization of Cold War China |date=2020 |publisher=[[Cambridge University Press]] |isbn=978-1-108-78478-8 |location=Cambridge, United Kingdom |doi=10.1017/9781108784788 |oclc=1145096137 |s2cid=218936313}}</ref>{{Rp|page=29}} ในร่างฉบับดังกล่าวได้เน้นย้ำถึงการมุ่งเน้นผู้บริโภค และการพัฒนาเมืองชายฝั่งที่มีอุตสาหกรรมของจีนอย่างต่อเนื่อง<ref name=":05" />{{Rp|page=7}} เมื่อเหมาได้เสนอแนวคิดการรณรงค์ครั้งใหญ่เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐานและความมั่นคงของชาติภายในประเทศจีนในฐานะ[[แนวรบที่สาม]]เพื่อเตรียมรับมือกับการรุกรานที่อาจเกิดขึ้นจากสหรัฐหรือสหภาพโซเวียต เติ้งก็เป็นหนึ่งในผู้นำคนสำคัญที่คัดค้านแนวคิดดังกล่าว<ref name=":05" />{{Rp|page=7}} ภายหลัง[[อุบัติการณ์อ่าวตังเกี๋ย]]ซึ่งก่อให้เกิดความวิตกกังวลเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการถูกสหรัฐโจมตี เติ้งและผู้นำระดับสูงคนอื่น ๆ จึงได้ให้การสนับสนุนการก่อสร้างแนวรบที่สามอย่างเต็มที่ และได้มีการปรับเปลี่ยนจุดเน้นของแผนห้าปีมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ<ref name=":05" />{{Rp|page=7}}
เติ้งเป็นหนึ่งในผู้ร่างหลักแผนพัฒนาเศรษฐกิจ (แผนห้าปี) ฉบับที่สาม<ref name=":05">{{Cite book |last=Meyskens |first=Covell F. |url= |title=Mao's Third Front: The Militarization of Cold War China |date=2020 |publisher=[[Cambridge University Press]] |isbn=978-1-108-78478-8 |location=Cambridge, United Kingdom |doi=10.1017/9781108784788 |oclc=1145096137 |s2cid=218936313}}</ref>{{Rp|page=29}} ในร่างฉบับดังกล่าวได้เน้นย้ำถึงการมุ่งเน้นผู้บริโภค และการพัฒนาเมืองชายฝั่งที่มีอุตสาหกรรมของจีนอย่างต่อเนื่อง<ref name=":05" />{{Rp|page=7}} เมื่อเหมาได้เสนอแนวคิดการรณรงค์ครั้งใหญ่เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐานและความมั่นคงของชาติภายในประเทศจีนในฐานะ[[แนวรบที่สาม]]เพื่อเตรียมรับมือกับการรุกรานที่อาจเกิดขึ้นจากสหรัฐหรือสหภาพโซเวียต เติ้งก็เป็นหนึ่งในผู้นำคนสำคัญที่คัดค้านแนวคิดดังกล่าว<ref name=":05" />{{Rp|page=7}} ภายหลัง[[อุบัติการณ์อ่าวตังเกี๋ย]]ซึ่งก่อให้เกิดความวิตกกังวลเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการถูกสหรัฐโจมตี เติ้งและผู้นำระดับสูงคนอื่น ๆ จึงได้ให้การสนับสนุนการก่อสร้างแนวรบที่สามอย่างเต็มที่ และได้มีการปรับเปลี่ยนจุดเน้นของแผนห้าปีมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ<ref name=":05" />{{Rp|page=7}}
บรรทัด 219: บรรทัด 219:
==== การปฏิวัติทางวัฒนธรรม ====
==== การปฏิวัติทางวัฒนธรรม ====
[[File:Zhou Li Deng.jpg|thumb|left|เติ้ง เสี่ยวผิง (ซ้าย) กับ[[หลี่ เซียนเนี่ยน]] (กลาง) และนายกรัฐมนตรี[[โจว เอินไหล]] ในปี ค.ศ. 1963]]
[[File:Zhou Li Deng.jpg|thumb|left|เติ้ง เสี่ยวผิง (ซ้าย) กับ[[หลี่ เซียนเนี่ยน]] (กลาง) และนายกรัฐมนตรี[[โจว เอินไหล]] ในปี ค.ศ. 1963]]
เหมามีความกังวลว่านโยบาย[[ลัทธิปฏิรูป|ปฏิรูป]]เศรษฐกิจของเติ้งและหลิวอาจนำไปสู่การฟื้นระบบทุนนิยมและเป็นอันสิ้นสุดการปฏิวัติจีน<ref name="autogenerated1">{{Cite news |last=Minqi Li |date=December 2008 |title=Socialism, capitalism, and class struggle: The Political economy of Modern china |work=Economic & Political Weekly}}</ref> ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นและเหตุผลอื่น ๆ เหมาจึงได้ริเริ่มการปฏิวัติทางวัฒนธรรมในปี ค.ศ. 1976 ซึ่งส่งผลให้เติ้งไม่ได้รัยความไว้วางใจและถูกบังคับให้ลาออกจากตำแหน่งทั้งหมด
เหมามีความกังวลว่านโยบาย[[ลัทธิปฏิรูป|ปฏิรูป]]เศรษฐกิจของเติ้งและหลิวอาจนำไปสู่การฟื้นระบบทุนนิยมและเป็นอันสิ้นสุดการปฏิวัติจีน<ref name="autogenerated1">{{Cite news |last=Minqi Li |date=December 2008 |title=Socialism, capitalism, and class struggle: The Political economy of Modern china |work=Economic & Political Weekly}}</ref> ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นและเหตุผลอื่น ๆ เหมาจึงได้ริเริ่มการปฏิวัติทางวัฒนธรรมใน ค.ศ. 1976 ซึ่งส่งผลให้เติ้งไม่ได้รัยความไว้วางใจและถูกบังคับให้ลาออกจากตำแหน่งทั้งหมด


ในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาและครอบครัวตกเป็นเป้าโจมตีของ[[ยุวชนแดง]] ซึ่งได้จับกุมเติ้ง ผู่ฟาง บุตรชายคนโตของเติ้งไว้ เติ้ง ผู่ฟางถูกทรมานและถูกโยนออกจากหน้าต่างอาคารสูงสี่ชั้นในปี ค.ศ. 1968 ทำให้เขาเป็น[[อัมพาตครึ่งล่าง]] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1969 เติ้ง เสี่ยวผิงถูกส่งไปใช้แรงงานที่โรงงานรถแทรกเตอร์อำเภอซินเจียน ในเขตชนบทของมณฑลเจียงซี<ref>{{Cite journal |last=Shambaugh |first=David |date=1993 |title=Deng Xiaoping: The Politician |url=https://www.jstor.org/stable/654098 |journal=[[The China Quarterly]] |volume=135 |issue=135 |pages=457–490 |doi=10.1017/S0305741000013874 |issn=0305-7410 |jstor=654098 |s2cid=154440131 |access-date=23 February 2023 |url-access=subscription |archive-date=23 February 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230223193853/https://www.jstor.org/stable/654098 |url-status=live }}</ref>{{rp|466}} ในช่วงสี่ปีที่นั่น<ref>{{Cite news |date=26 July 2004 |title=Film makers flock to tractor factory to shoot Deng's stories |publisher=News Guandong |url=http://www.newsgd.com/specials/deng100thbirthanniversary/newspictures/200407280046.htm |url-status=live |access-date=18 February 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215515/http://www.newsgd.com/specials/deng100thbirthanniversary/newspictures/200407280046.htm |archive-date=17 September 2018}}</ref> เติ้งใช้เวลาว่างไปกับการเขียนหนังสือ เขาถูกกวาดล้างในระดับประเทศ แต่ในระดับน้อยกว่าประธานาธิบดี[[หลิว เช่าฉี]]
ในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาและครอบครัวตกเป็นเป้าโจมตีของ[[ยุวชนแดง]] ซึ่งได้จับกุมเติ้ง ผู่ฟาง บุตรชายคนโตของเติ้งไว้ เติ้ง ผู่ฟางถูกทรมานและถูกโยนออกจากหน้าต่างอาคารสูงสี่ชั้นใน ค.ศ. 1968 ทำให้เขาเป็น[[อัมพาตครึ่งล่าง]] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1969 เติ้ง เสี่ยวผิงถูกส่งไปใช้แรงงานที่โรงงานรถแทรกเตอร์อำเภอซินเจียน ในเขตชนบทของมณฑลเจียงซี<ref>{{Cite journal |last=Shambaugh |first=David |date=1993 |title=Deng Xiaoping: The Politician |url=https://www.jstor.org/stable/654098 |journal=[[The China Quarterly]] |volume=135 |issue=135 |pages=457–490 |doi=10.1017/S0305741000013874 |issn=0305-7410 |jstor=654098 |s2cid=154440131 |access-date=23 February 2023 |url-access=subscription |archive-date=23 February 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230223193853/https://www.jstor.org/stable/654098 |url-status=live }}</ref>{{rp|466}} ในช่วงสี่ปีที่นั่น<ref>{{Cite news |date=26 July 2004 |title=Film makers flock to tractor factory to shoot Deng's stories |publisher=News Guandong |url=http://www.newsgd.com/specials/deng100thbirthanniversary/newspictures/200407280046.htm |url-status=live |access-date=18 February 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215515/http://www.newsgd.com/specials/deng100thbirthanniversary/newspictures/200407280046.htm |archive-date=17 September 2018}}</ref> เติ้งใช้เวลาว่างไปกับการเขียนหนังสือ เขาถูกกวาดล้างในระดับประเทศ แต่ในระดับน้อยกว่าประธานาธิบดี[[หลิว เช่าฉี]]


ในปี ค.ศ. 1971 [[หลิน เปียว]] ผู้สืบทอดตำแหน่งอย่างเป็นทางการคนที่สองของเหมาและรองประธานพรรคเพียงคนเดียวได้เสียชีวิตจาก[[เหตุการณ์หลิน เปียว|อุบัติเหตุเครื่องบินตก]] ตามรายงานอย่างเป็นทางการ หลินพยายามหลบหนีออกจากประเทศจีนหลังจากการก่อรัฐประหารเพื่อโค่นล้มเหมาล้มเหลว เหมาได้สั่งกวาดล้างพันธมิตรของหลินทั้งหมด ซึ่งดำรงตำแหน่งระดับสูงเกือบทั้งหมดในกองทัพปลดปล่อยประชาชน ทำให้เติ้ง (ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการทางการเมืองของกองทัพภาคสนามที่ 2 ในช่วงสงครามกลางเมือง) กลายเป็นผู้นำกองทัพที่มีอิทธิพลมากที่สุด<ref name="autogenerated1" /> ในเวลาต่อมา เติ้งได้เขียนจดหมายถึงเหมาถึงสองครั้งเพื่อแสดงความสำนึกผิดจากเหตุการณ์หลิน เปียว ยอมรับว่าตนเองมี "แนวโน้มทุนนิยม" และไม่ได้ "ยึดมั่นในแนวคิดของเหมา เจ๋อตง" อย่างแน่วแน่ พร้อมทั้งแสดงเจตจำนงที่จะกลับเข้ามารับใช้พรรคเพื่อชดเชยความผิดพลาดที่ได้กระทำไป<ref name="Yan1996">{{Cite book |last=Yan |first=Jiaqi |url=https://www.degruyter.com/document/doi/10.1515/9780824865313/html |title=Turbulent decade : a history of the cultural revolution |date=1996 |publisher=[[University of Hawaii Press]] |isbn=9780824865313 |editor-last=Kwok |editor-first=Daniel W. Y. |location=[[Honolulu]] |doi=10.1515/9780824865313 |author-link=Yan Jiaqi |access-date=23 February 2023}}</ref>{{rp|454}} นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล เคยเป็นผู้สืบทอดอำนาจคนที่สามของเหมา แต่ต่อมาประสบปัญหาสุขภาพด้วยโรคมะเร็ง จึงเลือกเติ้งเป็นผู้สืบทอดตำแหน่ง ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1976 เติ้งได้เดินทางกลับมายังกรุงปักกิ่ง หลังจากที่โจวได้เชิญตัวกลับจากการถูกเนรเทศเพื่อให้กลับมามีบทบาทในการฟื้นฟูเศรษฐกิจจีน<ref>{{Cite book |last=Wood |first=Michael |url=https://books.google.com/books?id=wrueDwAAQBAJ&pg=PT341 |title=The Story of China: A portrait of a civilisation and its people |date=3 September 2020 |publisher=Simon & Schuster UK |isbn=978-1-4711-7600-5 |pages=341 |quote=In 1973, Premier Zhou Enlai had brought Deng back to Beijing from exile to focus on reconstructing the Chinese economy. |access-date=18 November 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211118180611/https://books.google.com/books?id=wrueDwAAQBAJ&pg=PT341 |archive-date=18 November 2021 |url-status=live}}</ref><ref name="Yan1996" />{{rp|455}} โจวสามารถโน้มน้าวเหมาให้นำเติ้งกลับเข้ามามีบทบาททางการเมืองอีกครั้งในตำแหน่ง[[รองนายกรัฐมนตรีจีน|รองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง]]ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1974 ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วจะผู้ดูแลกิจการประจำวัน<ref>{{Cite book |last=Dillon |first=Michael |url=https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PA201 |title=Deng Xiaoping: The Man who Made Modern China |date=27 October 2014 |publisher=Bloomsbury Publishing |isbn=978-0-85772-467-0 |pages=201 |quote=A major confrontation erupted on 4 October 1974 when Mao agreed, on the advice of Zhou Enlai, that Deng should be appointed first deputy premier of the State Council. |access-date=18 November 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211118180612/https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PA201 |archive-date=18 November 2021 |url-status=live}}</ref> อย่างไรก็ตาม เขายังคงระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงการขัดแย้งกับอุดมการณ์ลัทธิเหมาบนเอกสาร ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1975 [[คณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน ชุดที่ 10|คณะกรรมาธิการกลางพรรคชุดที่ 10]] ได้มีมติเลือกเติ้งให้ดำรงตำแหน่งรองประธานพรรคเป็นครั้งแรกในชีวิตทางการเมือง ทำให้[[หลี่ เต๋อเชิง]]จำต้องลาออกจากตำแหน่งเพื่อเปิดทางให้ เติ้งเป็นหนึ่งในรองประธานทั้งห้าคน โดยมีโจวเป็นรองประธานคนแรก
ใน ค.ศ. 1971 [[หลิน เปียว]] ผู้สืบทอดตำแหน่งอย่างเป็นทางการคนที่สองของเหมาและรองประธานพรรคเพียงคนเดียวได้เสียชีวิตจาก[[เหตุการณ์หลิน เปียว|อุบัติเหตุเครื่องบินตก]] ตามรายงานอย่างเป็นทางการ หลินพยายามหลบหนีออกจากประเทศจีนหลังจากการก่อรัฐประหารเพื่อโค่นล้มเหมาล้มเหลว เหมาได้สั่งกวาดล้างพันธมิตรของหลินทั้งหมด ซึ่งดำรงตำแหน่งระดับสูงเกือบทั้งหมดในกองทัพปลดปล่อยประชาชน ทำให้เติ้ง (ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการทางการเมืองของกองทัพภาคสนามที่ 2 ในช่วงสงครามกลางเมือง) กลายเป็นผู้นำกองทัพที่มีอิทธิพลมากที่สุด<ref name="autogenerated1" /> ในเวลาต่อมา เติ้งได้เขียนจดหมายถึงเหมาถึงสองครั้งเพื่อแสดงความสำนึกผิดจากเหตุการณ์หลิน เปียว ยอมรับว่าตนเองมี "แนวโน้มทุนนิยม" และไม่ได้ "ยึดมั่นในความคิดของเหมา เจ๋อตง" อย่างแน่วแน่ พร้อมทั้งแสดงเจตจำนงที่จะกลับเข้ามารับใช้พรรคเพื่อชดเชยความผิดพลาดที่ได้กระทำไป<ref name="Yan1996">{{Cite book |last=Yan |first=Jiaqi |url=https://www.degruyter.com/document/doi/10.1515/9780824865313/html |title=Turbulent decade : a history of the cultural revolution |date=1996 |publisher=[[University of Hawaii Press]] |isbn=9780824865313 |editor-last=Kwok |editor-first=Daniel W. Y. |location=[[Honolulu]] |doi=10.1515/9780824865313 |author-link=Yan Jiaqi |access-date=23 February 2023}}</ref>{{rp|454}} นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล เคยเป็นผู้สืบทอดอำนาจคนที่สามของเหมา แต่ต่อมาประสบปัญหาสุขภาพด้วยโรคมะเร็ง จึงเลือกเติ้งเป็นผู้สืบทอดตำแหน่ง ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1976 เติ้งได้เดินทางกลับมายังกรุงปักกิ่ง หลังจากที่โจวได้เชิญตัวกลับจากการถูกเนรเทศเพื่อให้กลับมามีบทบาทในการฟื้นฟูเศรษฐกิจจีน<ref>{{Cite book |last=Wood |first=Michael |url=https://books.google.com/books?id=wrueDwAAQBAJ&pg=PT341 |title=The Story of China: A portrait of a civilisation and its people |date=3 September 2020 |publisher=Simon & Schuster UK |isbn=978-1-4711-7600-5 |pages=341 |quote=In 1973, Premier Zhou Enlai had brought Deng back to Beijing from exile to focus on reconstructing the Chinese economy. |access-date=18 November 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211118180611/https://books.google.com/books?id=wrueDwAAQBAJ&pg=PT341 |archive-date=18 November 2021 |url-status=live}}</ref><ref name="Yan1996" />{{rp|455}} โจวสามารถโน้มน้าวเหมาให้นำเติ้งกลับเข้ามามีบทบาททางการเมืองอีกครั้งในตำแหน่ง[[รองนายกรัฐมนตรีจีน|รองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง]]ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1974 ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วจะผู้ดูแลกิจการประจำวัน<ref>{{Cite book |last=Dillon |first=Michael |url=https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PA201 |title=Deng Xiaoping: The Man who Made Modern China |date=27 October 2014 |publisher=Bloomsbury Publishing |isbn=978-0-85772-467-0 |pages=201 |quote=A major confrontation erupted on 4 October 1974 when Mao agreed, on the advice of Zhou Enlai, that Deng should be appointed first deputy premier of the State Council. |access-date=18 November 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211118180612/https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PA201 |archive-date=18 November 2021 |url-status=live}}</ref> อย่างไรก็ตาม เขายังคงระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงการขัดแย้งกับอุดมการณ์ลัทธิเหมาบนเอกสาร ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1975 [[คณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน ชุดที่ 10|คณะกรรมาธิการกลางพรรคชุดที่ 10]] ได้มีมติเลือกเติ้งให้ดำรงตำแหน่งรองประธานพรรคเป็นครั้งแรกในชีวิตทางการเมือง ทำให้[[หลี่ เต๋อเชิง]]จำต้องลาออกจากตำแหน่งเพื่อเปิดทางให้ เติ้งเป็นหนึ่งในรองประธานทั้งห้าคน โดยมีโจวเป็นรองประธานคนแรก


[[File:Gerald and Betty Ford meet with Deng Xiaoping, 1975 A7598-20A.jpg|thumb|เติ้ง เสี่ยวผิง (กลาง) กับ[[เจอรัลด์ ฟอร์ด]] ประธานาธิบดีสหรัฐ (ซ้าย) ค.ศ. 1975]]
[[File:Gerald and Betty Ford meet with Deng Xiaoping, 1975 A7598-20A.jpg|thumb|เติ้ง เสี่ยวผิง (กลาง) กับ[[เจอรัลด์ ฟอร์ด]] ประธานาธิบดีสหรัฐ (ซ้าย) ค.ศ. 1975]]


ในช่วงที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในระยะเวลาอันสั้นในปี ค.ศ. 1973 เติ้งได้จัดตั้งสำนักวิจัยการเมืองขึ้น โดยมีปัญญาชน อาทิ [[หู เฉียวมู่]] [[ยฺหวี กวาง-ยฺเหวี่ยน]] และ[[หู เฉิง]] เป็นหัวหน้า มีหน้าที่ในการศึกษาค้นคว้าแนวทางปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจ เขาเป็นผู้นำกลุ่มด้วยตนเองและบริหารโครงการภายใน[[คณะมนตรีรัฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน|คณะรัฐมนตรี]] เพื่อป้องกันไม่ให้[[แก๊งออฟโฟร์]]เกิดความสงสัย
ในช่วงที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในระยะเวลาอันสั้นใน ค.ศ. 1973 เติ้งได้จัดตั้งสำนักวิจัยการเมืองขึ้น โดยมีปัญญาชน อาทิ [[หู เฉียวมู่]] [[ยฺหวี กวาง-ยฺเหวี่ยน]] และ[[หู เฉิง]] เป็นหัวหน้า มีหน้าที่ในการศึกษาค้นคว้าแนวทางปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจ เขาเป็นผู้นำกลุ่มด้วยตนเองและบริหารโครงการภายใน[[คณะมนตรีรัฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน|คณะรัฐมนตรี]] เพื่อป้องกันไม่ให้[[แก๊งออฟโฟร์]]เกิดความสงสัย


ในปี ค.ศ. 1975 เติ้งมุ่งมั่นที่จะปรับเปลี่ยนทิศทางการดำเนินงานของ[[สถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีน]]ให้หันมาให้ความสำคัญกับการวิจัยเชิงทฤษฎีมากขึ้น ซึ่งเป็นด้านที่ถูกละเลยไปในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม<ref name=":022">{{Cite book |last=Minami |first=Kazushi |title=People's Diplomacy: How Americans and Chinese Transformed US-China Relations during the Cold War |date=2024 |publisher=[[Cornell University Press]] |isbn=9781501774157 |location=Ithaca, NY}}</ref>{{Rp|page=74}} เติ้งกล่าวว่าการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในจีนนั้นล้าหลังเมื่อเทียบกับความต้องการในการสร้างสังคมนิยมและสถานะของประเทศที่พัฒนาแล้ว และได้กล่าวเพิ่มเติมว่าเพื่อให้ทันต่อความต้องการ จีนควรให้ความสำคัญกับ[[การวิจัย|วิทยาศาตร์ขั้นพื้นฐาน]]เพื่อสร้างรากฐานทางทฤษฎีที่มั่นคง<ref name=":022" />{{Rp|page=74}} แม้ว่าแนวทางนี้จะขาดความนิยมทางการเมืองในช่วงที่เติ้งถูกกวาดล้าง แต่แนวทางของเติ้งในการสร้างสมดุลระหว่างการวิจัย[[วิทยาศาสตร์ประยุกต์|ประยุกต์]]และการวิจัยพื้นฐานก็ได้รับการยอมรับให้เป็นนโยบายอย่างเป็นทางการของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีน (CAS) ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1977<ref name=":022" />{{Rp|page=75}}
ใน ค.ศ. 1975 เติ้งมุ่งมั่นที่จะปรับเปลี่ยนทิศทางการดำเนินงานของ[[สถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีน]]ให้หันมาให้ความสำคัญกับการวิจัยเชิงทฤษฎีมากขึ้น ซึ่งเป็นด้านที่ถูกละเลยไปในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม<ref name=":022">{{Cite book |last=Minami |first=Kazushi |title=People's Diplomacy: How Americans and Chinese Transformed US-China Relations during the Cold War |date=2024 |publisher=[[Cornell University Press]] |isbn=9781501774157 |location=Ithaca, NY}}</ref>{{Rp|page=74}} เติ้งกล่าวว่าการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในจีนนั้นล้าหลังเมื่อเทียบกับความต้องการในการสร้างสังคมนิยมและสถานะของประเทศที่พัฒนาแล้ว และได้กล่าวเพิ่มเติมว่าเพื่อให้ทันต่อความต้องการ จีนควรให้ความสำคัญกับ[[การวิจัย|วิทยาศาตร์ขั้นพื้นฐาน]]เพื่อสร้างรากฐานทางทฤษฎีที่มั่นคง<ref name=":022" />{{Rp|page=74}} แม้ว่าแนวทางนี้จะขาดความนิยมทางการเมืองในช่วงที่เติ้งถูกกวาดล้าง แต่แนวทางของเติ้งในการสร้างสมดุลระหว่างการวิจัย[[วิทยาศาสตร์ประยุกต์|ประยุกต์]]และการวิจัยพื้นฐานก็ได้รับการยอมรับให้เป็นนโยบายอย่างเป็นทางการของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีน (CAS) ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1977<ref name=":022" />{{Rp|page=75}}


การปฏิวัติทางวัฒนธรรมยังคงดำเนินอยู่ และกลุ่มการเมืองฝ่ายซ้ายหัวรุนแรงที่รู้จักกันในนาม "[[แก๊งออฟโฟร์]]" ที่นำโดยนาง[[เจียง ชิง]] ภริยาของเหมา ก็ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแย่งชิงอำนาจภายในพรรค กลุ่มดังกล่าวมองว่าเติ้งเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการชิงอำนาจขิงพวกเขา<ref>{{Cite web |title=Deng Rong's Memoirs: Chpt 49 |url=http://www.ls11.com/Article/jglx/gjjz/200408/4910.html |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20081227130702/http://www.ls11.com/Article/jglx/gjjz/200408/4910.html |archive-date=27 December 2008}}</ref> เหมาเองก็สงสัยว่าเติ้งจะทำลายภาพลักษณ์เชิงบวกของการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ซึ่งเหมามองว่าเป็นหนึ่งในนโยบายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของตน ตั้งแต่ปลายปี ค.ศ. 1975 เป็นต้นมา เติ้งได้รับคำสั่งให้เขียนคำ[[การวิจารณ์ตนเอง (ลัทธิมากซ์–เลนิน)|วิจารณ์ตนเอง]]หลายฉบับ แม้เขาจะยอมรับว่าได้ยึดมั่นใน "แนวคิดอุดมการณ์ที่ไม่เหมาะสม" ในการปฏิบัติงานด้านกิจการของประเทศและพรรค แต่ก็ยังลังเลที่จะยอมรับว่านโยบายของตนนั้นผิดพลาดในสาระสำคัญ ความเป็นปฏิปักษ์ระหว่างเขากับแก๊งออฟโฟ์นั้นชัดเจนมากขึ้นเรื่อย ๆ และเหมาก็ดูเหมือนจะเอนเอียงไปทางกลุ่มนั้น เหมาปฏิเสธที่จะยอมรับคำวิจารณ์ตนเองของเติ้ง และได้ขอให้คณะกรรมาธิการกลางพรรคดำเนินการ "พิจารณาข้อผิดพลาดของเติ้งอย่างละเอียด"
การปฏิวัติทางวัฒนธรรมยังคงดำเนินอยู่ และกลุ่มการเมืองฝ่ายซ้ายหัวรุนแรงที่รู้จักกันในนาม "[[แก๊งออฟโฟร์]]" ที่นำโดยนาง[[เจียง ชิง]] ภริยาของเหมา ก็ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแย่งชิงอำนาจภายในพรรค กลุ่มดังกล่าวมองว่าเติ้งเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการชิงอำนาจขิงพวกเขา<ref>{{Cite web |title=Deng Rong's Memoirs: Chpt 49 |url=http://www.ls11.com/Article/jglx/gjjz/200408/4910.html |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20081227130702/http://www.ls11.com/Article/jglx/gjjz/200408/4910.html |archive-date=27 December 2008}}</ref> เหมาเองก็สงสัยว่าเติ้งจะทำลายภาพลักษณ์เชิงบวกของการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ซึ่งเหมามองว่าเป็นหนึ่งในนโยบายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของตน ตั้งแต่ปลายปี ค.ศ. 1975 เป็นต้นมา เติ้งได้รับคำสั่งให้เขียนคำ[[การวิจารณ์ตนเอง (ลัทธิมากซ์–เลนิน)|วิจารณ์ตนเอง]]หลายฉบับ แม้เขาจะยอมรับว่าได้ยึดมั่นใน "แนวคิดอุดมการณ์ที่ไม่เหมาะสม" ในการปฏิบัติงานด้านกิจการของประเทศและพรรค แต่ก็ยังลังเลที่จะยอมรับว่านโยบายของตนนั้นผิดพลาดในสาระสำคัญ ความเป็นปฏิปักษ์ระหว่างเขากับแก๊งออฟโฟ์นั้นชัดเจนมากขึ้นเรื่อย ๆ และเหมาก็ดูเหมือนจะเอนเอียงไปทางกลุ่มนั้น เหมาปฏิเสธที่จะยอมรับคำวิจารณ์ตนเองของเติ้ง และได้ขอให้คณะกรรมาธิการกลางพรรคดำเนินการ "พิจารณาข้อผิดพลาดของเติ้งอย่างละเอียด"
บรรทัด 248: บรรทัด 248:
ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมของเหมาในวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1976 และการกวาดล้างแก๊งออฟโฟร์ในเดือนตุลาคมปีเดียวกัน นายกรัฐมนตรี[[ฮฺว่า กั๋วเฟิง]]ได้เข้าดำรงตำแหน่ง[[ประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] และค่อย ๆ ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำโดยพฤตินัยของจีน ก่อนการถึงแก่อสัญกรรมของเหมา ตำแหน่งในรัฐบาลเพียงตำแหน่งเดียวเดียวที่เติ้งดำรงอยู่คือรองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง<ref>1975–1976 and 1977–1980, Europa Publications (2002) "The People's Republic of Chine: Introductory Survey" ''The Europa World Year Book 2003'' volume 1, (44th edition) Europa Publications, London, p. 1075, col. 1, {{ISBN|1-85743-227-4}}; and Bo, Zhiyue (2007) ''China's Elite Politics: Political Transition and Power Balancing'' World Scientific, Hackensack, New Jersey, p. 59, {{ISBN|981-270-041-2}}</ref> อย่างไรก็ดี ฮฺว่า กั๋วเฟิงต้องการจะขจัดกลุ่มหัวรุนแรงออกจากพรรค และขับไล่แก๊งออฟโฟร์ออกไปได้สำเร็จ วันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1977 เติ้งได้รับการแต่งตั้งกลับคืนสู่ตำแหน่งรองประธานคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน รองประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง และประธานคณะเสนาธิการกองทัพปลดปล่อยประชาชน<ref>{{Cite news |date=22 July 1977 |title=1977: Deng Xiaoping back in power |work=BBC News |url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/july/22/newsid_2516000/2516339.stm |url-status=live |access-date=21 July 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170728025020/http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/july/22/newsid_2516000/2516339.stm |archive-date=28 July 2017}}</ref>
ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมของเหมาในวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1976 และการกวาดล้างแก๊งออฟโฟร์ในเดือนตุลาคมปีเดียวกัน นายกรัฐมนตรี[[ฮฺว่า กั๋วเฟิง]]ได้เข้าดำรงตำแหน่ง[[ประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] และค่อย ๆ ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำโดยพฤตินัยของจีน ก่อนการถึงแก่อสัญกรรมของเหมา ตำแหน่งในรัฐบาลเพียงตำแหน่งเดียวเดียวที่เติ้งดำรงอยู่คือรองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง<ref>1975–1976 and 1977–1980, Europa Publications (2002) "The People's Republic of Chine: Introductory Survey" ''The Europa World Year Book 2003'' volume 1, (44th edition) Europa Publications, London, p. 1075, col. 1, {{ISBN|1-85743-227-4}}; and Bo, Zhiyue (2007) ''China's Elite Politics: Political Transition and Power Balancing'' World Scientific, Hackensack, New Jersey, p. 59, {{ISBN|981-270-041-2}}</ref> อย่างไรก็ดี ฮฺว่า กั๋วเฟิงต้องการจะขจัดกลุ่มหัวรุนแรงออกจากพรรค และขับไล่แก๊งออฟโฟร์ออกไปได้สำเร็จ วันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1977 เติ้งได้รับการแต่งตั้งกลับคืนสู่ตำแหน่งรองประธานคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน รองประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง และประธานคณะเสนาธิการกองทัพปลดปล่อยประชาชน<ref>{{Cite news |date=22 July 1977 |title=1977: Deng Xiaoping back in power |work=BBC News |url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/july/22/newsid_2516000/2516339.stm |url-status=live |access-date=21 July 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170728025020/http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/july/22/newsid_2516000/2516339.stm |archive-date=28 July 2017}}</ref>


ด้วยการระดมกำลังสนับสนุนจากพรรคอย่างรอบคอบ เติ้งจึงสามารถเอาชนะฮฺว่า ผู้ซึ่งเคยอภัยโทษให้แก่ตนได้ และได้ขับไล่ฮฺว่าออกจากตำแหน่งผู้นำสูงสุดภายในปี ค.ศ. 1980 แตกต่างจากการเปลี่ยนแปลงผู้นำในครั้งก่อน เติ้งอนุญาตให้ฮฺว่าคงสถานะเป็นสมาชิกคณะกรรมธิการกลางและเกษียณอายุอย่างเงียบ ๆ ซึ่งเป็นการวางบรรทัดฐานใหม่ที่แสดงให้เห็นว่าการพ่ายแพ้ในการต่อสู้เพื่ออำนาจในระดับสูงจะไม่นำมาซึ่งอันตรายทางกาย
ด้วยการระดมกำลังสนับสนุนจากพรรคอย่างรอบคอบ เติ้งจึงสามารถเอาชนะฮฺว่า ผู้ซึ่งเคยอภัยโทษให้แก่ตนได้ และได้ขับไล่ฮฺว่าออกจากตำแหน่งผู้นำสูงสุดภายใน ค.ศ. 1980 แตกต่างจากการเปลี่ยนแปลงผู้นำในครั้งก่อน เติ้งอนุญาตให้ฮฺว่าคงสถานะเป็นสมาชิกคณะกรรมธิการกลางและเกษียณอายุอย่างเงียบ ๆ ซึ่งเป็นการวางบรรทัดฐานใหม่ที่แสดงให้เห็นว่าการพ่ายแพ้ในการต่อสู้เพื่ออำนาจในระดับสูงจะไม่นำมาซึ่งอันตรายทางกาย


ในช่วงที่เติ้งเป็นผู้นำสูงสุด เขาดำรงตำแหน่ง[[ประธานสภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978 ถึง 1983 และ[[ประธานคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]] (หน่วยงานเฉพาะกิจที่ประกอบด้วยสมาชิกระดับสูงที่สุดของพรรค) ของสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1983 ถึง 1990 ในขณะที่ตำแหน่งอย่างเป็นทางการในพรรคของเขาคือ[[รองประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 ถึง 1982 ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางของพรรคคอมมิวนิสต์จีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 ถึง 1989 และประธาน[[คณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 ถึง 1987 ในปี ค.ศ. 1988 เมื่อกองทัพปลดปล่อยประชาชนได้ฟื้นฟูระบบยศทางทหารขึ้นมาใหม่ เขาได้รับการเสนอยศเป็นพลเอก แต่ก็ได้ปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าวไปเช่นเดียวกับเมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเกษียณจากตำแหน่ง[[คณะกรรมาธิการสามัญประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ในปี ค.ศ. 1987 และคณะกรรมการทหารส่วนกลางในปี ค.ศ. 1989 แต่เติ้งก็ยังคงมีอิทธิพลต่อนโยบายของประเทศจีนอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1997
ในช่วงที่เติ้งเป็นผู้นำสูงสุด เขาดำรงตำแหน่ง[[ประธานสภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978 ถึง 1983 และ[[ประธานคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]] (หน่วยงานเฉพาะกิจที่ประกอบด้วยสมาชิกระดับสูงที่สุดของพรรค) ของสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1983 ถึง 1990 ในขณะที่ตำแหน่งอย่างเป็นทางการในพรรคของเขาคือ[[รองประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 ถึง 1982 ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางของพรรคคอมมิวนิสต์จีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 ถึง 1989 และประธาน[[คณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 ถึง 1987 ใน ค.ศ. 1988 เมื่อกองทัพปลดปล่อยประชาชนได้ฟื้นฟูระบบยศทางทหารขึ้นมาใหม่ เขาได้รับการเสนอยศเป็นพลเอก แต่ก็ได้ปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าวไปเช่นเดียวกับเมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเกษียณจากตำแหน่ง[[คณะกรรมาธิการสามัญประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ใน ค.ศ. 1987 และคณะกรรมการทหารส่วนกลางใน ค.ศ. 1989 แต่เติ้งก็ยังคงมีอิทธิพลต่อนโยบายของประเทศจีนอย่างต่อเนื่องกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1997


การตัดสินใจที่สำคัญมักจะกระทำขึ้น ณ บ้านเลขที่ 11 ซอยหมี่เหลียงกู่ ของเติ้ง โดยมีสมาชิกอาวุโสระดับสูงในพรรคจำนวน 8 คนที่เรียกกันว่า "[[แปดผู้เฒ่า]]" รวมถึง [[เฉิน ยฺหวิน]] และหลี่ เซียนเนี่ยน ร่วมประชุมปรึกษาหารือ<ref>{{cite web |title=百年老胡同米粮库中的那些名人"住客" |url=https://www.visitbeijing.com.cn/article/47QrNuQyRVf |website=visitbeijing.com |publisher=Beijing Tourism Network |access-date=30 April 2023 |archive-date=30 April 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230430003858/https://www.visitbeijing.com.cn/article/47QrNuQyRVf |url-status=live }}</ref><ref>{{cite web |title="家庭园艺师"邓小平 |url=http://cpc.people.com.cn/n1/2018/0907/c69113-30278378.html |website=people.com |publisher=People's Daily |access-date=30 August 2024 |archive-date=30 August 2024 |archive-url=https://web.archive.org/web/20240830004907/http://cpc.people.com.cn/n1/2018/0907/c69113-30278378.html |url-status=live }}</ref> แม้เติ้งจะได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำสูงสุด แต่ในทางปฏิบัติ กลุ่มผู้อาวุโสเหล่านี้จะร่วมกันบริหารประเทศจีนในลักษณะคณะกรรมการขนาดเล็ก<ref name=":26">{{Cite book |last=Ang |first=Yuen Yuen |url=https://archive.org/details/howchinaescapedp0000angy|title=How China Escaped the Poverty Trap |date=2016 |publisher=[[Cornell University Press]] |isbn=978-1-5017-0020-0 |doi= |jstor=10.7591/j.ctt1zgwm1j |author-link=Yuen Yuen Ang}}</ref>{{Rp|page=78}} เติ้งครองอำนาจในฐานะ "ผู้นำสูงสุด" แม้จะไม่ได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดของพรรคก็ตาม และสามารถปลดผู้นำพรรคได้สามคนติดต่อกัน รวมถึงหู เย่าปัง<ref name="scmp20120420xiang">Xiang, Lanxin (20 April 2012). "Bo Xilai probe shows up China's outdated system of government". ''South China Morning Post''</ref> เติ้งลาออกจากตำแหน่งกรรมาธิการกลางพรรค และคณะกรรมาธิการสามัญประจำกรมการเมืองของพรรค ถึงกระนั้น เขาก็ยังคงดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางของประเทศและพรรค และยังคงเป็นผู้นำสูงสุดจีนมากกว่าที่จะเป็นเลขาธิการ[[จ้าว จื่อหยาง]] ประธานาธิบดีหลี่ เซียนเนี่ยน และประธานาธิบดี[[หยาง ช่างคุน]]
การตัดสินใจที่สำคัญมักจะกระทำขึ้น ณ บ้านเลขที่ 11 ซอยหมี่เหลียงกู่ ของเติ้ง โดยมีสมาชิกอาวุโสระดับสูงในพรรคจำนวน 8 คนที่เรียกกันว่า "[[แปดผู้เฒ่า]]" รวมถึง [[เฉิน ยฺหวิน]] และหลี่ เซียนเนี่ยน ร่วมประชุมปรึกษาหารือ<ref>{{cite web |title=百年老胡同米粮库中的那些名人"住客" |url=https://www.visitbeijing.com.cn/article/47QrNuQyRVf |website=visitbeijing.com |publisher=Beijing Tourism Network |access-date=30 April 2023 |archive-date=30 April 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230430003858/https://www.visitbeijing.com.cn/article/47QrNuQyRVf |url-status=live }}</ref><ref>{{cite web |title="家庭园艺师"邓小平 |url=http://cpc.people.com.cn/n1/2018/0907/c69113-30278378.html |website=people.com |publisher=People's Daily |access-date=30 August 2024 |archive-date=30 August 2024 |archive-url=https://web.archive.org/web/20240830004907/http://cpc.people.com.cn/n1/2018/0907/c69113-30278378.html |url-status=live }}</ref> แม้เติ้งจะได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำสูงสุด แต่ในทางปฏิบัติ กลุ่มผู้อาวุโสเหล่านี้จะร่วมกันบริหารประเทศจีนในลักษณะคณะกรรมการขนาดเล็ก<ref name=":26">{{Cite book |last=Ang |first=Yuen Yuen |url=https://archive.org/details/howchinaescapedp0000angy|title=How China Escaped the Poverty Trap |date=2016 |publisher=[[Cornell University Press]] |isbn=978-1-5017-0020-0 |doi= |jstor=10.7591/j.ctt1zgwm1j |author-link=Yuen Yuen Ang}}</ref>{{Rp|page=78}} เติ้งครองอำนาจในฐานะ "ผู้นำสูงสุด" แม้จะไม่ได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดของพรรคก็ตาม และสามารถปลดผู้นำพรรคได้สามคนติดต่อกัน รวมถึงหู เย่าปัง<ref name="scmp20120420xiang">Xiang, Lanxin (20 April 2012). "Bo Xilai probe shows up China's outdated system of government". ''South China Morning Post''</ref> เติ้งลาออกจากตำแหน่งกรรมาธิการกลางพรรค และคณะกรรมาธิการสามัญประจำกรมการเมืองของพรรค ถึงกระนั้น เขาก็ยังคงดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางของประเทศและพรรค และยังคงเป็นผู้นำสูงสุดจีนมากกว่าที่จะเป็นเลขาธิการ[[จ้าว จื่อหยาง]] ประธานาธิบดีหลี่ เซียนเนี่ยน และประธานาธิบดี[[หยาง ช่างคุน]]
บรรทัด 257: บรรทัด 257:
{{Main|ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง}}
{{Main|ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง}}


เติ้งได้ปฏิเสธการปฏิวัติทางวัฒนธรรม และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้ริเริ่ม "[[ฤดูใบไม้ผลิแห่งปักกิ่ง]]" ซึ่งเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์การกระทำที่เกินขอบเขตและความทุกข์ทรมานที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าวอย่างเปิดเผย นอกจากนี้ยังได้ฟื้นฟู[[เกาเข่า|การสอบเข้ามหาวิทยาลัยระดับชาติ]] (เกาเข่า) ซึ่งถูกยกเลิกไปเป็นเวลาสิบปีในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน เขายังเป็นผู้ผลักดันให้มีการยกเลิกระบบชนชั้น ภายใต้ระบบนี้ พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้ลบอุปสรรคในการจ้างงานสำหรับชาวจีนที่ถูกระบุว่ามีความเกี่ยวข้องกับชนชั้นเจ้าของที่ดินในอดีต การลบอุปสรรคดังกล่าวเปิดโอกาสให้กลุ่มบุคคลที่สนับสนุนการฟื้นฟูตลาดเอกชนสามารถเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้
เติ้งได้ปฏิเสธการปฏิวัติทางวัฒนธรรม และใน ค.ศ. 1977 ก็ได้ริเริ่ม "[[ฤดูใบไม้ผลิแห่งปักกิ่ง]]" ซึ่งเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์การกระทำที่เกินขอบเขตและความทุกข์ทรมานที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าวอย่างเปิดเผย นอกจากนี้ยังได้ฟื้นฟู[[เกาเข่า|การสอบเข้ามหาวิทยาลัยระดับชาติ]] (เกาเข่า) ซึ่งถูกยกเลิกไปเป็นเวลาสิบปีในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน เขายังเป็นผู้ผลักดันให้มีการยกเลิกระบบชนชั้น ภายใต้ระบบนี้ พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้ลบอุปสรรคในการจ้างงานสำหรับชาวจีนที่ถูกระบุว่ามีความเกี่ยวข้องกับชนชั้นเจ้าของที่ดินในอดีต การลบอุปสรรคดังกล่าวเปิดโอกาสให้กลุ่มบุคคลที่สนับสนุนการฟื้นฟูตลาดเอกชนสามารถเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้


เติ้งค่อย ๆ เอาชนะคู่แข่งทางการเมืองของตนอย่างชาญฉลาด ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนวิพากษ์วิจารณ์การปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเปิดเผย เขาได้ลดทอนอำนาจของกลุ่มบุคคลที่ได้รับตำแหน่งทางการเมืองจากเหตุการณ์ดังกล่าว ขณะเดียวกันก็เสริมสร้างฐานะให้แก่ผู้ที่เคยถูกขับออกจากอำนาจในช่วงเวลานั้นเช่นเดียวกับตนเอง เติ้งยังได้รับการสนับสนุนจากประชาชนเป็นจำนวนมาก ขณะที่เติ้งกำลังค่อย ๆ สร้างความมั่นคงในการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์จีนนั้น ฮฺว่าได้ถูกแทนที่ด้วย[[จ้าว จื่อหยาง]]ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี ค.ศ. 1980 และโดย[[หู เย่าปัง]]ในตำแหน่งประธานพรรคในปี ค.ศ. 1981 แม้ว่าฮฺว่าจะเป็นผู้ที่เหมาไว้วางใจให้เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งผู้นำสูงสุดของพรรคและประเทศก็ตาม ในช่วงการขจัดความวุ่นวายและกลับคืนสู่ภาวะปกติ ([[ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง]]) การปฏิวัติทางวัฒนธรรมได้ถูกประกาศว่าเป็นโมฆะ และผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของคดีความที่ไม่เป็นธรรมจำนวนกว่า 3 ล้านราย ณ ปี ค.ศ. 1976 ได้รับการฟื้นฟูชื่อเสียงอย่างเป็นทางการ<ref>{{Cite web |title=1989年6月1日 吴林泉、彭飞:胡耀邦同志领导平反"六十一人案"追记-胡耀邦史料信息网 |url=http://www.hybsl.cn/zonghe/xinwen/2008-01-23/7141.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20210103094052/http://www.hybsl.cn/zonghe/xinwen/2008-01-23/7141.html |archive-date=3 January 2021 |access-date=29 April 2020 |website=www.hybsl.cn |language=zh}}</ref>
เติ้งค่อย ๆ เอาชนะคู่แข่งทางการเมืองของตนอย่างชาญฉลาด ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนวิพากษ์วิจารณ์การปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเปิดเผย เขาได้ลดทอนอำนาจของกลุ่มบุคคลที่ได้รับตำแหน่งทางการเมืองจากเหตุการณ์ดังกล่าว ขณะเดียวกันก็เสริมสร้างฐานะให้แก่ผู้ที่เคยถูกขับออกจากอำนาจในช่วงเวลานั้นเช่นเดียวกับตนเอง เติ้งยังได้รับการสนับสนุนจากประชาชนเป็นจำนวนมาก ขณะที่เติ้งกำลังค่อย ๆ สร้างความมั่นคงในการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์จีนนั้น ฮฺว่าได้ถูกแทนที่ด้วย[[จ้าว จื่อหยาง]]ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน ค.ศ. 1980 และโดย[[หู เย่าปัง]]ในตำแหน่งประธานพรรคใน ค.ศ. 1981 แม้ว่าฮฺว่าจะเป็นผู้ที่เหมาไว้วางใจให้เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งผู้นำสูงสุดของพรรคและประเทศก็ตาม ในช่วงการขจัดความวุ่นวายและกลับคืนสู่ภาวะปกติ ([[ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง]]) การปฏิวัติทางวัฒนธรรมได้ถูกประกาศว่าเป็นโมฆะ และผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของคดีความที่ไม่เป็นธรรมจำนวนกว่า 3 ล้านราย ณ ปี ค.ศ. 1976 ได้รับการฟื้นฟูชื่อเสียงอย่างเป็นทางการ<ref>{{Cite web |title=1989年6月1日 吴林泉、彭飞:胡耀邦同志领导平反"六十一人案"追记-胡耀邦史料信息网 |url=http://www.hybsl.cn/zonghe/xinwen/2008-01-23/7141.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20210103094052/http://www.hybsl.cn/zonghe/xinwen/2008-01-23/7141.html |archive-date=3 January 2021 |access-date=29 April 2020 |website=www.hybsl.cn |language=zh}}</ref>


การที่เติ้งก้าวขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของจีนนั้นหมายความว่าประเด็นทางประวัติศาสตร์และอุดมการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเหมา เจ๋อตงจำเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม เนื่องจากเติ้งปรารถนาที่จะดำเนินการปฏิรูปครั้งใหญ่ จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะสืบทอดนโยบาย "การต่อสู้ทางชนชั้น" ที่แข็งกร้าว และการรณรงค์ต่อสาธารณะของเหมา ในปี ค.ศ. 1982 คณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้เผยแพร่เอกสารเรื่อง "ประเด็นทางประวัติศาสตร์ต่างๆ นับตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน" เหมายังคงรักษาสถานะของตนในฐานะ "มาร์กซิสต์ผู้ยิ่งใหญ่ นักปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพ นักการทหาร และนายพลผู้ยิ่งใหญ่" รวมทั้งเป็นผู้ก่อตั้งและผู้บุกเบิกของประเทศและกองทัพปลดปล่อยประชาชนที่ไม่มีใครเทียบได้ เอกสารดังกล่าวระบุว่า "ควรพิจารณาถึงความสำเร็จของเขาก่อนที่จะพิจารณาถึงความผิดพลาด" เติ้งได้ให้ความเห็นส่วนตัวว่าเหมาเป็นคน "ดีเจ็ดส่วน เลวสามส่วน" เอกสารดังกล่าวยังได้เบี่ยงเบนความรับผิดชอบหลักในการปฏิวัติทางวัฒนธรรมออกจากเหมา (แม้จะระบุไว้ว่า "เหมาได้เริ่มต้นปฏิวัติทางวัฒนธรรมโดยเข้าใจผิด") ไปยัง "กลุ่มต่อต้านการปฏิวัติ" อย่างแก๊งออฟโฟร์และหลิน เปียว
การที่เติ้งก้าวขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของจีนนั้นหมายความว่าประเด็นทางประวัติศาสตร์และอุดมการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเหมาจำเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม เนื่องจากเติ้งปรารถนาที่จะดำเนินการปฏิรูปครั้งใหญ่ จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะสืบทอดนโยบาย "การต่อสู้ทางชนชั้น" ที่แข็งกร้าว และการรณรงค์ต่อสาธารณะของเหมา ใน ค.ศ. 1982 คณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้เผยแพร่เอกสารเรื่อง "ประเด็นทางประวัติศาสตร์ต่างๆ นับตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน" เหมายังคงรักษาสถานะของตนในฐานะ "มาร์กซิสต์ผู้ยิ่งใหญ่ นักปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพ นักการทหาร และนายพลผู้ยิ่งใหญ่" รวมทั้งเป็นผู้ก่อตั้งและผู้บุกเบิกของประเทศและกองทัพปลดปล่อยประชาชนที่ไม่มีใครเทียบได้ เอกสารดังกล่าวระบุว่า "ควรพิจารณาถึงความสำเร็จของเขาก่อนที่จะพิจารณาถึงความผิดพลาด" เติ้งได้ให้ความเห็นส่วนตัวว่าเหมาเป็นคน "ดีเจ็ดส่วน เลวสามส่วน" เอกสารดังกล่าวยังได้เบี่ยงเบนความรับผิดชอบหลักในการปฏิวัติทางวัฒนธรรมออกจากเหมา (แม้จะระบุไว้ว่า "เหมาได้เริ่มต้นปฏิวัติทางวัฒนธรรมโดยเข้าใจผิด") ไปยัง "กลุ่มต่อต้านการปฏิวัติ" อย่างแก๊งออฟโฟร์และหลิน เปียว


=== ความพันธ์ระหว่างประเทศ ===
=== ความพันธ์ระหว่างประเทศ ===
บรรทัด 276: บรรทัด 276:
[[ความสัมพันธ์จีน–ญี่ปุ่น|ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับญี่ปุ่น]]มีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง<ref>(Article 2) "The Contracting Parties declare that neither of them should seek [[hegemony]] in the Asia-Pacific region or in any other region and that each is opposed to efforts by any other country or group of countries to establish such hegemony." [http://www.mofa.go.jp/region/asia-paci/china/treaty78.html MOFA: Treaty of Peace and Friendship between Japan and the People's Republic of China] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170609105736/http://www.mofa.go.jp/region/asia-paci/china/treaty78.html |date=9 June 2017 }}</ref> เติ้งได้ยกญี่ปุ่นเป็นตัวอย่างของประเทศที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว และเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านเศรษฐกิจให้แก่ประเทศจีน<ref> Perkins, D in Barnett, A Doak and Ralph N Clough, Modernizing China : Post-Mao Reform and Development (Westgview Press, 1986), p 58.</ref>
[[ความสัมพันธ์จีน–ญี่ปุ่น|ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับญี่ปุ่น]]มีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง<ref>(Article 2) "The Contracting Parties declare that neither of them should seek [[hegemony]] in the Asia-Pacific region or in any other region and that each is opposed to efforts by any other country or group of countries to establish such hegemony." [http://www.mofa.go.jp/region/asia-paci/china/treaty78.html MOFA: Treaty of Peace and Friendship between Japan and the People's Republic of China] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170609105736/http://www.mofa.go.jp/region/asia-paci/china/treaty78.html |date=9 June 2017 }}</ref> เติ้งได้ยกญี่ปุ่นเป็นตัวอย่างของประเทศที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว และเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านเศรษฐกิจให้แก่ประเทศจีน<ref> Perkins, D in Barnett, A Doak and Ralph N Clough, Modernizing China : Post-Mao Reform and Development (Westgview Press, 1986), p 58.</ref>


ในระยะแรก เติ้งยังคงยึดมั่นในแนวทางลัทธิเหมาในยุคที่[[ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต|จีนแตกแยกกับโซเวียต]] ซึ่งมองว่าสหภาพโซเวียตเป็นมหาอำนาจที่มีลักษณะ "ครอบงำ" เช่นเดียวกับสหรัฐ แต่เป็นภัยคุกคามต่อจีนมากกว่าเนื่องจากตั้งอยู่ใกล้ชิด<ref>Michael E. Marti in ''China and the Legacy of Deng Xiaoping'', (Brassy's, 2002) p. 19.</ref> ความสัมพันธ์กับสหภาพโซเวียตเป็นไปในทางที่ดีขึ้นภายหลังจากที่[[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]]ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้นำในปี ค.ศ. 1985 และในที่สุดความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการระหว่างทั้งสองประเทศก็ได้รับการฟื้นฟูอย่างเป็นทางการใน[[การประชุมสุดยอดจีน–โซเวียต ค.ศ. 1989|การประชุมสุดยอดจีน–โซเวียตในปี ค.ศ. 1989]]<ref>{{Cite news |last=Parks |first=Michael |date=15 May 1989 |title=Gorbachev in China: The Communist Summit: Deng and Gorbachev: Great Reformers Battling Socialist Crises |work=Los Angeles Times |url=https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1989-05-15-mn-141-story.html |url-status=live |access-date=8 March 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200729224552/https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1989-05-15-mn-141-story.html |archive-date=29 July 2020}}</ref>
ในระยะแรก เติ้งยังคงยึดมั่นในแนวทางลัทธิเหมาในยุคที่[[ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต|จีนแตกแยกกับโซเวียต]] ซึ่งมองว่าสหภาพโซเวียตเป็นมหาอำนาจที่มีลักษณะ "ครอบงำ" เช่นเดียวกับสหรัฐ แต่เป็นภัยคุกคามต่อจีนมากกว่าเนื่องจากตั้งอยู่ใกล้ชิด<ref>Michael E. Marti in ''China and the Legacy of Deng Xiaoping'', (Brassy's, 2002) p. 19.</ref> ความสัมพันธ์กับสหภาพโซเวียตเป็นไปในทางที่ดีขึ้นภายหลังจากที่[[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]]ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้นำใน ค.ศ. 1985 และในที่สุดความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการระหว่างทั้งสองประเทศก็ได้รับการฟื้นฟูอย่างเป็นทางการใน[[การประชุมสุดยอดจีน–โซเวียต ค.ศ. 1989|การประชุมสุดยอดจีน–โซเวียตใน ค.ศ. 1989]]<ref>{{Cite news |last=Parks |first=Michael |date=15 May 1989 |title=Gorbachev in China: The Communist Summit: Deng and Gorbachev: Great Reformers Battling Socialist Crises |work=Los Angeles Times |url=https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1989-05-15-mn-141-story.html |url-status=live |access-date=8 March 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200729224552/https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1989-05-15-mn-141-story.html |archive-date=29 July 2020}}</ref>


เติ้งตอบโต้การคว่ำบาตรของชาติตะวันตกหลังจากการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินโดยการนำ "หลักการยี่สิบสี่อักษร" มาใช้ในการดำเนินกิจการระหว่างประเทศของจีน ซึ่งมีใจความสำคัญคือ สังเกตสถานการณ์อย่างรอบคอบ (冷静观察), รักษาจุดยืนของชาติ (稳住阵脚), รับมือความท้าทายอย่างสงบ (沉着应付), ซ่อนศักยภาพของประเทศและคอยโอกาสที่เหมาะสม (韬光养晦), ทำตัวให้ต่ำต้อย (善于守拙) และเลี่ยงการแสดงบทบาทผู้นำ (绝不当头)<ref>{{Cite book |last=Zhao |first=Suisheng |url=https://www.worldcat.org/oclc/1332788951 |title=The dragon roars back : transformational leaders and dynamics of Chinese foreign policy |date=2023 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-3415-2 |location=Stanford, California |pages=62 |oclc=1332788951}}</ref>
เติ้งตอบโต้การคว่ำบาตรของชาติตะวันตกหลังจากการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินโดยการนำ "หลักการยี่สิบสี่อักษร" มาใช้ในการดำเนินกิจการระหว่างประเทศของจีน ซึ่งมีใจความสำคัญคือ สังเกตสถานการณ์อย่างรอบคอบ (冷静观察), รักษาจุดยืนของชาติ (稳住阵脚), รับมือความท้าทายอย่างสงบ (沉着应付), ซ่อนศักยภาพของประเทศและคอยโอกาสที่เหมาะสม (韬光养晦), ทำตัวให้ต่ำต้อย (善于守拙) และเลี่ยงการแสดงบทบาทผู้นำ (绝不当头)<ref>{{Cite book |last=Zhao |first=Suisheng |url=https://www.worldcat.org/oclc/1332788951 |title=The dragon roars back : transformational leaders and dynamics of Chinese foreign policy |date=2023 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-3415-2 |location=Stanford, California |pages=62 |oclc=1332788951}}</ref>
บรรทัด 282: บรรทัด 282:
การสิ้นสุดของสงครามเย็นและ[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]]ได้ทำลายแรงจูงใจดั้งเดิมที่เป็นพื้นฐานของการปรองดองระหว่างจีนกับสหรัฐ<ref name=":7">{{Cite book |last=Zhao |first=Suisheng |url=http://dx.doi.org/10.1515/9781503634152 |title=The Dragon Roars Back: Transformational Leaders and Dynamics of Chinese Foreign Policy |date=2022 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-3415-2 |pages=51 |doi=10.1515/9781503634152 |access-date=1 January 2023 |archive-date=13 April 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230413153307/https://www.degruyter.com/document/doi/10.1515/9781503634152/html |url-status=live }}</ref> เติ้งมีความกังวลว่าสหรัฐอาจจะลดการสนับสนุนการปฏิรูปประเทศจีนให้ทันสมัย จึงได้ดำเนินนโยบายต่างประเทศที่ไม่เปิดเผยตัวเพื่อยอมรับสถานะผู้นำของสหรัฐ และมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาภายในประเทศเป็นหลัก<ref name=":7" /> ในช่วงเวลานี้ของนโยบายต่างประเทศ จีนได้ให้ความสำคัญกับการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน และการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในสถาบันพหุภาคี<ref name=":7" /> ดังที่ศาสตราจารย์[[จ้าว ซุ่ยเชิง]] ได้ประเมินมรดกทางนโยบายต่างประเทศของเติ้งไว้ว่า "การทูตเพื่อการพัฒนาของเติ้งได้ช่วยสร้างสภาพแวดล้อมภายนอกที่เอื้ออำนวยต่อการผงาดขึ้นของจีนในศตวรรษที่ 21 ผู้สืบทอดที่เขาเลือกเองกับมืออย่าง[[เจียง เจ๋อหมิน]] และ[[หู จิ่นเทา]] ต่างก็ดำเนินรอยตามแนวทางของเขาอย่างซื่อสัตย์ "<ref name=":7" />
การสิ้นสุดของสงครามเย็นและ[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]]ได้ทำลายแรงจูงใจดั้งเดิมที่เป็นพื้นฐานของการปรองดองระหว่างจีนกับสหรัฐ<ref name=":7">{{Cite book |last=Zhao |first=Suisheng |url=http://dx.doi.org/10.1515/9781503634152 |title=The Dragon Roars Back: Transformational Leaders and Dynamics of Chinese Foreign Policy |date=2022 |publisher=[[Stanford University Press]] |isbn=978-1-5036-3415-2 |pages=51 |doi=10.1515/9781503634152 |access-date=1 January 2023 |archive-date=13 April 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230413153307/https://www.degruyter.com/document/doi/10.1515/9781503634152/html |url-status=live }}</ref> เติ้งมีความกังวลว่าสหรัฐอาจจะลดการสนับสนุนการปฏิรูปประเทศจีนให้ทันสมัย จึงได้ดำเนินนโยบายต่างประเทศที่ไม่เปิดเผยตัวเพื่อยอมรับสถานะผู้นำของสหรัฐ และมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาภายในประเทศเป็นหลัก<ref name=":7" /> ในช่วงเวลานี้ของนโยบายต่างประเทศ จีนได้ให้ความสำคัญกับการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน และการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในสถาบันพหุภาคี<ref name=":7" /> ดังที่ศาสตราจารย์[[จ้าว ซุ่ยเชิง]] ได้ประเมินมรดกทางนโยบายต่างประเทศของเติ้งไว้ว่า "การทูตเพื่อการพัฒนาของเติ้งได้ช่วยสร้างสภาพแวดล้อมภายนอกที่เอื้ออำนวยต่อการผงาดขึ้นของจีนในศตวรรษที่ 21 ผู้สืบทอดที่เขาเลือกเองกับมืออย่าง[[เจียง เจ๋อหมิน]] และ[[หู จิ่นเทา]] ต่างก็ดำเนินรอยตามแนวทางของเขาอย่างซื่อสัตย์ "<ref name=":7" />


ในปี ค.ศ. 1990 ระหว่างการพบปะกับนายกรัฐมนตรี[[พีเอร์ ทรูโด]] แห่งแคนาดา เติ้งได้กล่าวไว้ว่า "หลักการสำคัญที่ควบคุมระเบียบโลกใหม่ควรเป็นการไม่แทรกแซงกิจการภายในและระบบสังคมของประเทศอื่น การบังคับให้ทุกประเทศในโลกทำตามแบบแผนที่สหรัฐ อังกฤษ และฝรั่งเศสวางไว้นั้นจะไม่เป็นผล<ref>{{cite book |title=Chinese Foreign Policy Under Xi |date=2017 |publisher=Taylor & Francis |page=115}}</ref> เติ้งได้สนับสนุน[[หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5 ประการ]] โดยระบุว่าหลักการเหล่านี้ควรนำมาใช้เป็น "บรรทัดฐานนำทางในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ"<ref>{{cite book |title=Comparative Development of India & China Economic, Technological, Sectoral & Socio-cultural Insights |date=2020 |publisher=SAGE Publications |page=372}}</ref>
ใน ค.ศ. 1990 ระหว่างการพบปะกับนายกรัฐมนตรี[[พีเอร์ ทรูโด]] แห่งแคนาดา เติ้งได้กล่าวไว้ว่า "หลักการสำคัญที่ควบคุมระเบียบโลกใหม่ควรเป็นการไม่แทรกแซงกิจการภายในและระบบสังคมของประเทศอื่น การบังคับให้ทุกประเทศในโลกทำตามแบบแผนที่สหรัฐ อังกฤษ และฝรั่งเศสวางไว้นั้นจะไม่เป็นผล<ref>{{cite book |title=Chinese Foreign Policy Under Xi |date=2017 |publisher=Taylor & Francis |page=115}}</ref> เติ้งได้สนับสนุน[[หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5 ประการ]] โดยระบุว่าหลักการเหล่านี้ควรนำมาใช้เป็น "บรรทัดฐานนำทางในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ"<ref>{{cite book |title=Comparative Development of India & China Economic, Technological, Sectoral & Socio-cultural Insights |date=2020 |publisher=SAGE Publications |page=372}}</ref>


=== การปฏิรูปและเปิดกว้าง ===
=== การปฏิรูปและเปิดกว้าง ===
บรรทัด 291: บรรทัด 291:
{{Main|สี่ทันสมัย}}
{{Main|สี่ทันสมัย}}


เติ้งได้กล่าวถึงสุภาษิตโบราณที่ว่า "ไม่สำคัญว่าแมวจะสีดำหรือขาว ตราบใดที่มันจับหนูได้ มันก็คือแมวที่ดี" ประเด็นที่ต้องการจะสื่อคือวิธีการแบบทุนนิยมนั้นได้ผล<ref>{{Cite book |last1=John Naisbitt |url=https://archive.org/details/chinasmegatrends00nais_0 |title=China's Megatrends: The 8 Pillars of a New Society |last2=Doris Naisbitt |publisher=HarperBusiness |year=2010 |isbn=9780061963445 |page=[https://archive.org/details/chinasmegatrends00nais_0/page/4 4] |url-access=registration}}</ref> เติ้งได้ร่วมงานกับคณะทำงานของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับจ้าว จื่อหยาง ซึ่งได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี ค.ศ. 1980 แทนฮฺว่า กั๋วเฟิง และหู เย่าปัง ซึ่งได้เข้ารับตำแหน่งประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีนในปี ค.ศ. 1981 เติ้งจึงได้กุมบังเหียนและเริ่มเน้นย้ำเป้าหมายในการ "พัฒนาประเทศให้ทันสมัยใน 4 ด้าน" อันได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ การเกษตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการป้องกันประเทศ เขาได้ประกาศแผนการที่ทะเยอทะยานในการเปิดประเทศและเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ<ref>{{Cite journal|last=Mason|first=David|year=1984|title=China's Four Modernizations: Blueprint for Development or Prelude to Turmoil?|journal=Asian Affairs|volume=11|pages=47–70|doi=10.1080/00927678.1984.10553699|number=3}}</ref>
เติ้งได้กล่าวถึงสุภาษิตโบราณที่ว่า "ไม่สำคัญว่าแมวจะสีดำหรือขาว ตราบใดที่มันจับหนูได้ มันก็คือแมวที่ดี" ประเด็นที่ต้องการจะสื่อคือวิธีการแบบทุนนิยมนั้นได้ผล<ref>{{Cite book |last1=John Naisbitt |url=https://archive.org/details/chinasmegatrends00nais_0 |title=China's Megatrends: The 8 Pillars of a New Society |last2=Doris Naisbitt |publisher=HarperBusiness |year=2010 |isbn=9780061963445 |page=[https://archive.org/details/chinasmegatrends00nais_0/page/4 4] |url-access=registration}}</ref> เติ้งได้ร่วมงานกับคณะทำงานของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับจ้าว จื่อหยาง ซึ่งได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน ค.ศ. 1980 แทนฮฺว่า กั๋วเฟิง และหู เย่าปัง ซึ่งได้เข้ารับตำแหน่งประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีนใน ค.ศ. 1981 เติ้งจึงได้กุมบังเหียนและเริ่มเน้นย้ำเป้าหมายในการ "พัฒนาประเทศให้ทันสมัยใน 4 ด้าน" อันได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ การเกษตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการป้องกันประเทศ เขาได้ประกาศแผนการที่ทะเยอทะยานในการเปิดประเทศและเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ<ref>{{Cite journal|last=Mason|first=David|year=1984|title=China's Four Modernizations: Blueprint for Development or Prelude to Turmoil?|journal=Asian Affairs|volume=11|pages=47–70|doi=10.1080/00927678.1984.10553699|number=3}}</ref>


ตำแหน่งอำนาจสุดท้ายที่เหลืออยู่ของฮฺว่า กั๋วเฟิง คือ ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง ถูกเติ้งยึดไปในปี ค.ศ. 1981 อย่างไรก็ดี ความคืบหน้าในการปรับปรุงกองทัพกลับดำเนินไปอย่างเชื่องช้า [[สงครามจีน–เวียดนาม|สงครามชายแดนกับเวียดนาม]]ในปี ค.ศ. 1977–1979 ทำให้การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม สงครามครั้งนี้สร้างความงุนงงให้แก่ผู้สังเกตการณ์ภายนอก จาง เสี่ยวหมิงได้ให้เหตุผลว่าเติ้งมีเป้าหมายหลายประการ ได้แก่ การยับยั้งการขยายอิทธิพลของโซเวียตในภูมิภาค การขอรับการสนับสนุนจากสหรัฐเพื่อดำเนินนโยบายสี่ทันสมัย และการกระตุ้นให้ประเทศจีนเข้าสู่กระบวนการปฏิรูปและบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เติ้งยังพยายามที่จะเสริมสร้างอำนาจการควบคุมกองทัพปลดปล่อยประชาชนของตน และแสดงให้โลกเห็นว่าประเทศจีนมีความสามารถในการทำสงครามที่แท้จริง จางเห็นว่าการลงโทษเวียดนามเนื่องจากการรุกรานกัมพูชาเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญน้อย<ref>{{Cite journal |last=Zhang |first=Xiaoming |year=2010 |title=Deng Xiaoping and China's Decision to go to War with Vietnam |journal=Journal of Cold War Studies |volume=12 |issue=3 |pages=3–29 |doi=10.1162/JCWS_a_00001 |s2cid=57559703}}</ref> ในเหตุการณ์ดังกล่าว กองกำลังของจีนประสบความล้มเหลวอย่างมากทั้งในด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ กลยุทธ์ การนำทัพ และประสิทธิภาพในการรบ{{sfnb|Vogel|2011|p=526–535}} ต่อมาเติ้งได้ใช้ผลงานที่ย่ำแย่ของกองทัพปลดปล่อยประชาชนเป็นเครื่องมือในการเอาชนะการต่อต้านการปฏิรูปกองทัพของผู้นำทางทหาร<ref name=":05" />{{Rp|page=230}}
ตำแหน่งอำนาจสุดท้ายที่เหลืออยู่ของฮฺว่า กั๋วเฟิง คือ ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง ถูกเติ้งยึดไปใน ค.ศ. 1981 อย่างไรก็ดี ความคืบหน้าในการปรับปรุงกองทัพกลับดำเนินไปอย่างเชื่องช้า [[สงครามจีน–เวียดนาม|สงครามชายแดนกับเวียดนาม]]ใน ค.ศ. 1977–1979 ทำให้การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม สงครามครั้งนี้สร้างความงุนงงให้แก่ผู้สังเกตการณ์ภายนอก จาง เสี่ยวหมิงได้ให้เหตุผลว่าเติ้งมีเป้าหมายหลายประการ ได้แก่ การยับยั้งการขยายอิทธิพลของโซเวียตในภูมิภาค การขอรับการสนับสนุนจากสหรัฐเพื่อดำเนินนโยบายสี่ทันสมัย และการกระตุ้นให้ประเทศจีนเข้าสู่กระบวนการปฏิรูปและบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เติ้งยังพยายามที่จะเสริมสร้างอำนาจการควบคุมกองทัพปลดปล่อยประชาชนของตน และแสดงให้โลกเห็นว่าประเทศจีนมีความสามารถในการทำสงครามที่แท้จริง จางเห็นว่าการลงโทษเวียดนามเนื่องจากการรุกรานกัมพูชาเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญน้อย<ref>{{Cite journal |last=Zhang |first=Xiaoming |year=2010 |title=Deng Xiaoping and China's Decision to go to War with Vietnam |journal=Journal of Cold War Studies |volume=12 |issue=3 |pages=3–29 |doi=10.1162/JCWS_a_00001 |s2cid=57559703}}</ref> ในเหตุการณ์ดังกล่าว กองกำลังของจีนประสบความล้มเหลวอย่างมากทั้งในด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ กลยุทธ์ การนำทัพ และประสิทธิภาพในการรบ{{sfnb|Vogel|2011|p=526–535}} ต่อมาเติ้งได้ใช้ผลงานที่ย่ำแย่ของกองทัพปลดปล่อยประชาชนเป็นเครื่องมือในการเอาชนะการต่อต้านการปฏิรูปกองทัพของผู้นำทางทหาร<ref name=":05" />{{Rp|page=230}}


ภัยคุกคามทางทหารหลักของจีนมาจากสหภาพโซเวียต ซึ่งแม้จะมีกำลังพลน้อยกว่าแต่กลับมีความแข็งแกร่งเหนือกว่าอย่างมาก เนื่องมาจากมีเทคโนโลยีอาวุธที่ก้าวหน้ากว่า ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1981 เติ้งเห็นว่า[[การซ้อมรบ]]เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับกองทัพปลดปล่อยประชาชน และในเดือนกันยายนปีเดียวกันก็ได้มีการจัด[[การซ้อมรบภาคเหนือขึ้น]] ซึ่งนับเป็นการซ้อมรบครั้งใหญ่ที่สุดของกองทัพปลดปล่อยประชาชนนับตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน ยิ่งไปกว่านั้น เติ้งได้ริเริ่ม[[การปรับปรุงของกองทัพปลดปล่อยประชาชน]]ให้ทันสมัย และตัดสินใจว่าจีนจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์พลเรือนขั้นสูงเสียก่อนจึงจะหวังสร้างอาวุธสมัยใหม่ได้ ด้วยเหตุนี่เขาจึงมุ่งเน้นไปที่การลดขนาดกองทัพโดยการปลดทหารจำนวน 1 ล้านนายในปี ค.ศ. 1985 (百万大裁军; ไป่ว่านต้าไฉ่-จฺวิน)<ref name=":02">{{Cite web |date=6 May 1985 |title=Troop Cut to Save Money, Deng Says |url=https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1985-05-06-mn-4457-story.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200622133140/https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1985-05-06-mn-4457-story.html |archive-date=22 June 2020 |access-date=20 June 2020 |website=[[Los Angeles Times]]}}</ref> รวมถึงการปลดเหล่านายทหารชั้นผู้ใหญ่ที่มีอายุมากและมีความประพฤติมิชอบ ตลอดจนพวกพ้องของบุคคลเหล่านั้น เขาเน้นย้ำถึงการสรรหาชายหนุ่มที่มีการศึกษาดีกว่ามาก ซึ่งจะสามารถควบคุมเทคโนโลยีขั้นสูงได้เมื่อเทคโนโลยีนั้นพร้อมใช้งาน แทนที่จะละเลยให้มีการอุปถัมภ์และการทุจริตในหมู่นายทหาร เขากลับบังคับใช้ระเบียบวินัยที่เข้มงวดในทุกระดับชั้น ในปี ค.ศ. 1982 เขาได้จัดตั้งคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศขึ้นใหม่ เพื่อวางแผนการนำเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นในภาคพลเรือนมาประยุกต์ใช้{{sfnb|Vogel|2011|p=535–552}}<ref>{{Cite journal |last=Dreyer |first=June Teufel |year=1988 |title=Deng Xiaoping and Modernization of the Chinese Military |url=https://archive.org/details/sim_armed-forces-and-society_winter-1988_14_2/page/n56 |journal=Armed Forces & Society |volume=14 |issue=2 |pages=215–231 |doi=10.1177/0095327X8801400203 |s2cid=144391672}}</ref>
ภัยคุกคามทางทหารหลักของจีนมาจากสหภาพโซเวียต ซึ่งแม้จะมีกำลังพลน้อยกว่าแต่กลับมีความแข็งแกร่งเหนือกว่าอย่างมาก เนื่องมาจากมีเทคโนโลยีอาวุธที่ก้าวหน้ากว่า ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1981 เติ้งเห็นว่า[[การซ้อมรบ]]เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับกองทัพปลดปล่อยประชาชน และในเดือนกันยายนปีเดียวกันก็ได้มีการจัด[[การซ้อมรบภาคเหนือขึ้น]] ซึ่งนับเป็นการซ้อมรบครั้งใหญ่ที่สุดของกองทัพปลดปล่อยประชาชนนับตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน ยิ่งไปกว่านั้น เติ้งได้ริเริ่ม[[การปรับปรุงของกองทัพปลดปล่อยประชาชน]]ให้ทันสมัย และตัดสินใจว่าจีนจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์พลเรือนขั้นสูงเสียก่อนจึงจะหวังสร้างอาวุธสมัยใหม่ได้ ด้วยเหตุนี่เขาจึงมุ่งเน้นไปที่การลดขนาดกองทัพโดยการปลดทหารจำนวน 1 ล้านนายใน ค.ศ. 1985 (百万大裁军; ไป่ว่านต้าไฉ่-จฺวิน)<ref name=":02">{{Cite web |date=6 May 1985 |title=Troop Cut to Save Money, Deng Says |url=https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1985-05-06-mn-4457-story.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200622133140/https://www.latimes.com/archives/la-xpm-1985-05-06-mn-4457-story.html |archive-date=22 June 2020 |access-date=20 June 2020 |website=[[Los Angeles Times]]}}</ref> รวมถึงการปลดเหล่านายทหารชั้นผู้ใหญ่ที่มีอายุมากและมีความประพฤติมิชอบ ตลอดจนพวกพ้องของบุคคลเหล่านั้น เขาเน้นย้ำถึงการสรรหาชายหนุ่มที่มีการศึกษาดีกว่ามาก ซึ่งจะสามารถควบคุมเทคโนโลยีขั้นสูงได้เมื่อเทคโนโลยีนั้นพร้อมใช้งาน แทนที่จะละเลยให้มีการอุปถัมภ์และการทุจริตในหมู่นายทหาร เขากลับบังคับใช้ระเบียบวินัยที่เข้มงวดในทุกระดับชั้น ใน ค.ศ. 1982 เขาได้จัดตั้งคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศขึ้นใหม่ เพื่อวางแผนการนำเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นในภาคพลเรือนมาประยุกต์ใช้{{sfnb|Vogel|2011|p=535–552}}<ref>{{Cite journal |last=Dreyer |first=June Teufel |year=1988 |title=Deng Xiaoping and Modernization of the Chinese Military |url=https://archive.org/details/sim_armed-forces-and-society_winter-1988_14_2/page/n56 |journal=Armed Forces & Society |volume=14 |issue=2 |pages=215–231 |doi=10.1177/0095327X8801400203 |s2cid=144391672}}</ref>


==== สามขั้นตอนสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ ====
==== สามขั้นตอนสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ ====
ในปี ค.ศ. 1986 เติ้งได้ให้สัมภาษณ์กับ[[ไมก์ วอลเลซ]] ในรายการ [[60 Minutes]] โดยอธิบายว่าการที่ประชาชนบางกลุ่มและบางภูมิภาคจะเจริญรุ่งเรืองก่อนนั้น จะเป็นการเร่งให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองร่วมกันได้เร็วขึ้น<ref>{{Cite book |last=Paulson |first=Henry M. |title=Dealing with China : an insider unmasks the new economic superpower |date=2015 |isbn=9781455504213 |edition=First |location=New York |page=21}}</ref> ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1987 ในการประชุมสมัยสามัญเต็มคณะของสภาประชาชนแห่งชาติ เติ้งได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธาน[[คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|คณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]]อีกวาระหนึ่ง แต่ได้ลาออกจากตำแหน่งประธาน[[คณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง]] และ[[เฉิน ยฺหวิน]]ก็ได้เข้ารับตำแหน่งแทน เติ้งยังคงทำหน้าที่เป็นประธานและพัฒนาการปฏิรูปและเปิดกว้างเป็นนโยบายหลัก และได้เสนอสามขั้นตอนที่เหมาะสมสำหรับยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนภายใน 70 ปี ขั้นตอนแรกคือการเพิ่ม[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]] (GDP) ให้เป็นสองเท่าของปี ค.ศ. 1980 และทำให้ประชาชนมีอาหารและเสื้อผ้าเพียงพอ ซึ่งบรรลุเป้าหมายภายในสิ้นทศวรรษที่ 1980 ขั้นตอนที่สองคือการเพิ่ม GDP เป็นสี่เท่าของปี ค.ศ. 1980 ภายในสิ้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งบรรลุเป้าหมายในปี ค.ศ. 1995 ขั้นตอนที่สามคือการเพิ่ม GDP ต่อหัวให้เท่ากับระดับประเทศที่มีการพัฒนาปานกลางภายในปี ค.ศ. 2050 เมื่อถึงจุดนั้น ประชาชนจีนจะค่อนข้างมีความเป็นอยู่ที่ดี และการพัฒนาให้ทันสมัยจะบรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง<ref>{{Cite web |title=The Three-Step Development Strategy |url=http://www.china.org.cn/english/features/38199.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215520/http://www.china.org.cn/english/features/38199.htm |archive-date=17 September 2018 |access-date=28 November 2010 |publisher=china.org.cn}}</ref>
ใน ค.ศ. 1986 เติ้งได้ให้สัมภาษณ์กับ[[ไมก์ วอลเลซ]] ในรายการ [[ซิกตีมินิตส์|60 Minutes]] โดยอธิบายว่าการที่ประชาชนบางกลุ่มและบางภูมิภาคจะเจริญรุ่งเรืองก่อนนั้น จะเป็นการเร่งให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองร่วมกันได้เร็วขึ้น<ref>{{Cite book |last=Paulson |first=Henry M. |title=Dealing with China : an insider unmasks the new economic superpower |date=2015 |isbn=9781455504213 |edition=First |location=New York |page=21}}</ref> ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1987 ในการประชุมสมัยสามัญเต็มคณะของสภาประชาชนแห่งชาติ เติ้งได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธาน[[คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|คณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]]อีกวาระหนึ่ง แต่ได้ลาออกจากตำแหน่งประธาน[[คณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง]] และ[[เฉิน ยฺหวิน]]ก็ได้เข้ารับตำแหน่งแทน เติ้งยังคงทำหน้าที่เป็นประธานและพัฒนาการปฏิรูปและเปิดกว้างเป็นนโยบายหลัก และได้เสนอสามขั้นตอนที่เหมาะสมสำหรับยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนภายใน 70 ปี ขั้นตอนแรกคือการเพิ่ม[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]] (GDP) ให้เป็นสองเท่าของ ค.ศ. 1980 และทำให้ประชาชนมีอาหารและเสื้อผ้าเพียงพอ ซึ่งบรรลุเป้าหมายภายในสิ้นคริสต์ทศวรรษ 1980 ขั้นตอนที่สองคือการเพิ่ม GDP เป็นสี่เท่าของ ค.ศ. 1980 ภายในสิ้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งบรรลุเป้าหมายใน ค.ศ. 1995 ขั้นตอนที่สามคือการเพิ่ม GDP ต่อหัวให้เท่ากับระดับประเทศที่มีการพัฒนาปานกลางภายใน ค.ศ. 2050 เมื่อถึงจุดนั้น ประชาชนจีนจะค่อนข้างมีความเป็นอยู่ที่ดี และการพัฒนาให้ทันสมัยจะบรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง<ref>{{Cite web |title=The Three-Step Development Strategy |url=http://www.china.org.cn/english/features/38199.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180917215520/http://www.china.org.cn/english/features/38199.htm |archive-date=17 September 2018 |access-date=28 November 2010 |publisher=china.org.cn}}</ref>


==== การปฏิรูปอื่น ๆ ====
==== การปฏิรูปอื่น ๆ ====
บรรทัด 305: บรรทัด 305:
การปรับปรุงความสัมพันธ์กับต่างประเทศเป็นหนึ่งในปรัชญาสำคัญสองประการที่ระบุไว้ในโครงการปฏิรูปของเติ้งซึ่งเรียกว่า "ไก่เก๋อไคฟ่าง" (แปลตรงตัว การปฏิรูปและเปิดกว้าง) ภายใต้การนำของเติ้ง ระบบภายในประเทศของจีนไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การเมือง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ ล้วนประสบกับการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เป้าหมายของการปฏิรูปของเติ้งสามารถสรุปได้ด้วยนโยบาย "[[สี่ทันสมัย]]" อันได้แก่ ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการทหาร
การปรับปรุงความสัมพันธ์กับต่างประเทศเป็นหนึ่งในปรัชญาสำคัญสองประการที่ระบุไว้ในโครงการปฏิรูปของเติ้งซึ่งเรียกว่า "ไก่เก๋อไคฟ่าง" (แปลตรงตัว การปฏิรูปและเปิดกว้าง) ภายใต้การนำของเติ้ง ระบบภายในประเทศของจีนไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การเมือง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ ล้วนประสบกับการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เป้าหมายของการปฏิรูปของเติ้งสามารถสรุปได้ด้วยนโยบาย "[[สี่ทันสมัย]]" อันได้แก่ ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการทหาร


กลยุทธ์ในการบรรลุเป้าหมายในการเป็นประเทศอุตสาหกรรมสมัยใหม่คือ [[เศรษฐกิจตลาดแบบสังคมนิยม]] เติ้งได้ให้เหตุผลว่าจีนอยู่ใน[[ขั้นตอนแรกของสังคมนิยม|ระยะเริ่มแรกของสังคมนิยม]] และหน้าที่ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนคือการพัฒนา "[[สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน]]" ให้สมบูรณ์แบบ<ref>{{Cite news |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping Is Dead at 92; Architect of Modern China |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |url-status=live |access-date=15 February 2017 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170123203613/http://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |archive-date=23 January 2017}}</ref><ref name="jac" /> และ "[[แสวงหาความจริงจากข้อเท็จจริง]]" (สิ่งนี้คล้ายคลึงกับหลักการทางทฤษฎีของเลนินที่ใช้สนับสนุน[[นโยบายเศรษฐกิจใหม่]] (NEP) ในช่วงทศวรรษที่ 1920 ซึ่งให้เหตุผลว่า[[สหภาพโซเวียต]]ยังไม่ได้เข้าสู่ระยะทุนนิยมอย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการนำระบบทุนนิยมมาใช้ในวงจำกัดเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น) "สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน" ได้วางรากฐานที่มั่นคงสำหรับการดำเนินนโยบายชาติพันธุ์อย่างไม่เป็นพิษภัย และสร้างวิธีการทางทฤษฎีเกี่ยวกับชาติพันธุ์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ<ref>{{Cite journal |title=万方数据知识服务平台 |url=http://d.wanfangdata.com.cn/periodical/ghlc201105008 |url-status=live |doi=10.3969/j.issn.1004-1494.2011.05.008 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210217055507/http://d.wanfangdata.com.cn/periodical/ghlc201105008 |archive-date=17 February 2021 |access-date=28 October 2020 |website=d.wanfangdata.com.cn}}</ref>
กลยุทธ์ในการบรรลุเป้าหมายในการเป็นประเทศอุตสาหกรรมสมัยใหม่คือ [[เศรษฐกิจตลาดแบบสังคมนิยม]] เติ้งได้ให้เหตุผลว่าจีนอยู่ใน[[ขั้นตอนแรกของสังคมนิยม|ระยะเริ่มแรกของสังคมนิยม]] และหน้าที่ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนคือการพัฒนา "[[สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน]]" ให้สมบูรณ์แบบ<ref>{{Cite news |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping Is Dead at 92; Architect of Modern China |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |url-status=live |access-date=15 February 2017 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170123203613/http://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |archive-date=23 January 2017}}</ref><ref name="jac" /> และ "[[แสวงหาความจริงจากข้อเท็จจริง]]" (สิ่งนี้คล้ายคลึงกับหลักการทางทฤษฎีของเลนินที่ใช้สนับสนุน[[นโยบายเศรษฐกิจใหม่]] (NEP) ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 ซึ่งให้เหตุผลว่า[[สหภาพโซเวียต]]ยังไม่ได้เข้าสู่ระยะทุนนิยมอย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการนำระบบทุนนิยมมาใช้ในวงจำกัดเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น) "สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน" ได้วางรากฐานที่มั่นคงสำหรับการดำเนินนโยบายชาติพันธุ์อย่างไม่เป็นพิษภัย และสร้างวิธีการทางทฤษฎีเกี่ยวกับชาติพันธุ์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ<ref>{{Cite journal |title=万方数据知识服务平台 |url=http://d.wanfangdata.com.cn/periodical/ghlc201105008 |url-status=live |doi=10.3969/j.issn.1004-1494.2011.05.008 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210217055507/http://d.wanfangdata.com.cn/periodical/ghlc201105008 |archive-date=17 February 2021 |access-date=28 October 2020 |website=d.wanfangdata.com.cn}}</ref>


นโยบายเศรษฐกิจของเติ้งให้ความสำคัญในการพัฒนา[[กำลังการผลิต]]ของจีน<ref name=":9">{{Cite journal |last=Boer |first=Roland |author-link=Roland Boer |date=2021-10-01 |title=From Belgrade to Beijing : Comparing Socialist Economic Reforms in Eastern Europe and China |journal=World Review of Political Economy |volume=12 |pages=309 |doi=10.13169/worlrevipoliecon.12.3.0296 |issn=2042-8928 |s2cid=247967541|doi-access=free }}</ref> ตามมุมมองของเติ้ง การพัฒนานี้ "เป็นการปฏิวัติที่สำคัญที่สุดเมื่อพิจารณาจากมุมมองของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์" และ "สังคมนิยมที่ยากจน" นั้นไม่ใช่สังคมนิยม<ref name=":9" /> เหตุผลทางทฤษฎีของเขาในการยอมให้กลไกตลาดเกิดขึ้นก็คือ:
นโยบายเศรษฐกิจของเติ้งให้ความสำคัญในการพัฒนา[[กำลังการผลิต]]ของจีน<ref name=":9">{{Cite journal |last=Boer |first=Roland |author-link=Roland Boer |date=2021-10-01 |title=From Belgrade to Beijing : Comparing Socialist Economic Reforms in Eastern Europe and China |journal=World Review of Political Economy |volume=12 |pages=309 |doi=10.13169/worlrevipoliecon.12.3.0296 |issn=2042-8928 |s2cid=247967541|doi-access=free }}</ref> ตามมุมมองของเติ้ง การพัฒนานี้ "เป็นการปฏิวัติที่สำคัญที่สุดเมื่อพิจารณาจากมุมมองของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์" และ "สังคมนิยมที่ยากจน" นั้นไม่ใช่สังคมนิยม<ref name=":9" /> เหตุผลทางทฤษฎีของเขาในการยอมให้กลไกตลาดเกิดขึ้นก็คือ:
บรรทัด 328: บรรทัด 328:
ทว่าการลงทุนเหล่านี้ไม่ได้เป็นการบังคับโดยรัฐบาล ซึ่งแตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากการปฏิรูปในทำนองเดียวกันแต่ประสบความสำเร็จน้อยกว่าอย่างมากใน[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย]] และ[[สาธารณรัฐประชาชนฮังการี]] ทุนที่ลงทุนในอุตสาหกรรมหนักส่วนใหญ่มาจากระบบธนาคาร และทุนส่วนใหญ่ดังกล่าวนั้นมาจากเงินฝากของผู้บริโภค หนึ่งในมาตรการปฏิรูปเบื้องต้นของเติ้งคือ การป้องกันการโอนย้ายผลกำไร ยกเว้นผ่านระบบภาษีอากรหรือระบบธนาคาร ดังนั้นการโอนย้ายผลกำไรในรัฐวิสาหกิจจึงเป็นไปโดยอ้อม ทำให้รัฐวิสาหกิจเหล่านี้มีความเป็นอิสระจากการแทรกแซงของรัฐบาลในระดับหนึ่ง โดยสรุป การปฏิรูปของเติ้งได้จุดชนวนให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศจีน<ref>FlorCruz, Jaime (19 December 2008) [http://www.cnn.com/2008/WORLD/asiapcf/12/18/china.reform.florcruz/index.html "Looking back over China's last 30 years"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180320230717/http://www.cnn.com/2008/WORLD/asiapcf/12/18/china.reform.florcruz/index.html|date=20 March 2018}} ''CNN''</ref>
ทว่าการลงทุนเหล่านี้ไม่ได้เป็นการบังคับโดยรัฐบาล ซึ่งแตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากการปฏิรูปในทำนองเดียวกันแต่ประสบความสำเร็จน้อยกว่าอย่างมากใน[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย]] และ[[สาธารณรัฐประชาชนฮังการี]] ทุนที่ลงทุนในอุตสาหกรรมหนักส่วนใหญ่มาจากระบบธนาคาร และทุนส่วนใหญ่ดังกล่าวนั้นมาจากเงินฝากของผู้บริโภค หนึ่งในมาตรการปฏิรูปเบื้องต้นของเติ้งคือ การป้องกันการโอนย้ายผลกำไร ยกเว้นผ่านระบบภาษีอากรหรือระบบธนาคาร ดังนั้นการโอนย้ายผลกำไรในรัฐวิสาหกิจจึงเป็นไปโดยอ้อม ทำให้รัฐวิสาหกิจเหล่านี้มีความเป็นอิสระจากการแทรกแซงของรัฐบาลในระดับหนึ่ง โดยสรุป การปฏิรูปของเติ้งได้จุดชนวนให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศจีน<ref>FlorCruz, Jaime (19 December 2008) [http://www.cnn.com/2008/WORLD/asiapcf/12/18/china.reform.florcruz/index.html "Looking back over China's last 30 years"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180320230717/http://www.cnn.com/2008/WORLD/asiapcf/12/18/china.reform.florcruz/index.html|date=20 March 2018}} ''CNN''</ref>


การปฏิรูปเหล่านี้ถือเป็นการพลิกกลับนโยบายพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจของลัทธิเหมา ประเทศจีนได้ตัดสินใจเร่งกระบวนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยโดยเพิ่มปริมาณการค้าต่างประเทศอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะการนำเข้าเครื่องจักรจากประเทศญี่ปุ่นและประเทศตะวันตก ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1978 เติ้งได้เดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่นเป็นครั้งแรกเพื่อแลกเปลี่ยนหนังสือรับรองการลงนาม "สนธิสัญญาสันติภาพและมิตรภาพระหว่างประเทศญี่ปุ่นและสาธารณรัฐประชาชนจีน" และได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากนายกรัฐมนตรี[[ทาเกโอะ ฟูกูดะ]] และบุคคลสำคัญอื่น ๆ เติ้งเป็นเพียงรองนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาที่เขาพบปะกับเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่น แต่รัฐบาลญี่ปุ่นยอมรับเขาในฐานะผู้นำสูงสุดที่มีอำนาจอย่างแท้จริงของจีน เนื่องจากประวัติอันยาวนานในการเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์จีนของเขา เติ้งถือเป็นผู้นำจีนคนแรกที่ได้เข้าเฝ้า[[จักรพรรดิโชวะ|สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ]]แห่งญี่ปุ่น ข่าวจากสถานีโทรทัศน์ NHK ของญี่ปุ่นในปี ค.ศ. 1978 รายงานว่าเติ้งได้กล่าวด้วยถ้อยคำอันสุภาพว่า "เราได้พูดคุยกันถึงอดีตที่ผ่านมา แต่สิ่งที่ข้าพเจ้าประทับใจเป็นอย่างยิ่งคือ พระราชประสงค์ของพระองค์ในการสร้างอนาคตที่ดีกว่า" คำกล่าวของเติ้งชี้ให้เห็นถึงยุคใหม่แห่งการปฏิรูปการเมืองของจีนผ่านทางการทูตเศรษฐกิจระหว่างประเทศ<ref>{{cite web |last1=NHK JAPAN |title=鄧小平副首相 天皇皇后両陛下と会見 |url=https://www2.nhk.or.jp/archives/movies/?id=D0009170072_00000 |website=NHK JAPAN |access-date=30 May 2024 |archive-date=14 March 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230314235114/https://www2.nhk.or.jp/archives/movies/?id=D0009170072_00000 |url-status=live }}</ref>
การปฏิรูปเหล่านี้ถือเป็นการพลิกกลับนโยบายพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจของลัทธิเหมา ประเทศจีนได้ตัดสินใจเร่งกระบวนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยโดยเพิ่มปริมาณการค้าต่างประเทศอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะการนำเข้าเครื่องจักรจากประเทศญี่ปุ่นและประเทศตะวันตก ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1978 เติ้งได้เดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่นเป็นครั้งแรกเพื่อแลกเปลี่ยนหนังสือรับรองการลงนาม "สนธิสัญญาสันติภาพและมิตรภาพระหว่างประเทศญี่ปุ่นและสาธารณรัฐประชาชนจีน" และได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากนายกรัฐมนตรี[[ทาเกโอะ ฟูกูดะ]] และบุคคลสำคัญอื่น ๆ เติ้งเป็นเพียงรองนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาที่เขาพบปะกับเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่น แต่รัฐบาลญี่ปุ่นยอมรับเขาในฐานะผู้นำสูงสุดที่มีอำนาจอย่างแท้จริงของจีน เนื่องจากประวัติอันยาวนานในการเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์จีนของเขา เติ้งถือเป็นผู้นำจีนคนแรกที่ได้เข้าเฝ้า[[จักรพรรดิโชวะ|สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ]]แห่งญี่ปุ่น ข่าวจากสถานีโทรทัศน์ NHK ของญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1978 รายงานว่าเติ้งได้กล่าวด้วยถ้อยคำอันสุภาพว่า "เราได้พูดคุยกันถึงอดีตที่ผ่านมา แต่สิ่งที่ข้าพเจ้าประทับใจเป็นอย่างยิ่งคือ พระราชประสงค์ของพระองค์ในการสร้างอนาคตที่ดีกว่า" คำกล่าวของเติ้งชี้ให้เห็นถึงยุคใหม่แห่งการปฏิรูปการเมืองของจีนผ่านทางการทูตเศรษฐกิจระหว่างประเทศ<ref>{{cite web |last1=NHK JAPAN |title=鄧小平副首相 天皇皇后両陛下と会見 |url=https://www2.nhk.or.jp/archives/movies/?id=D0009170072_00000 |website=NHK JAPAN |access-date=30 May 2024 |archive-date=14 March 2023 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230314235114/https://www2.nhk.or.jp/archives/movies/?id=D0009170072_00000 |url-status=live }}</ref>


สนธิสัญญาสันติภาพและมิตรภาพระหว่างญี่ปุ่นและสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นพันธสัญญาที่ยังคงมีผลบังคับใช้อยู่ระหว่างทั้งสองประเทศมาจนถึงปัจจุบัน มาตรา 1 ของสนธิสัญญาได้กำหนดหลักการแห่งการเคารพซึ่งกันและกันในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน การไม่รุกรานซึ่งกันและกัน และการไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน มาตรา 2 กำหนดหลักการต่อต้านการครอบงำ (หรืออาจใช้ว่า "ต่อต้านการผูกขาดอำนาจ") มาตรา 3 กล่าวถึงการพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมระหว่างทั้งสองประเทศให้ดียิ่งขึ้น และมาตรา 4 อธิบายถึงความสัมพันธ์ของสนธิสัญญานี้กับประเทศที่สาม แม้การเจรจาสันติภาพนี้จะใช้เวลานานถึง 6 ปีนับตั้งแต่การฟื้นความสัมพันธ์ทางการทูต เนื่องจากประเด็นข้อความ "ต่อต้านการครอบงำ" และ "ประเทศที่สาม" ถือเป็นประเด็นที่ขัดแย้งกันมากที่สุด แต่ข้อตกลงดังกล่าวยังคงมีอิทธิพลอย่างมากต่อความสัมพันธ์ระหว่างจีนและญี่ปุ่นในปัจจุบัน<ref>{{cite journal |last1=Lee |first1=Chae-Jin |title=The Making of the Sino-Japanese Peace and Friendship Treaty |journal=Pacific Affairs |date=1979 |volume=52 |issue=1 |pages=420–445 |doi=10.2307/2757656 |jstor=2757656 }}</ref> ด้วยการเข้าร่วมในกระบวนการเติบโตที่ขับเคลื่อนด้วยการส่งออก ทำให้จีนสามารถเร่งรัดการปฏิรูปสี่ทันสมัยได้สำเร็จ โดยได้รับเม็ดเงินทุนจากต่างประเทศ ตลาดต่างประเทศ เทคโนโลยีขั้นสูง และประสบการณ์การบริหารจัดการที่ทันสมัย ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา เติ้งได้ดึงดูดบริษัทต่างชาติให้เข้ามาลงทุนใน[[เขตเศรษฐกิจพิเศษ]]หลายแห่ง ซึ่งส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศและการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ<ref>{{Cite journal |last=Stoltenberg |first=Clyde D. |date=1984 |title=China's Special Economic Zones: Their Development and Prospects |journal=Asian Survey |volume=24 |issue=6 |pages=637–654 |doi=10.2307/2644396 |issn=0004-4687 |jstor=2644396}}</ref><ref>{{Cite web |last=Holmes |first=Frank |date=21 April 2017 |title=China's New Special Economic Zone Evokes Memories Of Shenzhen |url=https://www.forbes.com/sites/greatspeculations/2017/04/21/chinas-new-special-economic-zone-evokes-memories-of-shenzhen/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190322005508/https://www.forbes.com/sites/greatspeculations/2017/04/21/chinas-new-special-economic-zone-evokes-memories-of-shenzhen/ |archive-date=22 March 2019 |access-date=22 March 2019 |website=Forbes}}</ref>
สนธิสัญญาสันติภาพและมิตรภาพระหว่างญี่ปุ่นและสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นพันธสัญญาที่ยังคงมีผลบังคับใช้อยู่ระหว่างทั้งสองประเทศมาจนถึงปัจจุบัน มาตรา 1 ของสนธิสัญญาได้กำหนดหลักการแห่งการเคารพซึ่งกันและกันในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน การไม่รุกรานซึ่งกันและกัน และการไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน มาตรา 2 กำหนดหลักการต่อต้านการครอบงำ (หรืออาจใช้ว่า "ต่อต้านการผูกขาดอำนาจ") มาตรา 3 กล่าวถึงการพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมระหว่างทั้งสองประเทศให้ดียิ่งขึ้น และมาตรา 4 อธิบายถึงความสัมพันธ์ของสนธิสัญญานี้กับประเทศที่สาม แม้การเจรจาสันติภาพนี้จะใช้เวลานานถึง 6 ปีนับตั้งแต่การฟื้นความสัมพันธ์ทางการทูต เนื่องจากประเด็นข้อความ "ต่อต้านการครอบงำ" และ "ประเทศที่สาม" ถือเป็นประเด็นที่ขัดแย้งกันมากที่สุด แต่ข้อตกลงดังกล่าวยังคงมีอิทธิพลอย่างมากต่อความสัมพันธ์ระหว่างจีนและญี่ปุ่นในปัจจุบัน<ref>{{cite journal |last1=Lee |first1=Chae-Jin |title=The Making of the Sino-Japanese Peace and Friendship Treaty |journal=Pacific Affairs |date=1979 |volume=52 |issue=1 |pages=420–445 |doi=10.2307/2757656 |jstor=2757656 }}</ref> ด้วยการเข้าร่วมในกระบวนการเติบโตที่ขับเคลื่อนด้วยการส่งออก ทำให้จีนสามารถเร่งรัดการปฏิรูปสี่ทันสมัยได้สำเร็จ โดยได้รับเม็ดเงินทุนจากต่างประเทศ ตลาดต่างประเทศ เทคโนโลยีขั้นสูง และประสบการณ์การบริหารจัดการที่ทันสมัย ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา เติ้งได้ดึงดูดบริษัทต่างชาติให้เข้ามาลงทุนใน[[เขตเศรษฐกิจพิเศษ]]หลายแห่ง ซึ่งส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศและการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ<ref>{{Cite journal |last=Stoltenberg |first=Clyde D. |date=1984 |title=China's Special Economic Zones: Their Development and Prospects |journal=Asian Survey |volume=24 |issue=6 |pages=637–654 |doi=10.2307/2644396 |issn=0004-4687 |jstor=2644396}}</ref><ref>{{Cite web |last=Holmes |first=Frank |date=21 April 2017 |title=China's New Special Economic Zone Evokes Memories Of Shenzhen |url=https://www.forbes.com/sites/greatspeculations/2017/04/21/chinas-new-special-economic-zone-evokes-memories-of-shenzhen/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190322005508/https://www.forbes.com/sites/greatspeculations/2017/04/21/chinas-new-special-economic-zone-evokes-memories-of-shenzhen/ |archive-date=22 March 2019 |access-date=22 March 2019 |website=Forbes}}</ref>
บรรทัด 337: บรรทัด 337:


=== การคืนฮ่องกงและมาเก๊า ===
=== การคืนฮ่องกงและมาเก๊า ===
[[File:Deng Thatcher 3.JPG|thumb|แบบจำลองสถานการณ์การพบปะระหว่างเติ้ง เสี่ยวผิงกับ[[มาร์กาเรต แทตเชอร์|นางมาร์กาเรต แทตเชอร์]] นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ณ เมืองเชินเจิ้น ในปี ค.ศ. 1984]]
[[File:Deng Thatcher 3.JPG|thumb|แบบจำลองสถานการณ์การพบปะระหว่างเติ้ง เสี่ยวผิงกับ[[มาร์กาเรต แทตเชอร์|นางมาร์กาเรต แทตเชอร์]] นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ณ เมืองเชินเจิ้น ใน ค.ศ. 1984]]
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา เติ้งได้เป็นผู้นำในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และในแง่การเมือง เขารับหน้าที่เจรจาต่อรองกับสหราชอาณาจักรเพื่อขอคืนฮ่องกง โดยการพบปะหารือกับนาง[[มาร์กาเรต แทตเชอร์]] นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรในขณะนั้น นางแทตเชอร์เข้าร่วมการประชุมโดยหวังจะรักษาอำนาจการปกครองของอังกฤษเหนือเกาะฮ่องกงและเกาลูน ซึ่งเป็น 2 ใน 3 ของเขตปกครองของอาณานิคมแห่งนี้ แต่เติ้งได้ปฏิเสธข้อเสนอนี้อย่างเด็ดขาด<ref>{{Cite journal |last=Hurst |first=Matthew |date=2022 |title=Britain's Approach to the Negotiations over the Future of Hong Kong, 1979–1982 |journal=The International History Review |volume=44 |issue=6 |pages=1386–1401 |doi=10.1080/07075332.2021.2024588 |s2cid=257431054 |doi-access=free }}</ref> ผลจากการเจรจาเหล่าดังกล่าวคือ[[ปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษ|ปฏิญญาร่วมระหว่างจีนกับอังกฤษ]] ลงนามในวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1984 ปฏิญญาดังกล่าวระบุอย่างเป็นทางการว่าสหราชอาณาจักรจะต้องคืนอาณานิคมฮ่องกงทั้งหมดให้แก่จีนภายในปี ค.ศ. 1997 รัฐบาลจีนได้ให้สัญญาว่าจะเคารพรักษาระบบเศรษฐกิจและเสรีภาพส่วนบุคคลของเขตปกครองพิเศษซึ่งเดิมเป็นอาณานิคมของอังกฤษเป็นระยะเวลา 50 ปีนับจากการส่งมอบอำนาจปกครอง<ref>Vogel, ''Deng Xiaoping'', pp. 487–511.</ref><ref>Nancy C. Jackson, "The Legal Regime of Hong Kong After 1997: An Examination of the Joint Declaration of the United Kingdom and the People's Republic of China". ''International Tax & Business Lawyer'' (1987): 377–423. [https://scholarship.law.berkeley.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer=https://scholar.google.com/&httpsredir=1&article=1072&context=bjil Online]{{Dead link|date=June 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
ตั้งแต่ ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา เติ้งได้เป็นผู้นำในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และในแง่การเมือง เขารับหน้าที่เจรจาต่อรองกับสหราชอาณาจักรเพื่อขอคืนฮ่องกง โดยการพบปะหารือกับนาง[[มาร์กาเรต แทตเชอร์]] นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรในขณะนั้น นางแทตเชอร์เข้าร่วมการประชุมโดยหวังจะรักษาอำนาจการปกครองของอังกฤษเหนือเกาะฮ่องกงและเกาลูน ซึ่งเป็น 2 ใน 3 ของเขตปกครองของอาณานิคมแห่งนี้ แต่เติ้งได้ปฏิเสธข้อเสนอนี้อย่างเด็ดขาด<ref>{{Cite journal |last=Hurst |first=Matthew |date=2022 |title=Britain's Approach to the Negotiations over the Future of Hong Kong, 1979–1982 |journal=The International History Review |volume=44 |issue=6 |pages=1386–1401 |doi=10.1080/07075332.2021.2024588 |s2cid=257431054 |doi-access=free }}</ref> ผลจากการเจรจาเหล่าดังกล่าวคือ[[ปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษ|ปฏิญญาร่วมระหว่างจีนกับอังกฤษ]] ลงนามในวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1984 ปฏิญญาดังกล่าวระบุอย่างเป็นทางการว่าสหราชอาณาจักรจะต้องคืนอาณานิคมฮ่องกงทั้งหมดให้แก่จีนภายใน ค.ศ. 1997 รัฐบาลจีนได้ให้สัญญาว่าจะเคารพรักษาระบบเศรษฐกิจและเสรีภาพส่วนบุคคลของเขตปกครองพิเศษซึ่งเดิมเป็นอาณานิคมของอังกฤษเป็นระยะเวลา 50 ปีนับจากการส่งมอบอำนาจปกครอง<ref>Vogel, ''Deng Xiaoping'', pp. 487–511.</ref><ref>Nancy C. Jackson, "The Legal Regime of Hong Kong After 1997: An Examination of the Joint Declaration of the United Kingdom and the People's Republic of China". ''International Tax & Business Lawyer'' (1987): 377–423. [https://scholarship.law.berkeley.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer=https://scholar.google.com/&httpsredir=1&article=1072&context=bjil Online]{{Dead link|date=June 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>


ทฤษฎี[[หนึ่งประเทศ สองระบบ]]ของเติ้งถูกนำไปประยุกต์ใช้กับฮ่องกงและมาเก๊า และเติ้งยังมีความประสงค์ที่จะนำเสนอแนวคิดนี้ต่อประชาชนชาว[[ประเทศไต้หวัน|ไต้หวัน]] เพื่อเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับการผนวกดินแดนไต้หวันเข้ากับประเทศจีนในอนาคต ซึ่งปัจจุบันยังคงมีข้อพิพาทเกี่ยวกับอธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าว<ref>Vogel, ''Deng Xiaoping'', pp. 477–91.</ref> ในปี ค.ศ. 1982 เติ้งได้อธิบายถึงแนวคิด "หนึ่งประเทศ สองระบบ" เป็นครั้งแรก โดยมีไต้หวันเป็นตัวอย่างหลักในการนำเสนอแนวคิดนี้<ref>{{Cite book |last1=Wu |first1=Guoyou |title=An Ideological History of the Communist Party of China |last2=Ding |first2=Xuemai |date=2020 |publisher=Royal Collins Publishing Group |isbn=978-1-4878-0392-6 |editor-last=Zheng |editor-first=Qian |volume=3 |location=Montreal, Quebec |translator-last=Sun |translator-first=Li |translator-last2=Bryant |translator-first2=Shelly}}</ref>{{Rp|page=231}}
ทฤษฎี[[หนึ่งประเทศ สองระบบ]]ของเติ้งถูกนำไปประยุกต์ใช้กับฮ่องกงและมาเก๊า และเติ้งยังมีความประสงค์ที่จะนำเสนอแนวคิดนี้ต่อประชาชนชาว[[ประเทศไต้หวัน|ไต้หวัน]] เพื่อเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับการผนวกดินแดนไต้หวันเข้ากับประเทศจีนในอนาคต ซึ่งปัจจุบันยังคงมีข้อพิพาทเกี่ยวกับอธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าว<ref>Vogel, ''Deng Xiaoping'', pp. 477–91.</ref> ใน ค.ศ. 1982 เติ้งได้อธิบายถึงแนวคิด "หนึ่งประเทศ สองระบบ" เป็นครั้งแรก โดยมีไต้หวันเป็นตัวอย่างหลักในการนำเสนอแนวคิดนี้<ref>{{Cite book |last1=Wu |first1=Guoyou |title=An Ideological History of the Communist Party of China |last2=Ding |first2=Xuemai |date=2020 |publisher=Royal Collins Publishing Group |isbn=978-1-4878-0392-6 |editor-last=Zheng |editor-first=Qian |volume=3 |location=Montreal, Quebec |translator-last=Sun |translator-first=Li |translator-last2=Bryant |translator-first2=Shelly}}</ref>{{Rp|page=231}}


คำกล่าวของเติ้งในระหว่างการร่าง[[กฎหมายมูลฐานฮ่องกง|กฎหมายมูลฐานแห่งฮ่องกง]] ค.ศ. 1987 ได้สะท้อนให้เห็นถึงมุมมองของเขาที่มีต่อหลักการดังกล่าวในบริบทของฮ่องกง<ref name=":042">{{Cite book |last=Hu |first=Richard |title=Reinventing the Chinese City |date=2023 |publisher=[[Columbia University Press]] |isbn=978-0-231-21101-7 |location=New York}}</ref>{{Rp|page=176}} ในขณะนั้น เติ้งได้ประกาศว่ารัฐบาลกลางจะไม่แทรกแซงกิจการประจำวันของฮ่องกง แต่คาดการณ์ว่าบางครั้งฮ่องกงอาจเผชิญกับปัญหาบางประการที่กระทบต่อผลประโยชน์ของชาติ ซึ่งจำเป็นต้องให้รัฐบาลกลางเข้ามาเกี่ยวข้อง<ref name=":042" />{{Rp|pages=178–179}} เติ้งกล่าวว่า "หลังจากปี ค.ศ. 1997 เราจะยังคงอนุญาตให้ประชาชนในฮ่องกงวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์จีนและประเทศจีนได้ในทางวาจา แต่ถ้าคำพูดเหล่านั้นถูกนำไปปฏิบัติ โดยพยายามเปลี่ยนฮ่องกงให้กลายเป็นฐานการต่อต้านจีนแผ่นดินใหญ่โดยอ้างถึง "ประชาธิปไตย" แล้ว กรณีเช่นนั้นก็ย่อมไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากการแทรกแซง"<ref name="china.org.cn 1987 i438">{{cite web | title=Speech at a Meeting with the Members of The Committee for Drafting the Basic Law of the Hong Kong Special Administrative Region | website=china.org.cn | date=16 Apr 1987 | url=http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103351.htm | access-date=1 Jan 2024 | archive-url=https://web.archive.org/web/20050508210613/http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103351.htm | archive-date=8 May 2005}}</ref><ref name="香港01 2022 z800">{{cite web | title=回歸25周年|重溫鄧小平與香港的那些事 | website=香港01 | date=2 Jul 2022 | url= https://www.hk01.com/article/788065 | language=zh | access-date=1 Jan 2024}}</ref> ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1988 เติ้งได้กล่าวไว้ว่า "ระบบการเมืองของฮ่องกงในปัจจุบันไม่ได้เป็นแบบอังกฤษหรือแบบอเมริกัน และในอนาคตก็ไม่ควรนำระบบแบบตะวันตกมาใช้"<ref name=":042" />{{Rp|page=179}}
คำกล่าวของเติ้งในระหว่างการร่าง[[กฎหมายมูลฐานฮ่องกง|กฎหมายมูลฐานแห่งฮ่องกง]] ค.ศ. 1987 ได้สะท้อนให้เห็นถึงมุมมองของเขาที่มีต่อหลักการดังกล่าวในบริบทของฮ่องกง<ref name=":042">{{Cite book |last=Hu |first=Richard |title=Reinventing the Chinese City |date=2023 |publisher=[[Columbia University Press]] |isbn=978-0-231-21101-7 |location=New York}}</ref>{{Rp|page=176}} ในขณะนั้น เติ้งได้ประกาศว่ารัฐบาลกลางจะไม่แทรกแซงกิจการประจำวันของฮ่องกง แต่คาดการณ์ว่าบางครั้งฮ่องกงอาจเผชิญกับปัญหาบางประการที่กระทบต่อผลประโยชน์ของชาติ ซึ่งจำเป็นต้องให้รัฐบาลกลางเข้ามาเกี่ยวข้อง<ref name=":042" />{{Rp|pages=178–179}} เติ้งกล่าวว่า "หลังจากปี ค.ศ. 1997 เราจะยังคงอนุญาตให้ประชาชนในฮ่องกงวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์จีนและประเทศจีนได้ในทางวาจา แต่ถ้าคำพูดเหล่านั้นถูกนำไปปฏิบัติ โดยพยายามเปลี่ยนฮ่องกงให้กลายเป็นฐานการต่อต้านจีนแผ่นดินใหญ่โดยอ้างถึง "ประชาธิปไตย" แล้ว กรณีเช่นนั้นก็ย่อมไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากการแทรกแซง"<ref name="china.org.cn 1987 i438">{{cite web | title=Speech at a Meeting with the Members of The Committee for Drafting the Basic Law of the Hong Kong Special Administrative Region | website=china.org.cn | date=16 Apr 1987 | url=http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103351.htm | access-date=1 Jan 2024 | archive-url=https://web.archive.org/web/20050508210613/http://www.china.org.cn/english/features/dengxiaoping/103351.htm | archive-date=8 May 2005}}</ref><ref name="香港01 2022 z800">{{cite web | title=回歸25周年|重溫鄧小平與香港的那些事 | website=香港01 | date=2 Jul 2022 | url= https://www.hk01.com/article/788065 | language=zh | access-date=1 Jan 2024}}</ref> ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1988 เติ้งได้กล่าวไว้ว่า "ระบบการเมืองของฮ่องกงในปัจจุบันไม่ได้เป็นแบบอังกฤษหรือแบบอเมริกัน และในอนาคตก็ไม่ควรนำระบบแบบตะวันตกมาใช้"<ref name=":042" />{{Rp|page=179}}
บรรทัด 347: บรรทัด 347:
{{Main|นโยบายการวางแผนครอบครัวของประเทศจีน|การรณรงค์ปราบปรามอาชญากรรมอย่างเด็ดขาด ค.ศ. 1983}}
{{Main|นโยบายการวางแผนครอบครัวของประเทศจีน|การรณรงค์ปราบปรามอาชญากรรมอย่างเด็ดขาด ค.ศ. 1983}}


การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของจีนนำมาซึ่งปัญหาหลายประการ [[สำมะโนจีน ค.ศ. 1982|การสำรวจสำมะโนประชากรในปี ค.ศ. 1982]] ได้เปิดเผยถึงการเติบโตของประชากรอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีจำนวนเกินกว่าหนึ่งพันล้านคนแล้ว เติ้งได้ดำเนิน[[นโยบายลูกคนเดียว|นโยบายจำกัดการมีบุตร]]ซึ่งเป็นนโยบายที่ฮฺว่า กั๋วเฟิงริเริ่มขึ้น โดยกำหนดให้สตรีมีบุตรได้เพียงคนเดียว หากฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษทางปกครอง<ref>{{Cite web |title=Family Planning in China |url=http://www.china-un.ch/eng/bjzl/t176938.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180619013045/http://www.china-un.ch/eng/bjzl/t176938.htm |archive-date=19 June 2018 |access-date=28 November 2019 |website=www.china-un.ch}}</ref> นโยบายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในเขตเมือง และรวมถึงการบังคับให้ทำแท้ง<ref>Wang Feng, Yong Cai, and Baochang Gu, "Population, policy, and politics: how will history judge China's one-child policy?". ''Population and Development Review'' 38 (2013): 115–129. [http://dragonreport.com/Dragon_Report/Challenges_files/Wang_pp115-129.pdf online] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190606203524/http://dragonreport.com/Dragon_Report/Challenges_files/Wang_pp115-129.pdf |date=6 June 2019 }}</ref>
การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของจีนนำมาซึ่งปัญหาหลายประการ [[สำมะโนจีน ค.ศ. 1982|การสำรวจสำมะโนประชากรใน ค.ศ. 1982]] ได้เปิดเผยถึงการเติบโตของประชากรอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีจำนวนเกินกว่าหนึ่งพันล้านคนแล้ว เติ้งได้ดำเนิน[[นโยบายลูกคนเดียว|นโยบายจำกัดการมีบุตร]]ซึ่งเป็นนโยบายที่ฮฺว่า กั๋วเฟิงริเริ่มขึ้น โดยกำหนดให้สตรีมีบุตรได้เพียงคนเดียว หากฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษทางปกครอง<ref>{{Cite web |title=Family Planning in China |url=http://www.china-un.ch/eng/bjzl/t176938.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20180619013045/http://www.china-un.ch/eng/bjzl/t176938.htm |archive-date=19 June 2018 |access-date=28 November 2019 |website=www.china-un.ch}}</ref> นโยบายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในเขตเมือง และรวมถึงการบังคับให้ทำแท้ง<ref>Wang Feng, Yong Cai, and Baochang Gu, "Population, policy, and politics: how will history judge China's one-child policy?". ''Population and Development Review'' 38 (2013): 115–129. [http://dragonreport.com/Dragon_Report/Challenges_files/Wang_pp115-129.pdf online] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190606203524/http://dragonreport.com/Dragon_Report/Challenges_files/Wang_pp115-129.pdf |date=6 June 2019 }}</ref>


ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1983 เติ้งได้ประกาศเริ่ม "[[การรณรงค์ปราบปรามอาชญากรรมอย่างเด็ดขาด ค.ศ. 1983|การรณรงค์ปราบปรามอาชญากรรมอย่างเด็ดขาด]]" เพื่อแก้ไขปัญหาความปลอดภัยของประชาชนที่ย่ำแย่ลงภายหลังจากการปฏิวัติทางวัฒนธรรม<ref name=":03">{{Cite web |title=People's Daily Online -- China rejects "strike hard" anti-crime policy for more balanced approach |url=http://en.people.cn/200703/14/eng20070314_357516.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20201018113603/http://en.people.cn/200703/14/eng20070314_357516.html |archive-date=18 October 2020 |access-date=21 June 2020 |website=en.people.cn}}</ref><ref name=":4" /><ref name=":5" /> มีรายงานว่ารัฐบาลได้กำหนดเป้าหมายการประหารชีวิตไว้ที่ 5,000 รายภายในกลางเดือนพฤศจิกายน และแหล่งข่าวจากไต้หวันอ้างว่ามีผู้ถูกประหารชีวิตสูงถึง 60,000 รายในช่วงเวลาดังกล่าว<ref>{{Cite web |title=In Human Rights, China Remains in the Maoist Era &#124; the Heritage Foundation |url=http://www.heritage.org/research/reports/1985/06/in-human-rights-china-remains-in-the-maoist-era |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20110516232433/http://heritage.org/Research/Reports/1985/06/In-Human-Rights-China-Remains-in-the-Maoist-Era |archive-date=16 May 2011 |access-date=31 January 2017}}</ref> อย่างไรก็ตาม การประมาณการล่าสุดระบุว่ามี[[โทษประหารชีวิต|ผู้ถูกตัดสินประหารชีวิต]] 24,000 ราย (ส่วนใหญ่ในช่วง "การปราบปราม" ครั้งแรกของการรณรงค์)<ref name=":5" /><ref>{{Cite news |date=3 August 2013 |title=Strike less hard |newspaper=The Economist |url=https://www.economist.com/china/2013/08/03/strike-less-hard |url-status=live |access-date=23 March 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190323192208/https://www.economist.com/china/2013/08/03/strike-less-hard |archive-date=23 March 2019}}</ref> บุคคลจำนวนหนึ่งที่ถูกจับกุม (บางรายได้รับ[[โทษประหารชีวิต]]) เป็นบุตรหรือญาติของเจ้าหน้าที่รัฐในระดับต่าง ๆ รวมถึงหลานชายของ[[จู เต๋อ]] แสดงให้เห็นถึงหลักการที่ว่า "[[ความเสมอภาคทางกฎหมาย|ทุกคนเท่าเทียมกันต่อหน้ากฎหมาย]]"<ref name=":4">{{Cite web |date=26 January 2018 |title=Detentions, torture, executions: how China dealt with mafia in the past |url=https://www.scmp.com/news/china/policies-politics/article/2130679/chinas-decades-long-battle-organised-crime |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200622162409/https://www.scmp.com/news/china/policies-politics/article/2130679/chinas-decades-long-battle-organised-crime |archive-date=22 June 2020 |access-date=21 June 2020 |website=South China Morning Post}}</ref><ref name=":5">{{Cite web |last=Tao |first=Ying |title=1983年"严打":非常时期的非常手段 |url=http://history.people.com.cn/GB/205396/12999227.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200622051609/http://history.people.com.cn/GB/205396/12999227.html |archive-date=22 June 2020 |access-date=21 June 2020 |website=history.people.com.cn |language=zh}}</ref><ref name=":6">{{Cite web |date=1 July 2010 |title="严打"政策的前世今生 |url=http://criminallaw.com.cn/article/default.asp |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200203123314/http://www.criminallaw.com.cn/article/default.asp |archive-date=3 February 2020 |access-date=21 June 2020 |website=criminallaw.com.cn |language=zh}}</ref> การรณรงค์ดังกล่าวส่งผลบวกต่อความปลอดภัยสาธารณะในทันที แต่ก็ก่อให้เกิดข้อถกเถียงเกี่ยวกับความรุนแรงเกินควรของบทลงโทษทางกฎหมายบางประการ และผลกระทบระยะยาวต่อความปลอดภัยสาธารณะ<ref name=":6" /><ref name=":13">{{Cite journal |last=Trevaskes |first=Susan |date=2002 |title=Courts on the Campaign Path in China: Criminal Court Work in the "Yanda 2001" Anti-Crime Campaign |journal=Asian Survey |volume=42 |issue=5 |pages=673–693 |doi=10.1525/as.2002.42.5.673 |issn=0004-4687 |jstor=10.1525/as.2002.42.5.673 |hdl-access=free |hdl=10072/6536}}</ref>
ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1983 เติ้งได้ประกาศเริ่ม "[[การรณรงค์ปราบปรามอาชญากรรมอย่างเด็ดขาด ค.ศ. 1983|การรณรงค์ปราบปรามอาชญากรรมอย่างเด็ดขาด]]" เพื่อแก้ไขปัญหาความปลอดภัยของประชาชนที่ย่ำแย่ลงภายหลังจากการปฏิวัติทางวัฒนธรรม<ref name=":03">{{Cite web |title=People's Daily Online -- China rejects "strike hard" anti-crime policy for more balanced approach |url=http://en.people.cn/200703/14/eng20070314_357516.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20201018113603/http://en.people.cn/200703/14/eng20070314_357516.html |archive-date=18 October 2020 |access-date=21 June 2020 |website=en.people.cn}}</ref><ref name=":4" /><ref name=":5" /> มีรายงานว่ารัฐบาลได้กำหนดเป้าหมายการประหารชีวิตไว้ที่ 5,000 รายภายในกลางเดือนพฤศจิกายน และแหล่งข่าวจากไต้หวันอ้างว่ามีผู้ถูกประหารชีวิตสูงถึง 60,000 รายในช่วงเวลาดังกล่าว<ref>{{Cite web |title=In Human Rights, China Remains in the Maoist Era &#124; the Heritage Foundation |url=http://www.heritage.org/research/reports/1985/06/in-human-rights-china-remains-in-the-maoist-era |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20110516232433/http://heritage.org/Research/Reports/1985/06/In-Human-Rights-China-Remains-in-the-Maoist-Era |archive-date=16 May 2011 |access-date=31 January 2017}}</ref> อย่างไรก็ตาม การประมาณการล่าสุดระบุว่ามี[[โทษประหารชีวิต|ผู้ถูกตัดสินประหารชีวิต]] 24,000 ราย (ส่วนใหญ่ในช่วง "การปราบปราม" ครั้งแรกของการรณรงค์)<ref name=":5" /><ref>{{Cite news |date=3 August 2013 |title=Strike less hard |newspaper=The Economist |url=https://www.economist.com/china/2013/08/03/strike-less-hard |url-status=live |access-date=23 March 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190323192208/https://www.economist.com/china/2013/08/03/strike-less-hard |archive-date=23 March 2019}}</ref> บุคคลจำนวนหนึ่งที่ถูกจับกุม (บางรายได้รับ[[โทษประหารชีวิต]]) เป็นบุตรหรือญาติของเจ้าหน้าที่รัฐในระดับต่าง ๆ รวมถึงหลานชายของ[[จู เต๋อ]] แสดงให้เห็นถึงหลักการที่ว่า "[[ความเสมอภาคทางกฎหมาย|ทุกคนเท่าเทียมกันต่อหน้ากฎหมาย]]"<ref name=":4">{{Cite web |date=26 January 2018 |title=Detentions, torture, executions: how China dealt with mafia in the past |url=https://www.scmp.com/news/china/policies-politics/article/2130679/chinas-decades-long-battle-organised-crime |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200622162409/https://www.scmp.com/news/china/policies-politics/article/2130679/chinas-decades-long-battle-organised-crime |archive-date=22 June 2020 |access-date=21 June 2020 |website=South China Morning Post}}</ref><ref name=":5">{{Cite web |last=Tao |first=Ying |title=1983年"严打":非常时期的非常手段 |url=http://history.people.com.cn/GB/205396/12999227.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200622051609/http://history.people.com.cn/GB/205396/12999227.html |archive-date=22 June 2020 |access-date=21 June 2020 |website=history.people.com.cn |language=zh}}</ref><ref name=":6">{{Cite web |date=1 July 2010 |title="严打"政策的前世今生 |url=http://criminallaw.com.cn/article/default.asp |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200203123314/http://www.criminallaw.com.cn/article/default.asp |archive-date=3 February 2020 |access-date=21 June 2020 |website=criminallaw.com.cn |language=zh}}</ref> การรณรงค์ดังกล่าวส่งผลบวกต่อความปลอดภัยสาธารณะในทันที แต่ก็ก่อให้เกิดข้อถกเถียงเกี่ยวกับความรุนแรงเกินควรของบทลงโทษทางกฎหมายบางประการ และผลกระทบระยะยาวต่อความปลอดภัยสาธารณะ<ref name=":6" /><ref name=":13">{{Cite journal |last=Trevaskes |first=Susan |date=2002 |title=Courts on the Campaign Path in China: Criminal Court Work in the "Yanda 2001" Anti-Crime Campaign |journal=Asian Survey |volume=42 |issue=5 |pages=673–693 |doi=10.1525/as.2002.42.5.673 |issn=0004-4687 |jstor=10.1525/as.2002.42.5.673 |hdl-access=free |hdl=10072/6536}}</ref>


การเพิ่มขึ้นของเสรีภาพทางเศรษฐกิจกำลังถูกแปลความหมายไปสู่เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่กว้างขวางขึ้น และมีนักวิจารณ์เริ่มผุดขึ้นภายในระบบ รวมถึง[[เว่ย์ จิงเชิง]] นักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยชื่อดังผู้ซึ่งบัญญัติศัพท์ "การปฏิรูปที่ห้า" เพื่ออ้างถึงระบอบประชาธิปไตยซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ขาดหายไปในแผนการปฏิรูปของเติ้ง เสี่ยวผิง ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1980 ความไม่พอใจต่อระบอบอำนาจนิยมและความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นได้ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ครั้งใหญ่ที่สุดต่อความเป็นผู้นำของเติ้ง
การเพิ่มขึ้นของเสรีภาพทางเศรษฐกิจกำลังถูกแปลความหมายไปสู่เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่กว้างขวางขึ้น และมีนักวิจารณ์เริ่มผุดขึ้นภายในระบบ รวมถึง[[เว่ย์ จิงเชิง]] นักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยชื่อดังผู้ซึ่งบัญญัติศัพท์ "การปฏิรูปที่ห้า" เพื่ออ้างถึงระบอบประชาธิปไตยซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ขาดหายไปในแผนการปฏิรูปของเติ้ง เสี่ยวผิง ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 ความไม่พอใจต่อระบอบอำนาจนิยมและความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นได้ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ครั้งใหญ่ที่สุดต่อความเป็นผู้นำของเติ้ง


=== ปราบปรามการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ===
=== ปราบปรามการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ===
บรรทัด 366: บรรทัด 366:
จ้าวถูกควบคุมตัวไว้ในบ้านโดยกลุ่มหัวรุนแรง และเติ้งเองก็ถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขบางประการของกลุ่มดังกล่าว<ref name="macfarquhar" />{{page needed|date=July 2020}} ไม่นานนัก เขาได้ประกาศว่า "โลกจักรวรรดินิยมตะวันตกทั้งหมดวางแผนที่จะบีบบังคับให้ประเทศสังคมนิยมทุกประเทศละทิ้งแนวทางสังคมนิยม และจากนั้นให้นำประเทศเหล่านั้นเข้าสู่การผูกขาดของทุนนิยมระหว่างประเทศ และเดินบนเส้นทางทุนนิยม" หลายเดือนต่อมาเขาได้กล่าวว่า "สหรัฐมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้ง" ในการเคลื่อนไหวของนักศึกษา โดยอ้างถึงบรรดานักข่าวต่างชาติที่ได้ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่นักศึกษาแกนนำ และต่อมาได้[[ปฏิบัติการเยลโลเบิร์ด|ช่วยเหลือนักศึกษาเหล่านั้นหลบหนีไปยังประเทศตะวันตกหลายประเทศ]] โดยส่วนใหญ่ไปยังสหรัฐผ่านฮ่องกงและไต้หวัน<ref name="macfarquhar" />{{page needed|date=July 2020}}
จ้าวถูกควบคุมตัวไว้ในบ้านโดยกลุ่มหัวรุนแรง และเติ้งเองก็ถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขบางประการของกลุ่มดังกล่าว<ref name="macfarquhar" />{{page needed|date=July 2020}} ไม่นานนัก เขาได้ประกาศว่า "โลกจักรวรรดินิยมตะวันตกทั้งหมดวางแผนที่จะบีบบังคับให้ประเทศสังคมนิยมทุกประเทศละทิ้งแนวทางสังคมนิยม และจากนั้นให้นำประเทศเหล่านั้นเข้าสู่การผูกขาดของทุนนิยมระหว่างประเทศ และเดินบนเส้นทางทุนนิยม" หลายเดือนต่อมาเขาได้กล่าวว่า "สหรัฐมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้ง" ในการเคลื่อนไหวของนักศึกษา โดยอ้างถึงบรรดานักข่าวต่างชาติที่ได้ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่นักศึกษาแกนนำ และต่อมาได้[[ปฏิบัติการเยลโลเบิร์ด|ช่วยเหลือนักศึกษาเหล่านั้นหลบหนีไปยังประเทศตะวันตกหลายประเทศ]] โดยส่วนใหญ่ไปยังสหรัฐผ่านฮ่องกงและไต้หวัน<ref name="macfarquhar" />{{page needed|date=July 2020}}


แม้ว่าในเบื้องต้นเติ้งจะยอมผ่อนปรนให้แก่กลุ่มผู้สนับสนุนสังคมนิยมหัวรุนแรง แต่ไม่นานหลังจากการเดินทางเยือนภาคใต้ในปี ค.ศ. 1992 เขาก็ได้กลับมาดำเนินการปฏิรูปอีกครั้ง หลังจากการเยือนครั้งนั้น เขาสามารถยุติการโจมตีการปฏิรูปของกลุ่มสังคมนิยมหัวรุนแรงผ่านการรณรงค์ "ตั้งชื่อว่าทุนนิยมหรือสังคมนิยม" ได้สำเร็จ<ref>Miles, James (1997). ''The Legacy of Tiananmen: China in Disarray.'' University of Michigan Press. {{ISBN|978-0-472-08451-7}}.</ref>{{page needed|date=July 2020}} เติ้งได้กล่าวเป็นการส่วนตัวกับ[[พีเอร์ ทรูโด]] อดีตนายกรัฐมนตรีแคนาดา ว่ากลุ่มต่าง ๆ ภายในพรรคคอมมิวนิสต์นั้นสามารถยึดหน่วยทหารได้ และประเทศก็เสี่ยงจะเกิดสงครามกลางเมือง<ref name="miles">The Legacy of Tiananmen By James A. R. Miles</ref>{{Page needed|date=December 2017}} สองปีต่อมา เติ้งได้สนับสนุนให้[[จู หรงจี้]] นายกเทศมนตรีเซี่ยงไฮ้ขึ้นดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี จูได้ปฏิเสธที่จะประกาศ[[กฎอัยการศึก]]ในเซี่ยงไฮ้ในระหว่างการประท้วง แม้ว่ากลุ่มผู้สนับสนุนสังคมนิยมหัวรุนแรงจะกดดันเขาแล้วก็ตาม<ref name="macfarquhar">The Politics of China By Roderick MacFarquhar</ref>{{Page needed|date=December 2017}}
แม้ว่าในเบื้องต้นเติ้งจะยอมผ่อนปรนให้แก่กลุ่มผู้สนับสนุนสังคมนิยมหัวรุนแรง แต่ไม่นานหลังจากการเดินทางเยือนภาคใต้ใน ค.ศ. 1992 เขาก็ได้กลับมาดำเนินการปฏิรูปอีกครั้ง หลังจากการเยือนครั้งนั้น เขาสามารถยุติการโจมตีการปฏิรูปของกลุ่มสังคมนิยมหัวรุนแรงผ่านการรณรงค์ "ตั้งชื่อว่าทุนนิยมหรือสังคมนิยม" ได้สำเร็จ<ref>Miles, James (1997). ''The Legacy of Tiananmen: China in Disarray.'' University of Michigan Press. {{ISBN|978-0-472-08451-7}}.</ref>{{page needed|date=July 2020}} เติ้งได้กล่าวเป็นการส่วนตัวกับ[[พีเอร์ ทรูโด]] อดีตนายกรัฐมนตรีแคนาดา ว่ากลุ่มต่าง ๆ ภายในพรรคคอมมิวนิสต์นั้นสามารถยึดหน่วยทหารได้ และประเทศก็เสี่ยงจะเกิดสงครามกลางเมือง<ref name="miles">The Legacy of Tiananmen By James A. R. Miles</ref>{{Page needed|date=December 2017}} สองปีต่อมา เติ้งได้สนับสนุนให้[[จู หรงจี้]] นายกเทศมนตรีเซี่ยงไฮ้ขึ้นดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี จูได้ปฏิเสธที่จะประกาศ[[กฎอัยการศึก]]ในเซี่ยงไฮ้ในระหว่างการประท้วง แม้ว่ากลุ่มผู้สนับสนุนสังคมนิยมหัวรุนแรงจะกดดันเขาแล้วก็ตาม<ref name="macfarquhar">The Politics of China By Roderick MacFarquhar</ref>{{Page needed|date=December 2017}}


== การเกษียณและเยือนภาคใต้ ==
== การเกษียณและเยือนภาคใต้ ==
{{main|การเยือนภาคใต้ของเติ้ง เสี่ยวผิง}}
{{main|การเยือนภาคใต้ของเติ้ง เสี่ยวผิง}}
[[File:DengXiaoPingNanXunJunJian.jpg|thumb|เรือตรวจการณ์ที่ใช้ในการเยือนภาคใต้ของเติ้ง เสี่ยวผิง]]
[[File:DengXiaoPingNanXunJunJian.jpg|thumb|เรือตรวจการณ์ที่ใช้ในการเยือนภาคใต้ของเติ้ง เสี่ยวผิง]]
เติ้งตัดสินใจเกษียณอายุจากตำแหน่งสูงสุดอย่างเป็นทางการ เมื่อเขาได้ลาออกจากตำแหน่งประธาน[[คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|คณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]]ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1989 และ[[เจียง เจ๋อหมิน]] ผู้สืบทอดตำแหน่งของเขาก็ได้เข้ารับตำแหน่งแทนและเป็น[[ผู้นำสูงสุดของจีน|ผู้นำสูงสุดของประเทศ]]<ref name=":0">{{Cite news |last=Faison |first=Seth |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping Is Dead at 92; Architect of Modern China |language=en-US |page=A1 |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |url-status=live |access-date=27 July 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170123203613/http://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |archive-date=23 January 2017 |issn=0362-4331}}</ref><ref name=":1">{{Cite news |last=Denmark |first=Abraham |date=19 December 2018 |title=Analysis {{!}} 40 years ago, Deng Xiaoping changed China—and the world |newspaper=The Washington Post |url=https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |url-status=live |access-date=27 July 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |archive-date=8 May 2019}}</ref> อย่างไรก็ตาม จีนยังคงอยู่ในยุคสมัยของเติ้ง เสี่ยวผิง เขายังคงได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำทางพฤตินัยของประเทศ ถึงแม้จะไม่มีตำแหน่งทางการใด ๆ นอกเหนือจากประธานสมาคม[[บริดจ์ (เกมไพ่)|ไพ่บริดจ์]]แห่งประเทศจีน และเชื่อกันว่าเขามีอำนาจควบคุมอยู่เบื้องหลัง<ref>[http://news.bbc.co.uk/1/shared/spl/hi/asia_pac/02/china_party_congress/china_ruling_party/how_china_is_ruled/html/party_elders.stm How China is ruled] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20170911112006/http://news.bbc.co.uk/1/shared/spl/hi/asia_pac/02/china_party_congress/china_ruling_party/how_china_is_ruled/html/party_elders.stm |date=11 September 2017}}, BBC 2003.</ref> ทั้งนี้เขาได้แต่งตั้ง[[หู จิ่นเทา]]ให้เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งของเจียงใน[[การประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 14|การประชุมสมัชชาใหญ่ของพรรคครั้งที่ 14]] ในปี ค.ศ. 1992 เติ้งได้รับการยกย่องอย่างเป็นทางการว่าเป็น "สถาปนิกผู้นำการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคมนิยมสมัยใหม่ของจีน" สำหรับพรรค เชื่อกันว่าเขาเป็นแบบอย่างที่ดีแก่แกนนำพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปฏิเสธที่จะเกษียณอายุเมื่อถึงวัย เขาได้ทำลายธรรมเนียมปฏิบัติเดิมที่ยึดถือการดำรงตำแหน่งตลอดชีวิต เขามักถูกเรียกขานสั้น ๆ ว่า "สหายเสี่ยวผิง" โดยปราศจากตำแหน่งใด ๆ ต่อท้าย
เติ้งตัดสินใจเกษียณอายุจากตำแหน่งสูงสุดอย่างเป็นทางการ เมื่อเขาได้ลาออกจากตำแหน่งประธาน[[คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (จีน)|คณะกรรมการการทหารส่วนกลาง]]ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1989 และ[[เจียง เจ๋อหมิน]] ผู้สืบทอดตำแหน่งของเขาก็ได้เข้ารับตำแหน่งแทนและเป็น[[ผู้นำสูงสุดของจีน|ผู้นำสูงสุดของประเทศ]]<ref name=":0">{{Cite news |last=Faison |first=Seth |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping Is Dead at 92; Architect of Modern China |language=en-US |page=A1 |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |url-status=live |access-date=27 July 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170123203613/http://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-is-dead-at-92-architect-of-modern-china.html |archive-date=23 January 2017 |issn=0362-4331}}</ref><ref name=":1">{{Cite news |last=Denmark |first=Abraham |date=19 December 2018 |title=Analysis {{!}} 40 years ago, Deng Xiaoping changed China—and the world |newspaper=The Washington Post |url=https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |url-status=live |access-date=27 July 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190508043643/https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2018/12/19/40-years-ago-deng-xiaoping-changed-china-and-the-world/ |archive-date=8 May 2019}}</ref> อย่างไรก็ตาม จีนยังคงอยู่ในยุคสมัยของเติ้ง เสี่ยวผิง เขายังคงได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำทางพฤตินัยของประเทศ ถึงแม้จะไม่มีตำแหน่งทางการใด ๆ นอกเหนือจากประธานสมาคม[[บริดจ์ (เกมไพ่)|ไพ่บริดจ์]]แห่งประเทศจีน และเชื่อกันว่าเขามีอำนาจควบคุมอยู่เบื้องหลัง<ref>[http://news.bbc.co.uk/1/shared/spl/hi/asia_pac/02/china_party_congress/china_ruling_party/how_china_is_ruled/html/party_elders.stm How China is ruled] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20170911112006/http://news.bbc.co.uk/1/shared/spl/hi/asia_pac/02/china_party_congress/china_ruling_party/how_china_is_ruled/html/party_elders.stm |date=11 September 2017}}, BBC 2003.</ref> ทั้งนี้เขาได้แต่งตั้ง[[หู จิ่นเทา]]ให้เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งของเจียงใน[[การประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 14|การประชุมสมัชชาใหญ่ของพรรคครั้งที่ 14]] ใน ค.ศ. 1992 เติ้งได้รับการยกย่องอย่างเป็นทางการว่าเป็น "สถาปนิกผู้นำการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคมนิยมสมัยใหม่ของจีน" สำหรับพรรค เชื่อกันว่าเขาเป็นแบบอย่างที่ดีแก่แกนนำพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปฏิเสธที่จะเกษียณอายุเมื่อถึงวัย เขาได้ทำลายธรรมเนียมปฏิบัติเดิมที่ยึดถือการดำรงตำแหน่งตลอดชีวิต เขามักถูกเรียกขานสั้น ๆ ว่า "สหายเสี่ยวผิง" โดยปราศจากตำแหน่งใด ๆ ต่อท้าย


[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ค.ศ. 1989]] ส่งผลให้อำนาจของเติ้งอ่อนแอลงอย่างมีนัยสำคัญ และภายในพรรคก็ได้เกิดกลุ่มอนุรักษ์นิยมขึ้นมาต่อต้านการปฏิรูปของเติ้งอย่างแข็งขัน เพื่อย้ำนโยบายทางเศรษฐกิจของตนอีกครั้ง ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1992 เติ้งได้เดินทางเยือนภาคใต้ของจีน โดยได้เยือนเมือง[[กว่างโจว]] [[เชินเจิ้น]] [[จูไห่]] และใช้เวลาช่วงเทศกาลตรุษจีนที่เซี่ยงไฮ้ การเดินทางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเน้นย้ำนโยบายเศรษฐกิจของตนหลังจากเกษียณอายุไปแล้ว<ref>{{Cite web |last=Fisher |first=Max |date=2 June 2014 |title=This 1989 speech is one of China's most important |url=https://www.vox.com/2014/6/2/5772016/this-1989-speech-is-one-of-the-most-important-in-chinas-history-and |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727204832/https://www.vox.com/2014/6/2/5772016/this-1989-speech-is-one-of-the-most-important-in-chinas-history-and |archive-date=27 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=Vox}}</ref><ref name="SuishengZhao">{{Cite journal |last=Zhao |first=Suisheng |author-link=Suisheng Zhao |date=1993 |title=Deng Xiaoping's Southern Tour: Elite Politics in Post-Tiananmen China |journal=Asian Survey |volume=33 |issue=8 |pages=739–756 |doi=10.2307/2645086 |issn=0004-4687 |jstor=2645086}}</ref> เขากล่าวว่า "คนบางกลุ่มได้ให้ร้ายต่อระบบสังคมนิยมของเราว่าเป็นระบบของราชวงศ์ฉิน ซึ่งเป็นการกล่าวหาที่น่ารำคาญยิ่งนัก! ระบบของเราไม่ได้เป็นเผด็จการ แต่เป็นประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์ ในช่วงที่ประธานเหมาเป็นผู้นำก็ไม่ได้เป็นแบบราชวงศ์ฉิน แต่เป็นประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์เช่นกัน หากจะเปรียบเทียบแล้ว ระบบของเรานั้นน่าจะใกล้เคียงกับระบบของฝรั่งเศสมากกว่า"<ref>{{Cite web|url=https://ebook.dswxyjy.org.cn/storage/files/20220801/21755a99b032fbbb16115b11d359783057035/mobile/index.html|title=邓小平文选(第三卷)|website=ebook.dswxyjy.org.cn}}</ref> การเยือนภาคใต้ในปี ค.ศ. 1992 ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญยิ่งใน[[ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน|ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของจีน]] เพราะได้ช่วยรักษา[[การปฏิรูปเศรษฐกิจจีน|การปฏิรูปเศรษฐกิจของจีน]]ไว้ และยังคงไว้ซึ่งความมั่นคงของสังคม<ref name=":32">{{Cite web |date=2009 |title=Deng Xiaoping's Southern Tour |url=http://chinaconnectu.com/wp-content/pdf/DengXiaopingsSouthernTour.pdf |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20170517044420/http://chinaconnectu.com/wp-content/pdf/DengXiaopingsSouthernTour.pdf |archive-date=17 May 2017 |access-date=1 May 2020 |website=Berkshire Publishing Group LLC}}</ref><ref name=":12">{{Cite web |last=Ma |first=Damien |date=23 January 2012 |title=After 20 Years of 'Peaceful Evolution,' China Faces Another Historic Moment |url=https://www.theatlantic.com/international/archive/2012/01/after-20-years-of-peaceful-evolution-china-faces-another-historic-moment/251764/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190816112722/https://www.theatlantic.com/international/archive/2012/01/after-20-years-of-peaceful-evolution-china-faces-another-historic-moment/251764/ |archive-date=16 August 2019 |access-date=1 May 2020 |website=The Atlantic |language=en-US}}</ref><ref>{{Cite web |date=21 August 2014 |title='How my father's speeches saved Chinese economic reform': Deng Xiaoping's daughter pays tribute |url=https://www.scmp.com/news/china/article/1578453/how-my-fathers-speeches-saved-chinese-economic-reform-deng-xiaopings |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200803081210/https://www.scmp.com/news/china/article/1578453/how-my-fathers-speeches-saved-chinese-economic-reform-deng-xiaopings |archive-date=3 August 2020 |access-date=1 May 2020 |website=South China Morning Post}}</ref><ref name=":22">{{Cite news |date=18 December 2008 |title=The great pragmatist: Deng Xiaoping |language=en-GB |work=The Guardian |url=https://www.theguardian.com/business/2008/dec/18/globaleconomy-economics |url-status=live |access-date=1 May 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200502094413/https://www.theguardian.com/business/2008/dec/18/globaleconomy-economics |archive-date=2 May 2020 |issn=0261-3077}}</ref><ref>{{Cite journal |last=Zhao |first=Suisheng |date=1993 |title=Deng Xiaoping's Southern Tour: Elite Politics in Post-Tiananmen China |journal=Asian Survey |volume=33 |issue=8 |pages=739–756 |doi=10.2307/2645086 |issn=0004-4687 |jstor=2645086}}</ref> สุขภาพของเติ้งเสื่อมลงอย่างรวดเร็วหลังปี ค.ศ. 1994 ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1995 บุตรีของเติ้งได้ให้เปิดเผยแก่สื่อมวลชนว่า "เมื่อปีที่แล้ว ท่านสามารถเดินได้นาน 30 นาทีวันละ 2 ครั้ง แต่ปัจจุบันไม่สามารถเดินได้แล้ว ... ท่านต้องอาศัยคนช่วยพยุงสองคน"<ref name="Tampa Bay Times 1995 k697">{{cite web | title=Health of China's Deng worsens | website=Tampa Bay Times | date=14 Jan 1995 | url=https://www.tampabay.com/archive/1995/01/14/health-of-china-s-deng-worsens/?outputType=amp | access-date=30 Nov 2023 | archive-date=2 December 2023 | archive-url=https://web.archive.org/web/20231202170359/https://www.tampabay.com/archive/1995/01/14/health-of-china-s-deng-worsens/?outputType=amp | url-status=live }}</ref> ยังมีรายงานอีกว่าในปีเดียวกัน ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคพาร์คินสันถูกส่งตัวไปยังปักกิ่งเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่เขา<ref name="South China Morning Post 1995 b711">{{cite web | title=Parkinson's experts sent to help Deng | website=South China Morning Post | date=26 Jan 1995 | url=https://www.scmp.com/article/104772/parkinsons-experts-sent-help-deng | archive-url=https://web.archive.org/web/20231130174822/https://www.scmp.com/article/104772/parkinsons-experts-sent-help-deng | archive-date=30 Nov 2023 | url-status=live | access-date=30 Nov 2023}}</ref>
[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ค.ศ. 1989]] ส่งผลให้อำนาจของเติ้งอ่อนแอลงอย่างมีนัยสำคัญ และภายในพรรคก็ได้เกิดกลุ่มอนุรักษ์นิยมขึ้นมาต่อต้านการปฏิรูปของเติ้งอย่างแข็งขัน เพื่อย้ำนโยบายทางเศรษฐกิจของตนอีกครั้ง ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1992 เติ้งได้เดินทางเยือนภาคใต้ของจีน โดยได้เยือนเมือง[[กว่างโจว]] [[เชินเจิ้น]] [[จูไห่]] และใช้เวลาช่วงเทศกาลตรุษจีนที่เซี่ยงไฮ้ การเดินทางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเน้นย้ำนโยบายเศรษฐกิจของตนหลังจากเกษียณอายุไปแล้ว<ref>{{Cite web |last=Fisher |first=Max |date=2 June 2014 |title=This 1989 speech is one of China's most important |url=https://www.vox.com/2014/6/2/5772016/this-1989-speech-is-one-of-the-most-important-in-chinas-history-and |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727204832/https://www.vox.com/2014/6/2/5772016/this-1989-speech-is-one-of-the-most-important-in-chinas-history-and |archive-date=27 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=Vox}}</ref><ref name="SuishengZhao">{{Cite journal |last=Zhao |first=Suisheng |author-link=Suisheng Zhao |date=1993 |title=Deng Xiaoping's Southern Tour: Elite Politics in Post-Tiananmen China |journal=Asian Survey |volume=33 |issue=8 |pages=739–756 |doi=10.2307/2645086 |issn=0004-4687 |jstor=2645086}}</ref> เขากล่าวว่า "คนบางกลุ่มได้ให้ร้ายต่อระบบสังคมนิยมของเราว่าเป็นระบบของราชวงศ์ฉิน ซึ่งเป็นการกล่าวหาที่น่ารำคาญยิ่งนัก! ระบบของเราไม่ได้เป็นเผด็จการ แต่เป็นประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์ ในช่วงที่ประธานเหมาเป็นผู้นำก็ไม่ได้เป็นแบบราชวงศ์ฉิน แต่เป็นประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์เช่นกัน หากจะเปรียบเทียบแล้ว ระบบของเรานั้นน่าจะใกล้เคียงกับระบบของฝรั่งเศสมากกว่า"<ref>{{Cite web|url=https://ebook.dswxyjy.org.cn/storage/files/20220801/21755a99b032fbbb16115b11d359783057035/mobile/index.html|title=邓小平文选(第三卷)|website=ebook.dswxyjy.org.cn}}</ref> การเยือนภาคใต้ใน ค.ศ. 1992 ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญยิ่งใน[[ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน|ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของจีน]] เพราะได้ช่วยรักษา[[การปฏิรูปเศรษฐกิจจีน|การปฏิรูปเศรษฐกิจของจีน]]ไว้ และยังคงไว้ซึ่งความมั่นคงของสังคม<ref name=":32">{{Cite web |date=2009 |title=Deng Xiaoping's Southern Tour |url=http://chinaconnectu.com/wp-content/pdf/DengXiaopingsSouthernTour.pdf |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20170517044420/http://chinaconnectu.com/wp-content/pdf/DengXiaopingsSouthernTour.pdf |archive-date=17 May 2017 |access-date=1 May 2020 |website=Berkshire Publishing Group LLC}}</ref><ref name=":12">{{Cite web |last=Ma |first=Damien |date=23 January 2012 |title=After 20 Years of 'Peaceful Evolution,' China Faces Another Historic Moment |url=https://www.theatlantic.com/international/archive/2012/01/after-20-years-of-peaceful-evolution-china-faces-another-historic-moment/251764/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190816112722/https://www.theatlantic.com/international/archive/2012/01/after-20-years-of-peaceful-evolution-china-faces-another-historic-moment/251764/ |archive-date=16 August 2019 |access-date=1 May 2020 |website=The Atlantic |language=en-US}}</ref><ref>{{Cite web |date=21 August 2014 |title='How my father's speeches saved Chinese economic reform': Deng Xiaoping's daughter pays tribute |url=https://www.scmp.com/news/china/article/1578453/how-my-fathers-speeches-saved-chinese-economic-reform-deng-xiaopings |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20200803081210/https://www.scmp.com/news/china/article/1578453/how-my-fathers-speeches-saved-chinese-economic-reform-deng-xiaopings |archive-date=3 August 2020 |access-date=1 May 2020 |website=South China Morning Post}}</ref><ref name=":22">{{Cite news |date=18 December 2008 |title=The great pragmatist: Deng Xiaoping |language=en-GB |work=The Guardian |url=https://www.theguardian.com/business/2008/dec/18/globaleconomy-economics |url-status=live |access-date=1 May 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200502094413/https://www.theguardian.com/business/2008/dec/18/globaleconomy-economics |archive-date=2 May 2020 |issn=0261-3077}}</ref><ref>{{Cite journal |last=Zhao |first=Suisheng |date=1993 |title=Deng Xiaoping's Southern Tour: Elite Politics in Post-Tiananmen China |journal=Asian Survey |volume=33 |issue=8 |pages=739–756 |doi=10.2307/2645086 |issn=0004-4687 |jstor=2645086}}</ref> สุขภาพของเติ้งเสื่อมลงอย่างรวดเร็วหลังปี ค.ศ. 1994 ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1995 บุตรีของเติ้งได้ให้เปิดเผยแก่สื่อมวลชนว่า "เมื่อปีที่แล้ว ท่านสามารถเดินได้นาน 30 นาทีวันละ 2 ครั้ง แต่ปัจจุบันไม่สามารถเดินได้แล้ว ... ท่านต้องอาศัยคนช่วยพยุงสองคน"<ref name="Tampa Bay Times 1995 k697">{{cite web | title=Health of China's Deng worsens | website=Tampa Bay Times | date=14 Jan 1995 | url=https://www.tampabay.com/archive/1995/01/14/health-of-china-s-deng-worsens/?outputType=amp | access-date=30 Nov 2023 | archive-date=2 December 2023 | archive-url=https://web.archive.org/web/20231202170359/https://www.tampabay.com/archive/1995/01/14/health-of-china-s-deng-worsens/?outputType=amp | url-status=live }}</ref> ยังมีรายงานอีกว่าในปีเดียวกัน ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคพาร์คินสันถูกส่งตัวไปยังปักกิ่งเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่เขา<ref name="South China Morning Post 1995 b711">{{cite web | title=Parkinson's experts sent to help Deng | website=South China Morning Post | date=26 Jan 1995 | url=https://www.scmp.com/article/104772/parkinsons-experts-sent-help-deng | archive-url=https://web.archive.org/web/20231130174822/https://www.scmp.com/article/104772/parkinsons-experts-sent-help-deng | archive-date=30 Nov 2023 | url-status=live | access-date=30 Nov 2023}}</ref>


== อสัญกรรม ==
== อสัญกรรม ==
บรรทัด 380: บรรทัด 380:
เติ้งถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 เวลา 21.08 น. ตามเวลาปักกิ่ง สิริอายุ 92 ปี จากการติดเชื้อในปอดและ[[โรคพาร์คินสัน]]<ref>{{Cite book |last=Hsü |first=Immanuel C.Y. |title=The Rise of Modern China |date=2000 |publisher=Oxford University Press |isbn=9780195125047 |edition=6th |location=New York |page=974 |author-link=Immanuel C. Y. Hsu}}</ref><ref>{{Cite web |title=Deng Xiaoping, leader of China's economic reforms, dies |url=https://apnews.com/c47e171cfed30e65e724dd709474c8fa |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20211026221211/https://apnews.com/c47e171cfed30e65e724dd709474c8fa |archive-date=26 October 2021 |access-date=18 July 2021 |website=Associated Press}}</ref> ประชาชนส่วนใหญ่มีความพร้อมรับกับการอสัญกรรมของเขา เนื่องจากมีข่าวลือว่าสุขภาพของเขากำลังย่ำแย่ลง เวลา 10:00 น. ของวันที่ 24 กุมภาพันธ์ นายกรัฐมนตรี[[หลี่ เผิง]] ได้ขอให้ประชาชนร่วมกันยืนสงบนิ่งเพื่อแสดงความอาลัยเป็นเวลา 3 นาที ธงชาติของประเทศถูก[[การลดธงครึ่งเสา|ลดครึ่งเสา]]เป็นเวลาเกือบหนึ่งสัปดาห์ พิธีศพซึ่งถ่ายทอดสดไปทั่วประเทศ เป็นพิธีที่เรียบง่ายและค่อนข้างเป็นส่วนตัว มีเพียงผู้นำระดับสูงของประเทศและครอบครัวของเติ้งเท่านั้นที่เข้าร่วม และได้มีการถ่ายทอดสดผ่านช่องสัญญาณเคเบิลทุกช่อง ภายหลังพิธีศพ อวัยวะของเขาได้ถูกบริจาคเพื่อการวิจัยทางการแพทย์ ส่วนร่างกายที่เหลือได้ถูกนำไปฌาปนกิจ ณ [[สุสานปฏิวัติปาเป่าชาน]] และอัฐิของเขาได้ถูกโปรยลงสู่ทะเลตามความประสงค์สุดท้าย ตลอดสองสัปดาห์ถัดมา สื่อของรัฐบาลจีนได้เผยแพร่ข่าวและสารคดีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและการอสัญกรรมของเติ้ง โดย[[ซินเหวินเหลียนปัว|รายการข่าวแห่งชาติ]]เวลา 19:00 น. ซึ่งเป็นรายการข่าวภาคค่ำประจำวัน ได้ขยายเวลาออกอากาศไปเกือบสองชั่วโมงจากเวลาออกอากาศปกติ{{fact|date=September 2024}}
เติ้งถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 เวลา 21.08 น. ตามเวลาปักกิ่ง สิริอายุ 92 ปี จากการติดเชื้อในปอดและ[[โรคพาร์คินสัน]]<ref>{{Cite book |last=Hsü |first=Immanuel C.Y. |title=The Rise of Modern China |date=2000 |publisher=Oxford University Press |isbn=9780195125047 |edition=6th |location=New York |page=974 |author-link=Immanuel C. Y. Hsu}}</ref><ref>{{Cite web |title=Deng Xiaoping, leader of China's economic reforms, dies |url=https://apnews.com/c47e171cfed30e65e724dd709474c8fa |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20211026221211/https://apnews.com/c47e171cfed30e65e724dd709474c8fa |archive-date=26 October 2021 |access-date=18 July 2021 |website=Associated Press}}</ref> ประชาชนส่วนใหญ่มีความพร้อมรับกับการอสัญกรรมของเขา เนื่องจากมีข่าวลือว่าสุขภาพของเขากำลังย่ำแย่ลง เวลา 10:00 น. ของวันที่ 24 กุมภาพันธ์ นายกรัฐมนตรี[[หลี่ เผิง]] ได้ขอให้ประชาชนร่วมกันยืนสงบนิ่งเพื่อแสดงความอาลัยเป็นเวลา 3 นาที ธงชาติของประเทศถูก[[การลดธงครึ่งเสา|ลดครึ่งเสา]]เป็นเวลาเกือบหนึ่งสัปดาห์ พิธีศพซึ่งถ่ายทอดสดไปทั่วประเทศ เป็นพิธีที่เรียบง่ายและค่อนข้างเป็นส่วนตัว มีเพียงผู้นำระดับสูงของประเทศและครอบครัวของเติ้งเท่านั้นที่เข้าร่วม และได้มีการถ่ายทอดสดผ่านช่องสัญญาณเคเบิลทุกช่อง ภายหลังพิธีศพ อวัยวะของเขาได้ถูกบริจาคเพื่อการวิจัยทางการแพทย์ ส่วนร่างกายที่เหลือได้ถูกนำไปฌาปนกิจ ณ [[สุสานปฏิวัติปาเป่าชาน]] และอัฐิของเขาได้ถูกโปรยลงสู่ทะเลตามความประสงค์สุดท้าย ตลอดสองสัปดาห์ถัดมา สื่อของรัฐบาลจีนได้เผยแพร่ข่าวและสารคดีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและการอสัญกรรมของเติ้ง โดย[[ซินเหวินเหลียนปัว|รายการข่าวแห่งชาติ]]เวลา 19:00 น. ซึ่งเป็นรายการข่าวภาคค่ำประจำวัน ได้ขยายเวลาออกอากาศไปเกือบสองชั่วโมงจากเวลาออกอากาศปกติ{{fact|date=September 2024}}


เจียง เจ๋อหมิน ผู้สืบทอดตำแหน่งของเติ้งยังคงดำเนินนโยบายตามแนวทาง[[ทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง|ปรัชญาทางการเมืองและเศรษฐกิจของเติ้ง]] เติ้งได้รับการยกย่องว่าเป็น "มาร์กซิสต์ผู้ยิ่งใหญ่ นักปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพผู้ยิ่งใหญ่ รัฐบุรุษ นักยุทธศาสตร์การทหาร และนักการทูต หนึ่งในผู้นำหลักของพรรคคอมมิวนิสต์จีน [[กองทัพปลดปล่อยประชาชน|กองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน]] และสาธารณรัฐประชาชนจีน สถาปนิกผู้ยิ่งใหญ่แห่งการเปิดประเทศแบบสังคมนิยมและการปฏิรูปประเทศจีนให้ทันสมัย และผู้ริเริ่ม[[ทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง]]"<ref>[http://www.cnn.com/WORLD/9702/24/china.deng/ CNN: China officially mourns Deng Xiaoping] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20021119122614/http://www.cnn.com/WORLD/9702/24/china.deng/ |date=19 November 2002 }} 24 February 1997</ref> อย่างไรก็ตาม กลุ่มบุคคลบางกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มลัทธิเหมาสมัยใหม่และนักปฏิรูปหัวรุนแรง (ทั้งฝ่ายซ้ายจัดและขวาจัด) นั้นมีมุมมองต่อเขาในแง่ลบ ปีต่อมา บทเพลงอย่าง "[[ชุนเทียนเตอะกู้ชื่อ]]" (นิทานฤดูใบไม้ผลิ) ที่ขับร้องโดย[[ต่ง เหวิน-หฺวา]] ซึ่งประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เติ้งหลังจากการเดินทางเยือนภาคใต้ของเขาในปี ค.ศ. 1992 ก็กลับมาได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายอีกครั้ง{{fact|date=September 2024}}
เจียง เจ๋อหมิน ผู้สืบทอดตำแหน่งของเติ้งยังคงดำเนินนโยบายตามแนวทาง[[ทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง|ปรัชญาทางการเมืองและเศรษฐกิจของเติ้ง]] เติ้งได้รับการยกย่องว่าเป็น "มาร์กซิสต์ผู้ยิ่งใหญ่ นักปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพผู้ยิ่งใหญ่ รัฐบุรุษ นักยุทธศาสตร์การทหาร และนักการทูต หนึ่งในผู้นำหลักของพรรคคอมมิวนิสต์จีน [[กองทัพปลดปล่อยประชาชน|กองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน]] และสาธารณรัฐประชาชนจีน สถาปนิกผู้ยิ่งใหญ่แห่งการเปิดประเทศแบบสังคมนิยมและการปฏิรูปประเทศจีนให้ทันสมัย และผู้ริเริ่ม[[ทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง]]"<ref>[http://www.cnn.com/WORLD/9702/24/china.deng/ CNN: China officially mourns Deng Xiaoping] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20021119122614/http://www.cnn.com/WORLD/9702/24/china.deng/ |date=19 November 2002 }} 24 February 1997</ref> อย่างไรก็ตาม กลุ่มบุคคลบางกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มลัทธิเหมาสมัยใหม่และนักปฏิรูปหัวรุนแรง (ทั้งฝ่ายซ้ายจัดและขวาจัด) นั้นมีมุมมองต่อเขาในแง่ลบ ปีต่อมา บทเพลงอย่าง "[[ชุนเทียนเตอะกู้ชื่อ]]" (นิทานฤดูใบไม้ผลิ) ที่ขับร้องโดย[[ต่ง เหวิน-หฺวา]] ซึ่งประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เติ้งหลังจากการเดินทางเยือนภาคใต้ของเขาใน ค.ศ. 1992 ก็กลับมาได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายอีกครั้ง{{fact|date=September 2024}}


การถึงแก่อสัญกรรมของเติ้งได้ก่อให้เกิดปฏิกิริยาในระดับนานาชาติ [[โคฟี แอนนัน]] เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวว่า "เติ้งควรได้รับการจดจำในประชาคมโลกว่าเป็นสถาปนิกในการปฏิรูปและพัฒนาเศรษฐกิจของจีนให้ก้าวกระโดด" ประธานาธิบดี[[ฌัก ชีรัก]] แห่งฝรั่งเศส กล่าวว่า "ในศตวรรษนี้มีชายเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่สามารถนำชุมชนมนุษย์ขนาดใหญ่ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่ลึกซึ้งและกำหนดชะตาชีวิตได้มากเท่ากับเติ้ง" นายกรัฐมนตรี[[จอห์น เมเจอร์]] แห่งสหราชอาณาจักร ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับบทบาทสำคัญของเติ้งในการส่งมอบฮ่องกงกลับคืนสู่การปกครองของจีน นายกรัฐมนตรี[[ฌ็อง เครเตียง]] แห่งแคนาดา เรียกเติ้งว่าเป็น "บุคคลสำคัญ" ในประวัติศาสตร์จีน ประธาน[[ก๊กมินตั๋ง|พรรคก๊กมินตั๋ง]]แห่งไต้หวันได้ส่งคำแสดงความเสียใจพร้อมระบุว่าปรารถนาที่จะเห็นสันติภาพ ความร่วมมือ และความเจริญรุ่งเรือง องค์[[ทะไลลามะที่ 14|ทะไลลามะ]]ได้แสดงความเสียใจที่เติ้งอสัญกรรมไปโดยไม่ได้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับทิเบต<ref>[http://www.cnn.com/WORLD/9702/19/deng.world.reax/index.html CNN:World leaders praise Deng's economic legacy] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070816133436/http://www.cnn.com/WORLD/9702/19/deng.world.reax/index.html |date=16 August 2007 }} 24 February 1997</ref>
การถึงแก่อสัญกรรมของเติ้งได้ก่อให้เกิดปฏิกิริยาในระดับนานาชาติ [[โคฟี แอนนัน]] เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวว่า "เติ้งควรได้รับการจดจำในประชาคมโลกว่าเป็นสถาปนิกในการปฏิรูปและพัฒนาเศรษฐกิจของจีนให้ก้าวกระโดด" ประธานาธิบดี[[ฌัก ชีรัก]] แห่งฝรั่งเศส กล่าวว่า "ในศตวรรษนี้มีชายเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่สามารถนำชุมชนมนุษย์ขนาดใหญ่ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่ลึกซึ้งและกำหนดชะตาชีวิตได้มากเท่ากับเติ้ง" นายกรัฐมนตรี[[จอห์น เมเจอร์]] แห่งสหราชอาณาจักร ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับบทบาทสำคัญของเติ้งในการส่งมอบฮ่องกงกลับคืนสู่การปกครองของจีน นายกรัฐมนตรี[[ฌ็อง เครเตียง]] แห่งแคนาดา เรียกเติ้งว่าเป็น "บุคคลสำคัญ" ในประวัติศาสตร์จีน ประธาน[[ก๊กมินตั๋ง|พรรคก๊กมินตั๋ง]]แห่งไต้หวันได้ส่งคำแสดงความเสียใจพร้อมระบุว่าปรารถนาที่จะเห็นสันติภาพ ความร่วมมือ และความเจริญรุ่งเรือง องค์[[ทะไลลามะที่ 14|ทะไลลามะ]]ได้แสดงความเสียใจที่เติ้งอสัญกรรมไปโดยไม่ได้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับทิเบต<ref>[http://www.cnn.com/WORLD/9702/19/deng.world.reax/index.html CNN:World leaders praise Deng's economic legacy] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070816133436/http://www.cnn.com/WORLD/9702/19/deng.world.reax/index.html |date=16 August 2007 }} 24 February 1997</ref>
บรรทัด 399: บรรทัด 399:
กรุง[[บิชเคก]] เมืองหลวงของ[[ประเทศคีร์กีซสถาน]] มีถนนขนาดสี่ช่องจราจรกว้าง 25 เมตร (82 ฟุต) ยาว 3.5 กิโลเมตร (2 ไมล์) ชื่อว่าถนนเติ้ง เสี่ยวผิง ซึ่งได้เปิดใช้งานในวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1997 อนุสาวรีย์หินแกรนิตสีแดงสูง 2 เมตรตั้งอยู่ทางปลายด้านตะวันออกของถนนสายนี้ คำจารึกเขียนเป็นภาษาจีน รัสเซีย และ[[ภาษาคีร์กีซ|คีร์กีซ]]<ref>{{Cite web |title=Turkistan-Newsletter Volume: 97-1:13, 20&nbsp;June 1997 |url=http://www.euronet.nl/users/sota/TN97113.htm |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20071004062636/http://www.euronet.nl/users/sota/TN97113.htm |archive-date=4 October 2007 |access-date=2 December 2010}}</ref><ref>{{Cite web |title=In Its Own Neighborhood, China Emerges as a Leader |last1=Pomfret |first1=John |agency=Washington Post |date=18 October 2001 |url=http://taiwansecurity.org/WP/2001/WP-101801-1.htm |url-status=dead |website=Taiwan Security Research |archive-url=https://web.archive.org/web/20020126221126/http://taiwansecurity.org/WP/2001/WP-101801-1.htm |archive-date=26 January 2002 |access-date=18 August 2013}}</ref>
กรุง[[บิชเคก]] เมืองหลวงของ[[ประเทศคีร์กีซสถาน]] มีถนนขนาดสี่ช่องจราจรกว้าง 25 เมตร (82 ฟุต) ยาว 3.5 กิโลเมตร (2 ไมล์) ชื่อว่าถนนเติ้ง เสี่ยวผิง ซึ่งได้เปิดใช้งานในวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1997 อนุสาวรีย์หินแกรนิตสีแดงสูง 2 เมตรตั้งอยู่ทางปลายด้านตะวันออกของถนนสายนี้ คำจารึกเขียนเป็นภาษาจีน รัสเซีย และ[[ภาษาคีร์กีซ|คีร์กีซ]]<ref>{{Cite web |title=Turkistan-Newsletter Volume: 97-1:13, 20&nbsp;June 1997 |url=http://www.euronet.nl/users/sota/TN97113.htm |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20071004062636/http://www.euronet.nl/users/sota/TN97113.htm |archive-date=4 October 2007 |access-date=2 December 2010}}</ref><ref>{{Cite web |title=In Its Own Neighborhood, China Emerges as a Leader |last1=Pomfret |first1=John |agency=Washington Post |date=18 October 2001 |url=http://taiwansecurity.org/WP/2001/WP-101801-1.htm |url-status=dead |website=Taiwan Security Research |archive-url=https://web.archive.org/web/20020126221126/http://taiwansecurity.org/WP/2001/WP-101801-1.htm |archive-date=26 January 2002 |access-date=18 August 2013}}</ref>


ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง "เติ้ง เสี่ยวผิง" ซึ่ง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน]] (CCTV) ได้เผยแพร่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1997 นั้นได้นำเสนอประวัติชีวิตของเติ้งตั้งแต่สมัยที่เป็นนักศึกษาในประเทศฝรั่งเศสจนถึงการเดินทางเยือนภาคใต้ในปี ค.ศ. 1992<ref>{{Cite news |script-title=zh:文献纪录片《邓小平》 |language=zh-hans |agency=CCTV |url=http://news.xinhuanet.com/video/2008-02/28/content_7686329.htm |url-status=dead |access-date=23 September 2014 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150815050311/http://news.xinhuanet.com/video/2008-02/28/content_7686329.htm |archive-date=15 August 2015 |ref=123}}</ref> ในปี ค.ศ. 2014 CCTV ได้เผยแพร่[[ละครโทรทัศน์จีน|ละครโทรทัศน์]]เรื่อง "[[เติ้ง เสี่ยวผิง บนจุดเปลี่ยนของประวัติศาสตร์]]" (''Deng Xiaoping at History's Crossroads'') เพื่อเป็นการเตรียมฉลองครบรอบ 110 ปีชาตกาลของเขา
ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง "เติ้ง เสี่ยวผิง" ซึ่ง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน]] (CCTV) ได้เผยแพร่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1997 นั้นได้นำเสนอประวัติชีวิตของเติ้งตั้งแต่สมัยที่เป็นนักศึกษาในประเทศฝรั่งเศสจนถึงการเดินทางเยือนภาคใต้ใน ค.ศ. 1992<ref>{{Cite news |script-title=zh:文献纪录片《邓小平》 |language=zh-hans |agency=CCTV |url=http://news.xinhuanet.com/video/2008-02/28/content_7686329.htm |url-status=dead |access-date=23 September 2014 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150815050311/http://news.xinhuanet.com/video/2008-02/28/content_7686329.htm |archive-date=15 August 2015 |ref=123}}</ref> ใน ค.ศ. 2014 CCTV ได้เผยแพร่[[ละครโทรทัศน์จีน|ละครโทรทัศน์]]เรื่อง "[[เติ้ง เสี่ยวผิง บนจุดเปลี่ยนของประวัติศาสตร์]]" (''Deng Xiaoping at History's Crossroads'') เพื่อเป็นการเตรียมฉลองครบรอบ 110 ปีชาตกาลของเขา


=== การประเมิน ===
=== การประเมิน ===
เติ้งได้รับการขนานนามว่าเป็น "สถาปนิกแห่งประเทศจีนยุคปัจจุบัน"<ref name=":0" /><ref name=":1" /><ref>{{Cite news |date=8 December 2018 |title=Forty years after Deng opened China, reformists are cowed |newspaper=The Economist |url=https://www.economist.com/china/2018/12/08/forty-years-after-deng-opened-china-reformists-are-cowed |url-status=live |access-date=27 July 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727200903/https://www.economist.com/china/2018/12/08/forty-years-after-deng-opened-china-reformists-are-cowed |archive-date=27 July 2019 |issn=0013-0613}}</ref><ref>{{Cite web |last=Huang |first=Dan Kopf, Echo |date=21 August 2018 |title=Happy birthday Deng Xiaoping: Here are 10 charts showing how he changed China |url=https://qz.com/1365629/happy-birthday-deng-xiaoping-these-charts-show-how-he-changed-china/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727200902/https://qz.com/1365629/happy-birthday-deng-xiaoping-these-charts-show-how-he-changed-china/ |archive-date=27 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=Quartz}}</ref> และได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในศตวรรษที่ 20<ref name="Legacy-JapanTimes">{{Cite news |date=27 August 2014 |title=Deng Xiaoping's lasting legacy |work=[[The Japan Times]] |url=https://www.japantimes.co.jp/opinion/2014/08/27/editorials/deng-xiaopings-lasting-legacy/ |url-status=live |access-date=14 September 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190607215305/https://www.japantimes.co.jp/opinion/2014/08/27/editorials/deng-xiaopings-lasting-legacy/ |archive-date=7 June 2019}}</ref> เขาได้รับเลือกให้เป็น[[บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์]]ในปี ค.ศ. 1978 และ 1985 นับเป็นผู้นำจีนคนที่สาม (รองจาก[[เจียง ไคเชก]] และนาง[[ซ่ง เหม่ย์หลิง]] ภริยา) และเป็นผู้นำคอมมิวนิสต์คนที่สี่ (รองจาก[[โจเซฟ สตาลิน]] ซึ่งได้รับเลือกสองครั้ง และ[[นีกีตา ครุชชอฟ]]) ที่ได้รับเกียรตินี้<ref>{{Cite web |last=Rosenberg |first=Jennifer |title=A Complete Look at Time's Person of the Year List, from 1927–2017 |url=https://www.thoughtco.com/times-man-of-the-year-list-1779824 |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727204832/https://www.thoughtco.com/times-man-of-the-year-list-1779824 |archive-date=27 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=ThoughtCo}}</ref>
เติ้งได้รับการขนานนามว่าเป็น "สถาปนิกแห่งประเทศจีนยุคปัจจุบัน"<ref name=":0" /><ref name=":1" /><ref>{{Cite news |date=8 December 2018 |title=Forty years after Deng opened China, reformists are cowed |newspaper=The Economist |url=https://www.economist.com/china/2018/12/08/forty-years-after-deng-opened-china-reformists-are-cowed |url-status=live |access-date=27 July 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727200903/https://www.economist.com/china/2018/12/08/forty-years-after-deng-opened-china-reformists-are-cowed |archive-date=27 July 2019 |issn=0013-0613}}</ref><ref>{{Cite web |last=Huang |first=Dan Kopf, Echo |date=21 August 2018 |title=Happy birthday Deng Xiaoping: Here are 10 charts showing how he changed China |url=https://qz.com/1365629/happy-birthday-deng-xiaoping-these-charts-show-how-he-changed-china/ |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727200902/https://qz.com/1365629/happy-birthday-deng-xiaoping-these-charts-show-how-he-changed-china/ |archive-date=27 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=Quartz}}</ref> และได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในศตวรรษที่ 20<ref name="Legacy-JapanTimes">{{Cite news |date=27 August 2014 |title=Deng Xiaoping's lasting legacy |work=[[The Japan Times]] |url=https://www.japantimes.co.jp/opinion/2014/08/27/editorials/deng-xiaopings-lasting-legacy/ |url-status=live |access-date=14 September 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190607215305/https://www.japantimes.co.jp/opinion/2014/08/27/editorials/deng-xiaopings-lasting-legacy/ |archive-date=7 June 2019}}</ref> เขาได้รับเลือกให้เป็น[[บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์]]ใน ค.ศ. 1978 และ 1985 นับเป็นผู้นำจีนคนที่สาม (รองจาก[[เจียง ไคเชก]] และนาง[[ซ่ง เหม่ย์หลิง]] ภริยา) และเป็นผู้นำคอมมิวนิสต์คนที่สี่ (รองจาก[[โจเซฟ สตาลิน]] ซึ่งได้รับเลือกสองครั้ง และ[[นีกีตา ครุชชอฟ]]) ที่ได้รับเกียรตินี้<ref>{{Cite web |last=Rosenberg |first=Jennifer |title=A Complete Look at Time's Person of the Year List, from 1927–2017 |url=https://www.thoughtco.com/times-man-of-the-year-list-1779824 |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190727204832/https://www.thoughtco.com/times-man-of-the-year-list-1779824 |archive-date=27 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=ThoughtCo}}</ref>


เติ้งเป็นที่จดจำอย่างมากจากการปฏิรูปเศรษฐกิจที่เขาได้ริเริ่มในขณะที่เป็น[[ผู้นำสูงสุดของจีน]] ซึ่งผลักดันจีนให้ไปสู่[[เศรษฐกิจตลาด]] ส่งผลเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ยกระดับ[[มาตรฐานการครองชีพ]]ของประชากรหลายร้อยล้านคน<ref>{{Cite book |last=Robert Dernberger |url=https://books.google.com/books?id=mDS0GW7FH_0C&pg=PA179 |title=China in the Era of Deng Xiaoping |publisher=Sharpe |year=1993 |isbn=9781563242786 |access-date=13 March 2010 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211201014443/https://books.google.com/books?id=mDS0GW7FH_0C&pg=PA179 |archive-date=1 December 2021 |url-status=live}}</ref> ขยายเสรีภาพส่วนบุคคลและวัฒนธรรม และบูรณาการประเทศเข้ากับเศรษฐกิจโลกอย่างมีนัยสำคัญ<ref>{{Cite web |last=Knight |first=John |date=January 2012 |title=Review: Deng Xiaoping and the Transformation of China |url=https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190725131635/https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |archive-date=25 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=Origins |publisher=The Ohio State University}}</ref><ref name="Britannica">{{Cite web |last=The Editors of Encyclopaedia Britannica |date=1 November 2019 |title=Deng Xiaoping |url=https://www.britannica.com/biography/Deng-Xiaoping#ref343482 |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191004231718/https://www.britannica.com/biography/Deng-Xiaoping#ref343482 |archive-date=4 October 2019 |access-date=22 November 2019 |publisher=Encyclopaedia Britannica}}</ref><ref>{{Cite news |last1=Kopf |first1=Dan |last2=Lahiri |first2=Tripti |date=17 December 2018 |title=The charts that show how Deng Xiaoping unleashed China's pent-up capitalist energy in 1978 |publisher=Quartz |url=https://qz.com/1498654/the-astonishing-impact-of-chinas-1978-reforms-in-charts/ |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190930055340/https://qz.com/1498654/the-astonishing-impact-of-chinas-1978-reforms-in-charts/ |archive-date=30 September 2019}}</ref> ภายใต้การนำของเขา ประชากรจำนวนมากได้หลุดพ้นจากสภาวะความยากจนมากกว่าช่วงเวลาใด ๆ ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปที่เขาได้ริเริ่มเป็นส่วนใหญ่<ref name="Legacy-JapanTimes" /> จากเหตุผลดังกล่าว จึงมีผู้เสนอแนะว่าเติ้งสมควรได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]]<ref>{{Cite news |date=13 November 2010 |title=Deng should have been first Chinese to get Nobel Peace Prize: Exco chief |publisher=South China Morning Post |url=https://www.scmp.com/article/730315/deng-should-have-been-first-chinese-get-nobel-peace-prize-exco-chief |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20191101154103/https://www.scmp.com/article/730315/deng-should-have-been-first-chinese-get-nobel-peace-prize-exco-chief |archive-date=1 November 2019}}</ref><ref>{{Cite news |last=Rein |first=Shaun |date=14 December 2010 |title=How To Fix Western-Chinese Relations |work=Forbes |url=https://www.forbes.com/2010/12/14/nobel-peace-prize-china-deng-gandhi-leadership-managing-rein.html#4e243ab562f3 |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170109204050/http://www.forbes.com/2010/12/14/nobel-peace-prize-china-deng-gandhi-leadership-managing-rein.html#4e243ab562f3 |archive-date=9 January 2017}}</ref><ref>{{Cite news |last=Byrnes |first=Sholto |date=12 October 2010 |title=Ignoble reactions to the Nobel Peace Prize |publisher=New Statesmen |url=https://www.newstatesman.com/blogs/the-staggers/2010/10/nobel-peace-china-singapore |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130608024808/http://www.newstatesman.com/blogs/the-staggers/2010/10/nobel-peace-china-singapore |archive-date=8 June 2013}}</ref> เติ้งยังได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ลดทอนการบูชา[[เหมา เจ๋อตง]]อย่างสุดโต่ง และเป็นผู้ยุติยุคแห่งความวุ่นวายของ[[การปฏิวัติทางวัฒนธรรม]]<ref name="Economist-Great-Stabiliser">{{Cite news |date=22 October 2011 |title=Deng Xiaoping's legacy: The Great Stabiliser |publisher=The Economist |url=https://www.economist.com/books-and-arts/2011/10/22/the-great-stabiliser |url-status=live |access-date=14 September 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190506090043/https://www.economist.com/books-and-arts/2011/10/22/the-great-stabiliser |archive-date=6 May 2019}}</ref> ยิ่งไปกว่านั้น การใช้อำนาจอย่างเด็ดขาดของเขายังได้รับการยกย่องว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้จีนยังคงเป็นปึกแผ่น ต่างจากมหาอำนาจ[[ลัทธิคอมมิวนิสต์|คอมมิวนิสต์]]อีกแห่งหนึ่งในยุคนั้นอย่าง[[สหภาพโซเวียต]]ที่ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1991<ref>{{Cite news |date=20 January 1997 |title=The Legacy of Deng Xiaoping |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/01/20/opinion/the-legacy-of-deng-xiaoping.html |url-status=live |access-date=14 September 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20171012113225/http://www.nytimes.com/1997/01/20/opinion/the-legacy-of-deng-xiaoping.html |archive-date=12 October 2017}}</ref>
เติ้งเป็นที่จดจำอย่างมากจากการปฏิรูปเศรษฐกิจที่เขาได้ริเริ่มในขณะที่เป็น[[ผู้นำสูงสุดของจีน]] ซึ่งผลักดันจีนให้ไปสู่[[เศรษฐกิจตลาด]] ส่งผลเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ยกระดับ[[มาตรฐานการครองชีพ]]ของประชากรหลายร้อยล้านคน<ref>{{Cite book |last=Robert Dernberger |url=https://books.google.com/books?id=mDS0GW7FH_0C&pg=PA179 |title=China in the Era of Deng Xiaoping |publisher=Sharpe |year=1993 |isbn=9781563242786 |access-date=13 March 2010 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211201014443/https://books.google.com/books?id=mDS0GW7FH_0C&pg=PA179 |archive-date=1 December 2021 |url-status=live}}</ref> ขยายเสรีภาพส่วนบุคคลและวัฒนธรรม และบูรณาการประเทศเข้ากับเศรษฐกิจโลกอย่างมีนัยสำคัญ<ref>{{Cite web |last=Knight |first=John |date=January 2012 |title=Review: Deng Xiaoping and the Transformation of China |url=https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190725131635/https://origins.osu.edu/review/man-who-re-invented-china |archive-date=25 July 2019 |access-date=27 July 2019 |website=Origins |publisher=The Ohio State University}}</ref><ref name="Britannica">{{Cite web |last=The Editors of Encyclopaedia Britannica |date=1 November 2019 |title=Deng Xiaoping |url=https://www.britannica.com/biography/Deng-Xiaoping#ref343482 |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191004231718/https://www.britannica.com/biography/Deng-Xiaoping#ref343482 |archive-date=4 October 2019 |access-date=22 November 2019 |publisher=Encyclopaedia Britannica}}</ref><ref>{{Cite news |last1=Kopf |first1=Dan |last2=Lahiri |first2=Tripti |date=17 December 2018 |title=The charts that show how Deng Xiaoping unleashed China's pent-up capitalist energy in 1978 |publisher=Quartz |url=https://qz.com/1498654/the-astonishing-impact-of-chinas-1978-reforms-in-charts/ |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190930055340/https://qz.com/1498654/the-astonishing-impact-of-chinas-1978-reforms-in-charts/ |archive-date=30 September 2019}}</ref> ภายใต้การนำของเขา ประชากรจำนวนมากได้หลุดพ้นจากสภาวะความยากจนมากกว่าช่วงเวลาใด ๆ ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปที่เขาได้ริเริ่มเป็นส่วนใหญ่<ref name="Legacy-JapanTimes" /> จากเหตุผลดังกล่าว จึงมีผู้เสนอแนะว่าเติ้งสมควรได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]]<ref>{{Cite news |date=13 November 2010 |title=Deng should have been first Chinese to get Nobel Peace Prize: Exco chief |publisher=South China Morning Post |url=https://www.scmp.com/article/730315/deng-should-have-been-first-chinese-get-nobel-peace-prize-exco-chief |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20191101154103/https://www.scmp.com/article/730315/deng-should-have-been-first-chinese-get-nobel-peace-prize-exco-chief |archive-date=1 November 2019}}</ref><ref>{{Cite news |last=Rein |first=Shaun |date=14 December 2010 |title=How To Fix Western-Chinese Relations |work=Forbes |url=https://www.forbes.com/2010/12/14/nobel-peace-prize-china-deng-gandhi-leadership-managing-rein.html#4e243ab562f3 |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170109204050/http://www.forbes.com/2010/12/14/nobel-peace-prize-china-deng-gandhi-leadership-managing-rein.html#4e243ab562f3 |archive-date=9 January 2017}}</ref><ref>{{Cite news |last=Byrnes |first=Sholto |date=12 October 2010 |title=Ignoble reactions to the Nobel Peace Prize |publisher=New Statesmen |url=https://www.newstatesman.com/blogs/the-staggers/2010/10/nobel-peace-china-singapore |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130608024808/http://www.newstatesman.com/blogs/the-staggers/2010/10/nobel-peace-china-singapore |archive-date=8 June 2013}}</ref> เติ้งยังได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ลดทอนการบูชา[[เหมา]]อย่างสุดโต่ง และเป็นผู้ยุติยุคแห่งความวุ่นวายของ[[การปฏิวัติทางวัฒนธรรม]]<ref name="Economist-Great-Stabiliser">{{Cite news |date=22 October 2011 |title=Deng Xiaoping's legacy: The Great Stabiliser |publisher=The Economist |url=https://www.economist.com/books-and-arts/2011/10/22/the-great-stabiliser |url-status=live |access-date=14 September 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190506090043/https://www.economist.com/books-and-arts/2011/10/22/the-great-stabiliser |archive-date=6 May 2019}}</ref> ยิ่งไปกว่านั้น การใช้อำนาจอย่างเด็ดขาดของเขายังได้รับการยกย่องว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้จีนยังคงเป็นปึกแผ่น ต่างจากมหาอำนาจ[[ลัทธิคอมมิวนิสต์|คอมมิวนิสต์]]อีกแห่งหนึ่งในยุคนั้นอย่าง[[สหภาพโซเวียต]]ที่ล่มสลายลงใน ค.ศ. 1991<ref>{{Cite news |date=20 January 1997 |title=The Legacy of Deng Xiaoping |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/01/20/opinion/the-legacy-of-deng-xiaoping.html |url-status=live |access-date=14 September 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20171012113225/http://www.nytimes.com/1997/01/20/opinion/the-legacy-of-deng-xiaoping.html |archive-date=12 October 2017}}</ref>


อย่างไรก็ตาม เติ้งยังเป็นที่จดจำในด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเหตุความรุนแรงทางการเมืองจำนวนมาก<ref name="Britannica" /><ref name="NYT-Wizard">{{Cite news |last=Tyler |first=Patrick E. |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping: A Political Wizard Who Put China on the Capitalist Road |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-a-political-wizard-who-put-china-on-the-capitalist-road.html |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190802164135/https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-a-political-wizard-who-put-china-on-the-capitalist-road.html |archive-date=2 August 2019}}</ref> ในฐานะผู้นำสูงสุด เขามีส่วนเกี่ยวข้องในการสั่งการ[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|ปราบปรามประชาชนที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน]] และภายหลังเหตุการณ์ดังกล่าว เขาก็มีอิทธิพลอย่างสูงในการปกปิดเหตุการณ์นี้ภายประเทศของ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]<ref name="Dillon2014">{{Cite book |last=Michael Dillon |url=https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PP1 |title=Deng Xiaoping: The Man who Made Modern China |publisher=Bloomsbury Publishing |year=2014 |isbn=978-0-85772-467-0 |pages=292–296 |access-date=22 June 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211201014443/https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PP1 |archive-date=1 December 2021 |url-status=live}}</ref><ref>{{Cite news |date=4 June 2019 |title=Tiananmen Square Fast Facts |publisher=CNN |url=https://www.cnn.com/2013/09/15/world/asia/tiananmen-square-fast-facts/index.html |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190919001916/https://www.cnn.com/2013/09/15/world/asia/tiananmen-square-fast-facts/index.html |archive-date=19 September 2019}}</ref><ref>{{Cite news |title=A Massacre Erased |newspaper=The Washington Post |url=https://www.washingtonpost.com/graphics/2019/opinions/global-opinions/tiananmen-square-a-massacre-erased/ |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20191107014411/https://www.washingtonpost.com/graphics/2019/opinions/global-opinions/tiananmen-square-a-massacre-erased/ |archive-date=7 November 2019}}</ref> ยิ่งไปกว่านั้น เขายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกวาดล้างที่โหดร้ายที่สุดในช่วงที่[[เหมา เจ๋อตง]]ครองอำนาจ ตัวอย่างเช่น เขาสั่งการให้[[กรณีชาเตี้ยน|กองทัพปราบปรามหมู่บ้านมุสลิมในมณฑลยูนนาน]] ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตถึง 1,600 คน รวมถึงเด็กอีก 300 คน<ref name="Economist-Great-Stabiliser" />
อย่างไรก็ตาม เติ้งยังเป็นที่จดจำในด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเหตุความรุนแรงทางการเมืองจำนวนมาก<ref name="Britannica" /><ref name="NYT-Wizard">{{Cite news |last=Tyler |first=Patrick E. |date=20 February 1997 |title=Deng Xiaoping: A Political Wizard Who Put China on the Capitalist Road |work=The New York Times |url=https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-a-political-wizard-who-put-china-on-the-capitalist-road.html |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190802164135/https://www.nytimes.com/1997/02/20/world/deng-xiaoping-a-political-wizard-who-put-china-on-the-capitalist-road.html |archive-date=2 August 2019}}</ref> ในฐานะผู้นำสูงสุด เขามีส่วนเกี่ยวข้องในการสั่งการ[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|ปราบปรามประชาชนที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน]] และภายหลังเหตุการณ์ดังกล่าว เขาก็มีอิทธิพลอย่างสูงในการปกปิดเหตุการณ์นี้ภายประเทศของ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]<ref name="Dillon2014">{{Cite book |last=Michael Dillon |url=https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PP1 |title=Deng Xiaoping: The Man who Made Modern China |publisher=Bloomsbury Publishing |year=2014 |isbn=978-0-85772-467-0 |pages=292–296 |access-date=22 June 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211201014443/https://books.google.com/books?id=qBGMDwAAQBAJ&pg=PP1 |archive-date=1 December 2021 |url-status=live}}</ref><ref>{{Cite news |date=4 June 2019 |title=Tiananmen Square Fast Facts |publisher=CNN |url=https://www.cnn.com/2013/09/15/world/asia/tiananmen-square-fast-facts/index.html |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190919001916/https://www.cnn.com/2013/09/15/world/asia/tiananmen-square-fast-facts/index.html |archive-date=19 September 2019}}</ref><ref>{{Cite news |title=A Massacre Erased |newspaper=The Washington Post |url=https://www.washingtonpost.com/graphics/2019/opinions/global-opinions/tiananmen-square-a-massacre-erased/ |url-status=live |access-date=22 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20191107014411/https://www.washingtonpost.com/graphics/2019/opinions/global-opinions/tiananmen-square-a-massacre-erased/ |archive-date=7 November 2019}}</ref> ยิ่งไปกว่านั้น เขายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกวาดล้างที่โหดร้ายที่สุดในช่วงที่[[เหมา]]ครองอำนาจ ตัวอย่างเช่น เขาสั่งการให้[[กรณีชาเตี้ยน|กองทัพปราบปรามหมู่บ้านมุสลิมในมณฑลยูนนาน]] ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตถึง 1,600 คน รวมถึงเด็กอีก 300 คน<ref name="Economist-Great-Stabiliser" />


ในฐานะผู้นำสูงสุด เติ้งยังได้เจรจาเพื่อยุติการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษเหนือฮ่องกง และสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตให้เป็นปกติกับสหรัฐและ[[สหภาพโซเวียต]]<ref name="NYT-Wizard" /><ref>{{Cite book |last1=Wasserstrom |first1=Jeffrey N. |title=China in the 21st Century: What Everyone Needs to Know |url=https://archive.org/details/chinain21stcentu0000wass_r4o0 |last2=Cunningham |first2=Maura Elizabeth |date=2018 |publisher=Oxford University Press |isbn=978-0190659073 |edition=3 |page=[https://archive.org/details/chinain21stcentu0000wass_r4o0/page/n105 80]}}</ref> ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 เขาได้ริเริ่ม[[การปฏิรูปทางการเมืองจีน]]โดยการ[[ข้อจำกัดวาระการดำรงตำแหน่ง|กำหนดวาระการดำรงตำแหน่ง]]ของเจ้าหน้าที่ และเสนอการแก้ไข[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ค.ศ. 1978|รัฐธรรมนูญฉบับที่สามของจีน]]ที่ร่างขึ้นในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเป็นระบบ [[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน|รัฐธรรมนูญฉบับใหม่]]นี้ได้นำหลักการของ[[ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม]]ในแบบฉบับของจีนมาใช้ และได้รับการอนุมัติจาก[[สภาประชาชนแห่งชาติ]]ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1982 โดยเนื้อหาส่วนใหญ่ยังคงมีผลบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน<ref>{{Cite journal |last=Jianfu |first=Chen |date=1 May 2004 |title=The Revision of the Constitution in the PRC. A great leap forward or a symbolic gesture? |journal=China Perspectives |language=fr |volume=2004 |issue=53 |doi=10.4000/chinaperspectives.2922 |issn=2070-3449 |doi-access=free}}</ref><ref>{{Cite web |last=Jone |first=William |title=The Constitution of the People's Republic of China |url=https://openscholarship.wustl.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=2203&context=law_lawreview |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190428201429/https://openscholarship.wustl.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=2203&context=law_lawreview |archive-date=28 April 2019 |website=Washington University in St. Louis}}</ref><ref>{{Cite journal |last=Caldwell |first=Ernest |date=December 2012 |title=Horizontal Rights and Chinese Constitutionalism: Judicialization through Labor Disputes |url=https://scholarship.kentlaw.iit.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=3935&context=cklawreview |url-status=live |journal=Chicago-Kent Law Review |volume=88 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211201014421/https://scholarship.kentlaw.iit.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=3935&context=cklawreview |archive-date=1 December 2021 |access-date=28 October 2019}}</ref><ref>{{Cite journal |last=Shigong |first=Jiang |date=2014 |title=Chinese-Style Constitutionalism: On Backer's Chinese Party-State Constitutionalism |url=https://archive.org/details/sim_modern-china_2014-03_40_2/page/n30 |journal=Modern China |volume=40 |issue=2 |pages=133–167 |doi=10.1177/0097700413511313 |issn=0097-7004 |jstor=24575589 |s2cid=144236160}}</ref> เขามีส่วนสำคัญในการจัด[[การศึกษาภาคบังคับ|ระบบการศึกษาภาคบังคับ]] 9 ปีของจีน<ref>{{Cite web |last=PEPPER |first=SUZANNE |title=China's Education Reform in the 1980s: Policies, Issues, and Historical Perspectives |url=https://digitalassets.lib.berkeley.edu/ieas/CRM_36.pdf |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191128055657/https://digitalassets.lib.berkeley.edu/ieas/CRM_36.pdf |archive-date=28 November 2019 |website=UC Berkeley}}</ref><ref>{{Cite web |last=Song |first=Wei |title=China's education reforms and strive for innovation |url=http://www.chinadaily.com.cn/a/201808/24/WS5b7fb080a310add14f387a5b.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191128055658/http://www.chinadaily.com.cn/a/201808/24/WS5b7fb080a310add14f387a5b.html |archive-date=28 November 2019 |access-date=28 November 2019 |website=Chinadaily}}</ref> และฟื้นฟูการปฏิรูปทางการเมืองของจีน<ref>{{Cite journal |last=Ng-Quinn |first=Michael |date=1982 |title=Deng Xiaoping's Political Reform and Political Order |journal=Asian Survey |volume=22 |issue=12 |pages=1187–1205 |doi=10.2307/2644047 |issn=0004-4687 |jstor=2644047}}</ref>
ในฐานะผู้นำสูงสุด เติ้งยังได้เจรจาเพื่อยุติการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษเหนือฮ่องกง และสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตให้เป็นปกติกับสหรัฐและ[[สหภาพโซเวียต]]<ref name="NYT-Wizard" /><ref>{{Cite book |last1=Wasserstrom |first1=Jeffrey N. |title=China in the 21st Century: What Everyone Needs to Know |url=https://archive.org/details/chinain21stcentu0000wass_r4o0 |last2=Cunningham |first2=Maura Elizabeth |date=2018 |publisher=Oxford University Press |isbn=978-0190659073 |edition=3 |page=[https://archive.org/details/chinain21stcentu0000wass_r4o0/page/n105 80]}}</ref> ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 เขาได้ริเริ่ม[[การปฏิรูปทางการเมืองจีน]]โดยการ[[ข้อจำกัดวาระการดำรงตำแหน่ง|กำหนดวาระการดำรงตำแหน่ง]]ของเจ้าหน้าที่ และเสนอการแก้ไข[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ค.ศ. 1978|รัฐธรรมนูญฉบับที่สามของจีน]]ที่ร่างขึ้นในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเป็นระบบ [[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน|รัฐธรรมนูญฉบับใหม่]]นี้ได้นำหลักการของ[[ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม]]ในแบบฉบับของจีนมาใช้ และได้รับการอนุมัติจาก[[สภาประชาชนแห่งชาติ]]ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1982 โดยเนื้อหาส่วนใหญ่ยังคงมีผลบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน<ref>{{Cite journal |last=Jianfu |first=Chen |date=1 May 2004 |title=The Revision of the Constitution in the PRC. A great leap forward or a symbolic gesture? |journal=China Perspectives |language=fr |volume=2004 |issue=53 |doi=10.4000/chinaperspectives.2922 |issn=2070-3449 |doi-access=free}}</ref><ref>{{Cite web |last=Jone |first=William |title=The Constitution of the People's Republic of China |url=https://openscholarship.wustl.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=2203&context=law_lawreview |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20190428201429/https://openscholarship.wustl.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=2203&context=law_lawreview |archive-date=28 April 2019 |website=Washington University in St. Louis}}</ref><ref>{{Cite journal |last=Caldwell |first=Ernest |date=December 2012 |title=Horizontal Rights and Chinese Constitutionalism: Judicialization through Labor Disputes |url=https://scholarship.kentlaw.iit.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=3935&context=cklawreview |url-status=live |journal=Chicago-Kent Law Review |volume=88 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211201014421/https://scholarship.kentlaw.iit.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=3935&context=cklawreview |archive-date=1 December 2021 |access-date=28 October 2019}}</ref><ref>{{Cite journal |last=Shigong |first=Jiang |date=2014 |title=Chinese-Style Constitutionalism: On Backer's Chinese Party-State Constitutionalism |url=https://archive.org/details/sim_modern-china_2014-03_40_2/page/n30 |journal=Modern China |volume=40 |issue=2 |pages=133–167 |doi=10.1177/0097700413511313 |issn=0097-7004 |jstor=24575589 |s2cid=144236160}}</ref> เขามีส่วนสำคัญในการจัด[[การศึกษาภาคบังคับ|ระบบการศึกษาภาคบังคับ]] 9 ปีของจีน<ref>{{Cite web |last=PEPPER |first=SUZANNE |title=China's Education Reform in the 1980s: Policies, Issues, and Historical Perspectives |url=https://digitalassets.lib.berkeley.edu/ieas/CRM_36.pdf |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191128055657/https://digitalassets.lib.berkeley.edu/ieas/CRM_36.pdf |archive-date=28 November 2019 |website=UC Berkeley}}</ref><ref>{{Cite web |last=Song |first=Wei |title=China's education reforms and strive for innovation |url=http://www.chinadaily.com.cn/a/201808/24/WS5b7fb080a310add14f387a5b.html |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20191128055658/http://www.chinadaily.com.cn/a/201808/24/WS5b7fb080a310add14f387a5b.html |archive-date=28 November 2019 |access-date=28 November 2019 |website=Chinadaily}}</ref> และฟื้นฟูการปฏิรูปทางการเมืองของจีน<ref>{{Cite journal |last=Ng-Quinn |first=Michael |date=1982 |title=Deng Xiaoping's Political Reform and Political Order |journal=Asian Survey |volume=22 |issue=12 |pages=1187–1205 |doi=10.2307/2644047 |issn=0004-4687 |jstor=2644047}}</ref>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:15, 30 ธันวาคม 2567

เติ้ง เสี่ยวผิง
邓小平
เติ้งระหว่างการเยือนสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1979
ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง
ดำรงตำแหน่ง
13 กันยายน ค.ศ. 1982 – 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987
(5 ปี 50 วัน)
ประธานาธิบดีหลี่ เซียนเนี่ยน
หัวหน้ารัฐบาลจ้าว จื่อหยาง
รอง
เลขาธิการ
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ถัดไปเฉิน ยฺหวิน
ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง
ดำรงตำแหน่ง
คณะกรรมการพรรค: 28 มิถุนายน ค.ศ. 19819 กันยายน ค.ศ. 1989
(8 ปี 73 วัน)
รอง
เลขาธิการ
  • หู เย่าปัง
  • จ้าว จื่อหยาง
  • เจียง เจ๋อหมิน
ก่อนหน้าฮฺว่า กั๋วเฟิง
ถัดไปเจียง เจ๋อหมิน
ดำรงตำแหน่ง
คณะกรรมการรัฐ:
6 มิถุนายน ค.ศ. 1983 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1990
(6 ปี 286 วัน)
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ถัดไปเจียง เจ๋อหมิน
ประธานสภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน คนที่ 3
ดำรงตำแหน่ง
8 มีนาคม ค.ศ. 1978 – 17 มิถุนายน ค.ศ. 1983
(5 ปี 101 วัน)
ก่อนหน้าโจว เอินไหล (ถึง ค.ศ. 1976)
ถัดไปเติ้ง อิ่งเชา
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
เติ้ง เซียนเชิ่ง

22 สิงหาคม ค.ศ. 1904(1904-08-22)
กว่างอาน, มณฑลเสฉวน, จักรวรรดิชิง
เสียชีวิต19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997(1997-02-19) (92 ปี)
ปักกิ่ง, ประเทศจีน
พรรคการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน (ตั้งแต่ ค.ศ. 1924)
คู่สมรส
บุตร6, รวมถึง:
ความสัมพันธ์เติ้ง จั๋วตี้ (หลานชาย)
ลายมือชื่อ
เว็บไซต์cpc.people.com.cn
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
สังกัด
ประจำการ1929–1952, 1975–1980
ยศ
หน่วย
ผ่านศึก
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวย่อ
อักษรจีนตัวเต็ม

เติ้ง เสี่ยวผิง (จีน: 邓小平; พินอิน: Dèng Xiǎopíng; 22 สิงหาคม ค.ศ. 1904 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997) เป็นนักปฏิวัติและรัฐบุรุษชาวจีน เขาดำรงตำแหน่งผู้นำสูงสุดของสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ ค.ศ. 1978 ถึง 1989 ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมของเหมา เจ๋อตงใน ค.ศ. 1976 เติ้งได้ก้าวขึ้นสู่อำนาจและนำพาประเทศจีนผ่านยุคสมัยของการปฏิรูปและเปิดประเทศ ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจของจีนให้เป็นเศรษฐกิจตลาดสังคมนิยม เขาได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็น “สถาปนิกแห่งจีนสมัยใหม่” จากการพัฒนาสังคมนิยมอัตลักษณ์จีน และริเริ่มทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง[1][2][3]

เติ้งเกิดในมณฑลเสฉวนในช่วงปลายราชวงศ์ชิง และเริ่มสนใจลัทธิมากซ์–เลนินในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 ขณะศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1924 เขาเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีนและเดินทางไปยังกรุงมอสโกเพื่อศึกษาต่อ ก่อนจะเดินทางกลับมายังประเทศจีน และดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการการเมืองในกองทัพแดง เติ้งมีบทบาทสำคัญในฐานะผู้นำคนสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีนระหว่างสงครามกลางเมืองจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการรักษาความอยู่รอดของพรรคระหว่างการเดินทัพทางไกล ต่อมาเขาช่วยนำกองทัพปลดปล่อยประชาชนสู่ชัยชนะในสงครามกลางเมือง รวมถึงการมีส่วนร่วมร่วมในการยึดเมืองหนานจิงของกองทัพปลดปล่อยประชาชน

ภายหลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1949 เติ้งได้ดำรงตำแหน่งสำคัญระดับภูมิภาคหลายตำแหน่ง และในที่สุดก็ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งสำคัญในคณะมนตรีรัฐกิจในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 ในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ภายใต้การนำของเา เติ้งได้เป็นประธานการดำเนินงานฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ มีบทบาทสำคัญในการรณรงค์ต่อต้านฝ่ายขวา ซึ่งเป็นการกวาดล้างกลุ่มปัญญาชนและผู้วิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์จีน การรณรงค์ดังกล่าวส่งผลให้มีการกดขี่ข่มเหงประชาชนประมาณ 550,000 คน ซึ่งรวมถึงนักเขียนและนักกิจกรรมทางการเมือง และถือเป็นเหตุการณ์สำคัญในการเสริมสร้างการสนับสนุนนโยบายหัวรุนแรงของเหมาในขณะนั้น[4] เขาหลุดจากอำนาจในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เนื่องจากมีความเห็นชอบต่อนโยบายที่เน้นปฏิบัติและการตลาด เขาถูกเหมากำจัดสองครั้ง แต่หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของเหมา เติ้งก็ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำสูงสุดด้วยความสามารถในการเอาชนะคู่แข่งทางการเมือง

เมื่อขึ้นสู่อำนาจ เติ้งได้ดำเนินการปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐานและระบบการเมืองของประเทศจีนอย่างครอบคลุม ด้วยความระส่ำระสายของสถาบันและความปั่นป่วนทางการเมืองจากยุคเหมา เขาและพันธมิตรจึงริเริ่มโครงการ "ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง" เพื่อฟื้นความสงบเรียบร้อยโดยการคืนความยุติธรรมให้แก่ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนรุ่นเก่า ตลอดจนประชาชนหลายล้านคนที่ถูกกดขี่ข่มเหงในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขายังริเริ่มโครงการปฏิรูปและเปิดประเทศ ซึ่งนำเอาองค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเข้ามาสู่ระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนโดยการกำหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษทั่วประเทศ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 เติ้งริเริ่มการปฏิรูปการเมืองครั้งใหญ่โดยกำหนดระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของเจ้าหน้าที่รัฐไว้ในรัฐธรรมนูญ และมีการปรับปรุงแก้ไขระบบต่าง ๆ ซึ่งรวมอยู่ในรัฐธรรมนูญฉบับที่สี่ของประเทศ ต่อมาเติ้งให้การสนับสนุนนโยบายลูกคนเดียวเพื่อแก้ไขปัญหาประชากรล้นเมืองที่ประเทศจีนเผชิญอยู่ ทั้งยังมีส่วนสำคัญในการจัดตั้งระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปีและเป็นผู้กำกับดูแลการเริ่มโครงการ 863 เพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การปฏิรูปที่ดำเนินโดยเติ้งและพันธมิตรของเขานำพาประเทศจีนให้ค่อย ๆ เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจแบบบังคับและลัทธิเหมา เป็นการเปิดรับการลงทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และนำแรงงานจำนวนมหาศาลของประเทศเข้าสู่ตลาดโลก ส่งผลให้จีนกลายเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก[5]

ในระหว่างการดำรงตำแหน่งผู้นำของตน เติ้งได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ถึงสองครั้ง ใน ค.ศ. 1978 และ 1985[6][7] แม้เติ้งจะมีส่วนสำคัญในการนำพาประเทศจีนให้ทันสมัย แต่ผลงานของเขาก็ยังคงเป็นที่ถกเถียง เขาสั่งให้กองทัพเข้าปราบปรามการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ค.ศ. 1989 ซึ่งเป็นเหตุให้การปฏิรูปทางการเมืองสิ้นสุดลง และยังคงเป็นประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ไปทั่วโลก[8] นโยบายลูกคนเดียวซึ่งริเริ่มขึ้นในยุคของเติ้งนั้นก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์เช่นกัน อย่างไรก็ตาม นโยบายของเขาก่อให้เกิดรากฐานที่มั่นคงสำหรับการก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจระดับโลกของจีน[9]

ชีวิตช่วงต้น

[แก้]
เติ้งในวัย 16 ปี ขณะศึกษาอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส (ค.ศ 1921)

บรรพบุรุษของเติ้งสามารถสืบย้อนไปถึงอำเภอเจียอิง (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นเหมย์เซี่ยน) มณฑลกวางตุ้ง[10] ซึ่งเป็นถิ่นฐานดั้งเดิมที่สำคัญของชาวฮากกา และได้อพยพมาตั้งรกรากอยู่ในมณฑลเสฉวนต่อเนื่องกันมาหลายชั่วอายุคน[11] เติ้ง หรง บุตรสาวของเติ้งได้กล่าวไว้ในหนังสือ บิดาของข้าพเจ้า เติ้ง เสี่ยวผิง (我的父亲邓小平) ว่าบรรพบุรุษของเขาอาจมีเชื้อสายฮากกา แต่ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัด สกุลเติ้งมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในมณฑลเสฉวน แต่ในช่วงราชวงศ์หมิง มีบุคคลสกุลเติ้งคนหนึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งราชการในมณฑลกวางตุ้ง อย่างไรก็ตาม เมื่อราชวงศ์ชิงมีนโยบายส่งเสริมการเพิ่มจำนวนประชากรใน ค.ศ. 1671 ตระกูลเติ้งจึงอพยพกลับมายังมณฑลเสฉวน เติ้ง เสี่ยวผิง เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1904 ในเขตกว่างอัน เมืองกว่างอัน มณฑลเสฉวน[12]

บิดาของเติ้งคือเติ้ง เหวินหมิง เจ้าของที่ดินขนาดกลางที่เคยศึกษา ณ มหาวิทยาลัยกฎหมายและรัฐศาสตร์ เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน เขามีชื่อเสียงในระดับท้องถิ่น[13] มารดาของเติ้งมีสกุลต้าน ได้ถึงแก่กรรมตั้งแต่เติ้งยังเยาว์วัย ทำให้เติ้งและพี่น้องร่วมสายโลหิตอีกสามคนและน้องสาวอีกสามคนต้องเผชิญการสูญเสียครั้งใหญ่[14] เมื่ออายุได้ 5 ปี เติ้งได้ถูกส่งไปศึกษา ณ โรงเรียนประถมศึกษาเอกชนแบบจีนดั้งเดิม จากนั้นเมื่ออายุได้ 7 ปีได้ย้ายไปศึกษาต่อ ณ โรงเรียนประถมศึกษาที่ทันสมัยขึ้น

ภรรยาคนแรกของเติ้งเป็นเพื่อนร่วมชั้นจากมอสโก เสียชีวิตด้วยวัย 24 ปี เพียงไม่กี่วันหลังคลอดบุตรสาวคนแรกซึ่งก็เสียชีวิตลงด้วยเช่นกัน ภรรยาคนที่สองคือจิน เหวย์อิ้ง ได้แยกทางกับเติ้งหลังจากที่เขาถูกโจมตีทางการเมืองใน ค.ศ. 1933 ภรรยาคนที่สามของเขาคือจัว หลิน บุตรสาวของนักอุตสาหกรรมในมณฑลยูนนาน เธอเข้าเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ใน ค.ศ. 1938 และได้แต่งงานกับเติ้งในปีต่อมา ณ บริเวณหน้าถ้ำที่พักอาศัยของเหมาในเหยียนอาน ทั้งสองมีบุตรด้วยกัน 5 คน ได้แก่ บุตรสาว 3 คนคือ เติ้ง หลิน เติ้ง หนาน และเติ้ง หรง และบุตรชาย 2 คนคือ เติ้ง ผู่ฟาง และเติ้ง จื่อฟาง เติ้งเลิกสูบบุหรี่เมื่ออายุ 86 ปี[15]

การศึกษาและอาชีพช่วงต้น

[แก้]
บัตรประจำตัวพนักงานของโรงงานผลิตรองเท้าฮัตชินสัน ในชาเล็ต-ซูร์-ล็วง ประเทศฝรั่งเศสระบุชื่อของเติ้งว่า "เติ้ง ซีเซี่ยน" ซึ่งเป็นชื่อที่เขาทำงานด้วยในระหว่างที่ทำงาน ณ โรงงานแห่งนี้เป็นเวลา 8 เดือนใน ค.ศ. 1922 และอีกครั้งหนึ่งใน ค.ศ. 1923 แต่ถูกเลิกจ้างหลังทำงานได้เพียงหนึ่งเดือน โดยมีข้อความระบุเหตุผลการเลิกจ้างไว้ว่า "ปฏิเสธที่จะทำงาน ห้ามรับกลับเข้าทำงาน"

เมื่อเติ้งเข้าศึกษาเป็นครั้งแรก ครูผู้สอนได้คัดค้านชื่อที่ได้รับมาแต่เดิมคือ "เซียนเชิ่ง" (先圣) และเรียกเขาว่า "ซีเซี่ยน" (希贤) ที่ประกอบด้วยอักษรจีนที่มีความหมายถึง "การปรารถนา" และ "ความดี" แฝงไว้ด้วยความหมายที่สื่อถึงความฉลาด[16][17]

ในฤดูร้อน ค.ศ 1919 เติ้งสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนฉงชิ่ง เขาและเพื่อนร่วมชั้นอีก 80 คนได้เดินทางโดยเรือชั้นสามไปยังประเทศฝรั่งเศส เพื่อเข้าร่วมโครงการ "ขยันทำงาน อดออมศึกษา" (Diligent Work-Frugal Study Movement), ซึ่งเป็นโครงการการศึกษาควบคู่กับการทำงาน[18]: 37  โดยมีชาวจีนจำนวน 4,001 คนเข้าร่วมโครงการนี้ภายใน ค.ศ. 1927 เติ้งเป็นสมาชิกที่อายุน้อยที่สุดในกลุ่มนักเรียนชาวจีน เพิ่งมีอายุครบ 15 ปี[19] อู๋ ยฺวี่จาง ผู้นำท้องถิ่นของโครงการในฉงชิ่ง ได้รับสมัครเติ้งและเติ้ง เช่าเชิ่ง ลุงฝ่ายบิดาของเติ้งเข้าร่วมโครงการ บิดาของเติ้งให้การสนับสนุนการเข้าร่วมโครงการศึกษาและทำงานในต่างประเทศของบุตรชายอย่างเต็มที่[20] ในคืนก่อนวันเดินทางไปฝรั่งเศส บิดาของเติ้งได้เรียกบุตรชายมาพูดคุยเป็นการส่วนตัว และได้สอบถามถึงความคาดหวังที่บุตรชายมีต่อการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส เขาได้กล่าวคำที่ได้เรียนรู้มาจากครูของเขาว่า "การศึกษาหาความรู้และสัจธรรมจากตะวันตกเพื่อนำมาใช้ในการกอบกู้ประเทศจีน" เติ้งตระหนักดีว่าประเทศจีนกำลังประสบความทุกข์ยากอย่างมาก และประชาชนชาวจีนจำเป็นต้องได้รับการศึกษาสมัยใหม่จึงจะสามารถช่วยเหลือประเทศของตนได้[21]

วันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1920 เรือโดยสารฝรั่งเศสชื่ออังเดร เลอบง (André Lebon) ได้แล่นเข้าสู่ท่าเรือมาร์เซย์พร้อมกับนักศึกษาชาวจีน 210 คนบนเรือรวมทั้งเติ้งด้วย เติ้งในวัย 16 ปีได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมศึกษาในบาเยอและชาตีญงเป็นเวลาสั้น ๆ แต่เขาใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในฝรั่งเศสเพื่อทำงาน รวมถึงที่โรงงานรถยนต์เรอโน และเป็นช่างประกอบที่โรงงานเหล็กและเหล็กกล้าเลอครูโซต์ ในลาแกเรน-โคลอมบ์ ย่านชานเมืองทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงปารีส ที่ซึ่งเขาย้ายไปอาศัยอยู่ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1921[22] บังเอิญว่าเมื่อสถานการณ์ทางการเมืองของเติ้งย่ำแย่ลงในช่วงหลัง และถูกส่งไปทำงานในโรงงานผลิตรถแทรกเตอร์ใน ค.ศ. 1969 ระหว่างการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาก็ได้กลับมาปฏิบัติงานในฐานะช่างประกอบอีกครั้งและแสดงให้เห็นว่าเขายังคงเชี่ยวชาญในทักษะดังกล่าว[23]

ที่ลาแกเรน-โกลอมบ์ เติ้งพบกับผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนในอนาคต ได้แก่ โจว เอินไหล เฉิน อี้ เนี่ย หรงเจิน หลี่ ฟู่ชุน หลี่ ลี่ซาน และหลี่ เหวย์ฮั่น[24] ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1923 เขาเข้าร่วมสันนิบาตเยาวชนคอมมิวนิสต์จีนในยุโรป[25] ในช่วงครึ่งหลังของ ค.ศ. 1924 เขาเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีน และดำรงตำแหน่งหนึ่งในสมาชิกชั้นนำของสาขาใหญ่ของสันนิบาตเยาวชนในยุโรป ใน ค.ศ. 1924 เติ้งเดินทางไปยังสหภาพโซเวียตและศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยซุนยัตเซ็น มอสโก ซึ่งมีเพื่อนร่วมชั้นคนหนึ่งคือเจี่ยง จิงกั๋ว บุตรชายของเจียง ไคเชก[26]

กลับประเทศจีน

[แก้]

ปลาย ค.ศ. 1927 เติ้งเดินทางกลับจากกรุงมอสโกมายังประเทศจีนและเข้าร่วมกองทัพของเฝิง ยฺวี่เสียง ผู้นำทหารในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ผู้ซึ่งขอความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตในการต่อสู้กับผู้นำท้องถิ่นคนอื่น ๆ ในภูมิภาค ในช่วงเวลานั้น สหภาพโซเวียตได้สนับสนุนการเป็นพันธมิตรระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กับก๊กมินตั๋ง พรรคชาตินิยมที่ก่อตั้งโดยซุน ยัตเซนผ่านองค์การคอมมิวนิสต์สากล องค์การระหว่างประเทศที่ให้การสนับสนุนขบวนการคอมมิวนิสต์ทั่วโลก

เขาเดินทางมาถึงซีอาน ฐานที่มั่นของเฝิงในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1927 เขาเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเฟิ่งเทียนที่พยายามยับยั้งการแตกแยกพันธมิตรระหว่างก๊กมินตั๋งและคอมมิวนิสต์ การแตกแยกครั้งนี้เกิดขึ้นส่วนหนึ่งจากการที่เจียง ไคเชกบังคับให้พวกเขาอพยพออกจากพื้นที่ที่ก๊กมินตั๋งควบคุม ภายหลังการแตกแยกของพันธมิตรระหว่างคอมมิวนิสต์และชาตินิยม เฝิงก็ได้เข้าร่วมกับเจียง ไคเชก ทำให้คอมมิวนิสต์ที่เข้าร่วมกองทัพขอเฝิงรวมถึงเติ้งถูกบังคับให้หลบหนี[ต้องการอ้างอิง]

การเติบโตทางการเมือง

[แก้]

แม้เติ้งจะเข้าร่วมขบวนการปฏิวัติมาร์กซิสต์ในจีน แต่เกา มั่วปัว นักประวัติศาสตร์ได้โต้แย้งว่า "เติ้ง เสี่ยวผิง และบุคคลอื่น ๆ ที่มีความเห็นคล้ายกันในพรรคคอมมิวนิสต์จีนนั้นไม่ได้เป็นมาร์กซิสต์อย่างแท้จริง แต่เป็นนักชาตินิยมปฏิวัติที่ต้องการเห็นจีนยืนหยัดอย่างทัดเทียมกับมหาอำนาจโลก พวกเขาเป็นนักชาตินิยมเป็นหลัก และเข้าร่วมการปฏิวัติคอมมิวนิสต์เพราะเห็นว่าเป็นเส้นทางเดียวที่เป็นไปได้ในการบรรลุอุดมการณ์ชาตินิยมจีน"[27]

การเคลื่อนไหวในเซี่ยงไฮ้และอู่ฮั่น

[แก้]

ภายหลังการออกจากกองทัพของเฝิง ยฺวี่เสียงในภาคตะวันตกเฉียงเหนือแล้ว เติ้งเดินทางมายังอู่ฮั่น ซึ่งในขณะนั้นเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของพรรคคอมมิวนิสต์ ในช่วงเวลานั้นเขาได้เริ่มใช้ชื่อเล่นว่า "เสี่ยวผิง" และดำรงตำแหน่งสำคัญในพรรค เขาเข้าร่วมการประชุมฉุกเฉินครั้งประวัติศาสตร์ในวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ซึ่งตามคำสั่งของโซเวียต พรรคได้ปลดเฉิน ตู๋ซิ่ว ผู้ก่อตั้งพรรคออก และฉิว ชฺวีไป๋ ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ ที่อู่ฮั่น เติ้งได้พบปะและสร้างความสัมพันธ์กับเหมา เจ๋อตงเป็นครั้งแรก ผู้ซึ่งในตอนนั้นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์สายแข็งที่สนับสนุนโซเวียตยังไม่เห็นค่าของเขามากนัก

ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง 1929 เติ้งอาศัยอยู่ในเซี่ยงไฮ้ และมีส่วนร่วมในการจัดการประท้วง ซึ่งต่อมาได้เผชิญกับการปราบปรามอย่างรุนแรงจากรัฐบาลก๊กมินตั๋ง การเสียชีวิตของนักปฏิวัติคอมมิวนิสต์จำนวนมากในช่วงปีเหล่านั้นส่งผลให้จำนวนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ลดลง เปิดโอกาสให้เติ้งสามารถเลื่อนตำแหน่งขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ในช่วงนี้ที่เซี่ยงไฮ้ เติ้งได้แต่งงานกับนางจาง ซี-ยฺเวี่ยน หญิงสาวที่ได้พบกันในกรุงมอสโก

การทัพในกว่างซี

[แก้]

ตั้งแต่ ค.ศ. 1929 ถึง 1931 เติ้งดำรงตำแหน่งผู้แทนสูงสุดของคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนประจำมณฑลกว่างซี โดยมีบทบาทสำคัญในการช่วยนำการก่อการกำเริบไป่เซ่อและหลงโจว ทั้งในช่วงเหตุการณ์และภายหลัง การนำของเติ้งในช่วงการก่อกำเริบได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก เขาเดินตาม "แนวทางหลี่ ลี่ซาน" ที่เรียกร้องให้มีการโจมตีเมืองอย่างรุนแรง ในทางปฏิบัติ นั่นหมายความว่าโซเวียตชนบทในกว่างซีถูกทอดทิ้ง และกองทัพแดงที่เจ็ดภายใต้การนำทางการเมืองของเติ้งได้ต่อสู้และพ่ายแพ้ในสงครามนองเลือดหลายครั้ง[28] ในที่สุด เติ้งและผู้นำคอมมิวนิสต์คนอื่น ๆ ในมณฑลกว่างซีก็ตัดสินใจถอยทัพไปยังมณฑลเจียงซีเพื่อรวมกำลังกับเหมา อย่างไรก็ดี หลังการเดินทัพอันแสนยาวนานผ่านภูมิประเทศที่ขรุขระ เติ้งได้ปล่อยให้กองทัพให้อยู่ในภาวะไร้ผู้นำโดยพลการ[29] ในการประชุมวิเคราะห์หลังเหตุการณ์ของคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนใน ค.ศ. 1934 ได้มีการระบุพฤติกรรมของเติ้งว่าเป็นตัวอย่างของ "ลัทธิโอกาสนิยมขวา และแนวทางของชาวนาผู้มั่งคั่ง"[28] ใน ค.ศ. 1945 อดีตผู้บัญชาการหลายนายของกองทัพแดงที่เจ็ดได้ออกมาพูดต่อต้านการกระทำของเติ้งในช่วงการก่อกำเริบ แม้ว่าเหมาจะให้การปกป้องเติ้งจากผลกระทบร้ายแรงใด ๆ ก็ตาม[30] ในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม กลุ่มยุวชนแดงได้รับทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์การก่อกำเริบไป่เซ่อ และกล่าวหาเติ้งว่าหนีทัพ[31] เติ้งยอมรับว่าการหนีทัพเป็นหนึ่งใน "ความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดในชีวิตของตน" และ "แม้ว่าพรรคจะอนุญาตให้กระทำเช่นนี้ แต่ก็ถือเป็นสิ่งที่ผิดทางการเมืองอย่างร้ายแรง[32] นักประวัติศาสตร์และนักเขียนชีวประวัติสมัยใหม่ต่างเห็นพ้องกัน อูลี ฟรานซ์ ได้เรียกการหนีจากกองทัพว่าเป็น "ความผิดพลาดร้ายแรง"[31] เบนจามิน หยาง กล่าวว่าช่วงเวลานั้นเป็น "ความล้มเหลวอันน่าเศร้าและช่วงเวลาอันมืดมนในชีวิตทางการเมืองของเติ้ง"[33] อีกด้านหนึ่ง ไดอานา แลรี มองว่าความล้มเหลวในการรับมือภัยพิบัติครั้งนี้เกิดจาก "ความไร้ประสิทธิภาพ" ของทั้งผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน

โซเวียตเจียงซี

[แก้]

การปราบปรามคอมมิวนิสต์ในเมืองต่าง ๆ นับเป็นอุปสรรคสำคัญของพรรค และเป็นการสกัดกั้นความหวังของที่ปรึกษาของโซเวียตแห่งองค์การคอมมิวนิสต์สากล ที่เห็นว่าการระดมกำลังชนชั้นกรรมมาชีพในเมืองคือพลังขับเคลื่อนสำคัญในการเผยแผ่ลัทธิคอมมิวนิสต์ ตรงข้ามกับวิสัยทัศน์การปฏิวัติที่มุ่งเน้นในเมืองซึ่งได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ของสหภาพโซเวียต เหมา เจ๋อตง ผู้นำคอมมิวนิสต์จีน เห็นว่าชาวนาในชนบทเป็นกำลังสำคัญในการปฏิวัติของจีน ในพื้นที่ภูเขาของมณฑลเจียงซี ที่ซึ่งเหมาได้เดินทางไปเพื่อสถาปนาระบอบคอมมิวนิสต์นั้น ได้มีการพัฒนารากฐานของรัฐคอมมิวนิสต์ในอนาคตของจีนขึ้นมา ซึ่งได้ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่าสาธารณรัฐโซเวียตจีน แต่เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ "โซเวียตเจียงซี"

ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1931 เติ้งได้เข้ารับตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ประจำเมืองรุ่ยจิน เมืองที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเขตโซเวียต ในช่วงฤดูหนาวปี ค.ศ. 1932 เติ้งได้ดำรงตำแหน่งเดิมต่อไปในอำเภอฮุ่ยชางซึ่งอยู่ใกล้เคียง ใน ค.ศ. 1933 เขาได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อของคณะกรรมาธิการพรรคประจำมณฑลเจียงซี ตอนนั้นเองเขาได้แต่งงานกับนางจิน เหวย์อิ้ง หญิงสาวที่เขาพบในเซี่ยงไฮ้

ความสำเร็จของโซเวียตในมณฑลเจียงซีทำให้ผู้นำพรรคตัดสินใจย้ายฐานที่มั่นจากเซี่ยงไฮ้ไปยังมณฑลเจียงซี ความขัดแย้งระหว่างเหมา ผู้นำพรรค กับที่ปรึกษาของโซเวียตทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการชิงอำนาจระหว่างทั้งสองกลุ่มส่งผลให้เติ้ง ผู้สนับสนุนความคิดของเหมาถูกปลดจากตำแหน่งในฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อ แม้จะเผชิญกับความขัดแย้งภายในพรรค แต่โซเวียตเจียงซีก็ประสบความสำเร็จในการเป็นรัฐบาลคอมมิวนิสต์แห่งแรกในชนบทของจีน รัฐบาลได้ดำเนินการออกแสตมป์และธนบัตรโดยใช้หัวกระดาษของ "สาธารณรัฐโซเวียตจีน" ซึ่งเป็นการประกาศอำนาจอธิปไตยอย่างเป็นทางการ และในที่สุด กองทัพของเจียง ไคเชกก็ตัดสินใจเข้าโจมตีพื้นที่ที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ครอบครอง

เดินทัพทางไกล

[แก้]
เติ้ง เสี่ยวผิงในเครื่องแบบกองทัพปฏิวัติแห่งชาติ ปี ค.ศ. 1937

เมื่อถูกกองทัพชาตินิยมที่มีกำลังเหนือกว่าปิดล้อม พรรคคอมมิวนิสต์จึงได้หลบหนีออกจากมณฑลเจียงซีในเดือนตุลาคม ค.ศ 1934 นับแต่นั้นเป็นต้นมาจึงได้เริ่มต้นขบวนการอันยิ่งใหญ่ที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในการพัฒนาของลัทธิคอมมิวนิสต์จีน การอพยพเป็นไปอย่างยากลำบากเนื่องจากกองทัพชาตินิยมได้เข้ายึดครองพื้นที่ที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์เคยครอบครองอยู่ทั้งหมด ด้วยการเคลื่อนทัพผ่านภูมิประเทศที่ห่างไกลและภูเขาสูงชัน กองทัพจำนวนประมาณ 100,000 นายสามารถหลบหนีออกจากมณฑลเจียงซีได้สำเร็จ ก่อให้เกิดการล่าถอยทางยุทธศาสตร์ที่ยาวนานผ่านภายในประเทศจีน ซึ่งสิ้นสุดลงในหนึ่งปีต่อมาเมื่อทหารที่รอดชีวิตราว 8,000 ถึง 9,000 นายเดินทางมาถึงมณฑลฉ่านซีทางตอนเหนือ

ในระหว่างการประชุมจุนอี้ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นของการเดินทัพทางไกล กลุ่มบุคคลที่เรียกว่า "28 บอลเชวิค" นำโดยปั๋ว กู่ และหวัง หมิง ถูกปลดจากอำนาจ และเหมาได้ขึ้นเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนคนใหม่ สร้างความไม่พอใจให้แก่สหภาพโซเวียต พรรคคอมมิวนิสต์จีนที่สนับสนุนโซเวียตได้สิ้นสุดลง และมีการก่อตั้งพรรคใหม่ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากชนบทขึ้นมาภายใต้การนำของเหมา เติ้งได้กลับมาเป็นแกนนำสำคัญของพรรคอีกครั้งหนึ่ง

อย่างไรก็ตาม การเผชิญหน้าระหว่างทั้งสองพรรคถูกยุติลงชั่วคราวจากการรุกรานของญี่ปุ่น ซึ่งบีบบังคับให้พรรคก๊กมินตั๋งต้องร่วมมือเป็นพันธมิตรกับพรรคคอมมิวนิสต์เป็นครั้งที่สอง เพื่อปกป้องประเทศจากการรุกรานจากภายนอก

การรุกรานของญี่ปุ่น

[แก้]

การรุกรานของกองทัพญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1937 นับเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ในระหว่างการรุกราน เติ้งยังคงอยู่ในพื้นที่ที่คอมมิวนิสต์ควบคุมอยู่ในภาคเหนือ และดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการฝ่ายการเมืองของกองทัพคอมมิวนิสต์ที่ปรับโครงสร้างใหม่ทั้งสามกองพล ตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 1937 จนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 1938 เขาได้พำนักอยู่ในวัดและอารามพุทธศาสนาบนเขาอู่ไถ ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1938 เขาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการทางการเมืองประจำกองพลที่ 129 กองทัพลู่ที่แปด ซึ่งมีนายพลหลิว ปั๋วเฉิงเป็นผู้บัญชาการ ทำให้เกิดความร่วมมืออันยาวนานระหว่างเขากับนายพลหลิว

เติ้งประจำการอยู่ในแนวรบที่ติดต่อกับมณฑลฉ่านซี เหอหนาน และเหอเป่ย์ ตลอดระยะเวลาที่เกิดความขัดแย้งกับญี่ปุ่น จากนั้นได้เดินทางไปยังเมืองเหยียนอานหลายครั้ง ซึ่งเป็นที่ที่เหมาได้วางรากฐานสำหรับการนำพรรคคอมมิวนิสต์ไว้ ระหว่างอยู่ในเหอหนาน เขาได้กล่าวสุนทรพจน์อันโด่งดังเรื่อง "สถานการณ์ชัยชนะในการก้าวเข้าสู่ภาคกลาง และนโยบายกลยุทธ์ในอนาคต" ณ โบสถ์แห่งหนึ่งที่เขาเคยพำนักอยู่เป็นระยะเวลาหนึ่ง[34][35] ในการเดินทางไปยังเหยียนอานครั้งหนึ่งใน ค.ศ. 1939 เขาได้แต่งงานครั้งที่สามและครั้งสุดท้ายในชีวิตกับนางจัว หลิน ชาวเมืองคุนหมิง ผู้ซึ่งได้เดินทางไปยังเหยียนอานเพื่อเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์เช่นเดียวกับเยาวชนผู้มีอุดมการณ์คนอื่น ๆ ในยุคนั้น

เติ้งได้รับการยกย่องว่าเป็น "ทหารผ่านศึกปฏิวัติ" จากการมีเข้าร่วมการเดินทัพทางไกล[36] เขาเป็นผู้นำในปฏิบัติการร้อยกองพัน ซึ่งช่วยยกสถานะของเขาในหมู่สหายร่วมอุดมการณ์[37]

กลับมาทำสงครามกับชาตินิยม

[แก้]
เติ้งและนายพลหลิว ปั๋วเฉิง (ขวา)

หลังจากที่ญี่ปุ่นพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่สอง เติ้งได้เดินทางไปยังเมืองฉงชิ่ง ซึ่งเป็นสถานที่ที่เจียง ไคเชกได้ตั้งรัฐบาลของตนในช่วงที่ญี่ปุ่นรุกราน เพื่อเข้าร่วมการเจรจาเพื่อสันติภาพระหว่างพรรคก๊กมินตั๋งและพรรคคอมมิวนิสต์ ผลการเจรจาในครั้งนั้นเป็นไปในทางลบ และความขัดแย้งทางทหารระหว่างทั้งสองฝ่ายที่เป็นปฏิปักษ์กันก็ได้ปะทุขึ้นอีกครั้งในเวลาอันสั้นหลังจากการประชุมที่เมืองฉงชิ่ง

ขณะที่เจียง ไคเชกสถาปนารัฐบาลขึ้นใหม่ในเมืองหนานจิง เมืองหลวงของสาธารณรัฐจีน ฝ่ายคอมมิวนิสต์ก็ได้ทำการต่อสู้เพื่อแย่งชิงอำนาจในพื้นที่ ด้วยการดำเนินยุทธวิธีแบบกองโจรจากฐานที่มั่นในชนบทโจมตีเมืองต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลเจียง ไคเชกและเส้นทางส่งเสบียง ฝ่ายคอมมิวนิสต์สามารถขยายพื้นที่ครอบครองได้มากขึ้นเรื่อย ๆ และดึงดูดทหารจำนวนมากที่หนีออกจากกองทัพชาตินิยมเข้ามาร่วมฝ่ายตน

เติ้งมีส่วนร่วมอย่างมากในการทัพหวยไห่เพื่อโค่นล้มรัฐบาลชาตินิยม[37]

ในช่วงสุดท้ายของสงคราม เติ้งได้กลับมามีบทบาทสำคัญในฐานะผู้นำทางการเมืองและผู้อำนวยการฝ่ายโฆษณาชวนเชื่อ ในฐานะผู้ตรวจการทางการเมืองประจำกองทัพภาคสนามที่ 2 ซึ่งมีนายพลหลิว ปั๋วเฉิงเป็นผู้บัญชาการ โดยเติ้งมีส่วนสำคัญในการนำกองทัพปลดปล่อยประชาชนเข้าสู่ทิเบต นอกจากนี้เขายังมีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความคิดของเหมา เจ๋อตง ซึ่งได้กลายมาเป็นรากฐานทางอุดมการณ์ของพรรคคอมมิวนิสต์ ผลงานทางการเมืองและอุดมการณ์อันโดดเด่น รวมถึงสถานะของเขาในฐานะทหารผ่านศึกการเดินทัพทางไกล ทำให้เขาได้รับตำแหน่งที่มีอำนาจภายในพรรคหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์สามารถเอาชนะเจียง ไคเชก และก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนขึ้นมาได้

เติ้ง เสี่ยวผิง กับเฮ่อ หลง (กลาง) และจู เต๋อ (ขวา) (ค.ศ. 1949)

ยุคเหมา

[แก้]

ผู้นำท้องถิ่น

[แก้]

วันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 เติ้งได้เข้าร่วมพิธีประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนในกรุงปักกิ่ง ในช่วงเวลาดังกล่าว พรรคคอมมิวนิสต์ได้ควบคุมพื้นที่ภาคเหนือทั้งหมด แต่ยังคงมีบางส่วนของภาคใต้ที่ยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของก๊กมินตั๋ง เขาได้รับมอบหมายให้เป็นผู้นำในการปราบปรามและสร้างความสงบเรียบร้อยในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ในฐานะเลขาธิการคนแรกของกรมตะวันตกเฉียงใต้ หน่วยงานนี้มีภารกิจในการควบคุมการยึดครองพื้นที่ส่วนสุดท้ายของประเทศที่ยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของก๊กมินตั๋ง ทิเบตยังคงเป็นอิสระต่อไปอีกหนึ่งปี

รัฐบาลก๊กมินตั๋งถูกบีบให้ย้ายออกจากเมืองกว่างโจว และได้สถาปนาเมืองฉงชิ่งขึ้นเป็นเมืองหลวงชั่วคราวแห่งใหม่ ณ ที่นั้น เจียง ไคเชก และเจี่ยง จิงกั๋ว บุตรชายผู้เคยเป็นเพื่อนร่วมชั้นกับเติ้งในกรุงมอสโก ต่างปรารถนาที่จะหยุดยั้งการก้าวหน้าของกองกำลังพรรคคอมมิวนิสต์

ภายใต้การควบคุมทางการเมืองของเติ้ง กองทัพคอมมิวนิสต์ได้เข้ายึดครองเมืองฉงชิ่งในปลายเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1949 และได้เคลื่อนทัพเข้าสู่เมืองเฉิงตู ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสุดท้ายของเจียง ไคเชกในอีกไม่กี่วันต่อมา ในช่วงเวลานั้น เติ้งได้ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองฉงชิ่ง พร้อมกันนั้นยังเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพคอมมิวนิสต์ที่ขณะนี้ได้ประกาศตนเป็นกองทัพปลดปล่อยประชาชน ได้ปราบปรามการต่อต้านจากกลุ่มผู้ภักดีต่อระบอบก๊กมินตั๋งเก่า ใน ค.ศ. 1950 รัฐที่ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ได้เข้ายึดครองทิเบต

ในคำปราศรัยต่อคณะทำงานเตรียมการกำกับดูแลการรณรงค์ในขบวนการปฏิรูปที่ดินใน ค.ศ. 1951 เติ้งได้กำชับว่าขณะที่คณะทำงานควรช่วยเหลือชาวนาในการดำเนินการ "การต่อสู้ด้วยเหตุผล" ที่ปราศจากความรุนแรง พวกเขายังต้องตระหนักอยู่เสมอว่า ในฐานะขบวนการประชาชน การปฏิรูปที่ดินมิใช่ช่วงเวลาที่ต้อง "นุ่มนวลละมุนละม่อม"

ในคำกล่าวสุนทรพจน์ปี ค.ศ. 1951 แก่คณะทำงานที่เตรียมการกำกับดูแลการรณรงค์ในขบวนการปฏิรูปที่ดิน เติ้งได้กำชับว่าขณะที่คณะทำงานควรช่วยเหลือชาวนาในการดำเนินการ "การต่อสู้ด้วยเหตุผล" ที่ปราศจากความรุนแรง พวกเขายังต้องตระหนักอยู่เสมอว่าในฐานะขบวนการประชาชน การปฏิรูปที่ดินไม่ใช่เวลาที่จะต้อง "นุ่มนวลละมุนละม่อม"[38] และได้แสดงความเห็นในลักษณะคำถามเชิงวาทศิลป์ว่า แม้ในอุดมคติแล้วจะไม่มีเจ้าของที่ดินคนใดต้องเสียชีวิตในกระบวนการนี้ "หากเจ้าของที่ดินใจแคบบางคนฆ่าตัวตาย นั่นหมายความว่านโยบายของเรามีปัญหาหรือไม่? เราต้องรับผิดชอบหรือ?"[39]

เติ้ง เสี่ยวผิง ใช้เวลาสามปีในเมืองฉงชิ่ง ซึ่งเป็นเมืองที่เขาเคยศึกษาเล่าเรียนในช่วงวัยรุ่นก่อนที่จะเดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1951 เขาได้ย้ายไปปักกิ่ง และดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในรัฐบาลกลาง

การขึ้นสู่อำนาจทางการเมืองในปักกิ่ง

[แก้]
เติ้ง เสี่ยวผิง (ซ้าย) พบกับองค์ทะไลลามะที่ 14 (ขวา) ใน ค.ศ. 1954

ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1952 เติ้งเดินทางมายังกรุงปักกิ่งเพื่อเข้ารับตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรองประธานคณะกรรมการการเงิน หลังจากนั้นไม่นานเขาก็ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้อำนวยการสำนักสื่อสาร ใน ค.ศ. 1954 เขาถูกปลดจากตำแหน่งดังกล่าวทั้งหมด เหลือเพียงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีเท่านั้น ใน ค.ศ. 1956 เขาได้รับตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายองค์กรของพรรคคอมมิวนิสต์ และสมาชิกคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง

หลังจากให้การสนับสนุนเหมาอย่างเป็นทางการในการขบวนต่อต้านฝ่ายขวาใน ค.ศ. 1957 เติ้งก็ได้รับตำแหน่งเลขาธิการสำนักเลขาธิการ และรับผิดชอบการบริหารกิจการประจำวันของประเทศร่วมกับประธานาธิบดีหลิว เช่าฉี และนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล นโยบายของเติ้งและหลิวมุ่งเน้นไปที่เศรษฐกิจมากกว่าอุดมการณ์ เป็นการเบี่ยงเบนจากความกระตือรือร้นอันมหาศาลของนโยบายก้าวกระโดดไกลไปโดยปริยาย ทั้งหลิวและเติ้งต่างให้การสนับสนุนเหมาในการรณรงค์ครั้งใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 1950 ซึ่งทั้งสองได้ร่วมกันโจมตีชนชั้นกลางและทุนนิยม และส่งเสริมอุดมการณ์ของเหมา[40] อย่างไรก็ตาม ความล้มเหลวของนโยบายก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้าได้ถูกมองว่าเป็นการตำหนิความสามารถในการบริหารจัดการเศรษฐกิจของเหมา เผิง เต๋อหวยเริ่มวิพากษ์วิจารณ์เหมาอย่างเปิดเผย ขณะที่หลิวและเติ้งยังคงสงวนท่าทีที่ระมัดระวังมากขึ้น และในที่สุดก็เข้ามารับผิดชอบนโยบายเศรษฐกิจเมื่อเหมาเลิกยุ่งเกี่ยวกับกิจการประจำวันของพรรคและประเทศ เหมาเหมาตกลงที่จะสละตำแหน่งประธานาธิบดี (ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัย) ให้แก่หลิว ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาตำแหน่งผู้นำพรรคและกองทัพไว้

ใน ค.ศ. 1955 เติ้งได้รับการพิจารณาให้เป็นผู้มีสิทธิ์รับยศจอมพลแห่งกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน แต่สุดท้ายแล้วก็ไม่ได้รับยศดังกล่าว

ในการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่ 8 ใน ค.ศ. 1956 เติ้งได้สนับสนุนให้มีการลบข้อความที่อ้างถึง "ความคิดของเหมา เจ๋อตง" ออกจากข้อบังคับของพรรคทั้งหมด[37]

ใน ค.ศ. 1963 เติ้งได้เดินทางไปยังกรุงมอสโกเพื่อเป็นประธานในการประชุมคณะผู้แทนจากประเทศจีนกับนีกีตา ครุชชอฟ ผู้สืบทอดอำนาจของสตาลิน ความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนกับสหภาพโซเวียตนั้นเลวร้ายลงอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่การถึงแก่อสัญกรรมของสตาลิน ภายหลังการประชุมครั้งนี้ ผลการเจรจาไม่เป็นผลสำเร็จ และความแตกแยกระหว่างจีนกับโซเวียตก็ทวีความรุนแรงขึ้น ส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างมหาอำนาจคอมมิวนิสต์ทั้งสองในยุคนั้นหยุดชะงักลงเกือบทั้งหมด[41]

ภายหลังการประชุมคณะทำงาน 7,000 คนใน ค.ศ. 1962 การปฏิรูปเศรษฐกิจของหลิวและเติ้งในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย และได้ฟื้นฟูสถาบันทางเศรษฐกิจหลายแห่งที่ถูกยกเลิกไปก่อนหน้านี้ในช่วงการก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้า[40] เหมาเริ่มรู้สึกว่าตนเองจะสูญเสียอำนาจ จึงได้ดำเนินการเพื่อยึดอำนาจการปกครองประเทศกลับคืนมา เหมาได้อ้างถึงจิตวิญญาณแห่งการปฏิวัติของตนและริเริ่มการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ซึ่งส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปร่วมกันขจัดกลุ่มทุนนิยมขวาจัดที่ได้ "แทรกซึมเข้าสู่พรรค" เติ้งถูกเย้ยหยันว่าเป็น "ผู้สนับสนุนทุนนิยมหมายเลขสอง"[42]

เติ้งเป็นหนึ่งในผู้ร่างหลักแผนพัฒนาเศรษฐกิจ (แผนห้าปี) ฉบับที่สาม[43]: 29  ในร่างฉบับดังกล่าวได้เน้นย้ำถึงการมุ่งเน้นผู้บริโภค และการพัฒนาเมืองชายฝั่งที่มีอุตสาหกรรมของจีนอย่างต่อเนื่อง[43]: 7  เมื่อเหมาได้เสนอแนวคิดการรณรงค์ครั้งใหญ่เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐานและความมั่นคงของชาติภายในประเทศจีนในฐานะแนวรบที่สามเพื่อเตรียมรับมือกับการรุกรานที่อาจเกิดขึ้นจากสหรัฐหรือสหภาพโซเวียต เติ้งก็เป็นหนึ่งในผู้นำคนสำคัญที่คัดค้านแนวคิดดังกล่าว[43]: 7  ภายหลังอุบัติการณ์อ่าวตังเกี๋ยซึ่งก่อให้เกิดความวิตกกังวลเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการถูกสหรัฐโจมตี เติ้งและผู้นำระดับสูงคนอื่น ๆ จึงได้ให้การสนับสนุนการก่อสร้างแนวรบที่สามอย่างเต็มที่ และได้มีการปรับเปลี่ยนจุดเน้นของแผนห้าปีมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ[43]: 7 

เป้าหมายของการกวาดล้าง

[แก้]

การปฏิวัติทางวัฒนธรรม

[แก้]
เติ้ง เสี่ยวผิง (ซ้าย) กับหลี่ เซียนเนี่ยน (กลาง) และนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล ในปี ค.ศ. 1963

เหมามีความกังวลว่านโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจของเติ้งและหลิวอาจนำไปสู่การฟื้นระบบทุนนิยมและเป็นอันสิ้นสุดการปฏิวัติจีน[44] ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นและเหตุผลอื่น ๆ เหมาจึงได้ริเริ่มการปฏิวัติทางวัฒนธรรมใน ค.ศ. 1976 ซึ่งส่งผลให้เติ้งไม่ได้รัยความไว้วางใจและถูกบังคับให้ลาออกจากตำแหน่งทั้งหมด

ในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาและครอบครัวตกเป็นเป้าโจมตีของยุวชนแดง ซึ่งได้จับกุมเติ้ง ผู่ฟาง บุตรชายคนโตของเติ้งไว้ เติ้ง ผู่ฟางถูกทรมานและถูกโยนออกจากหน้าต่างอาคารสูงสี่ชั้นใน ค.ศ. 1968 ทำให้เขาเป็นอัมพาตครึ่งล่าง ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1969 เติ้ง เสี่ยวผิงถูกส่งไปใช้แรงงานที่โรงงานรถแทรกเตอร์อำเภอซินเจียน ในเขตชนบทของมณฑลเจียงซี[45]: 466  ในช่วงสี่ปีที่นั่น[46] เติ้งใช้เวลาว่างไปกับการเขียนหนังสือ เขาถูกกวาดล้างในระดับประเทศ แต่ในระดับน้อยกว่าประธานาธิบดีหลิว เช่าฉี

ใน ค.ศ. 1971 หลิน เปียว ผู้สืบทอดตำแหน่งอย่างเป็นทางการคนที่สองของเหมาและรองประธานพรรคเพียงคนเดียวได้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุเครื่องบินตก ตามรายงานอย่างเป็นทางการ หลินพยายามหลบหนีออกจากประเทศจีนหลังจากการก่อรัฐประหารเพื่อโค่นล้มเหมาล้มเหลว เหมาได้สั่งกวาดล้างพันธมิตรของหลินทั้งหมด ซึ่งดำรงตำแหน่งระดับสูงเกือบทั้งหมดในกองทัพปลดปล่อยประชาชน ทำให้เติ้ง (ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการทางการเมืองของกองทัพภาคสนามที่ 2 ในช่วงสงครามกลางเมือง) กลายเป็นผู้นำกองทัพที่มีอิทธิพลมากที่สุด[44] ในเวลาต่อมา เติ้งได้เขียนจดหมายถึงเหมาถึงสองครั้งเพื่อแสดงความสำนึกผิดจากเหตุการณ์หลิน เปียว ยอมรับว่าตนเองมี "แนวโน้มทุนนิยม" และไม่ได้ "ยึดมั่นในความคิดของเหมา เจ๋อตง" อย่างแน่วแน่ พร้อมทั้งแสดงเจตจำนงที่จะกลับเข้ามารับใช้พรรคเพื่อชดเชยความผิดพลาดที่ได้กระทำไป[47]: 454  นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล เคยเป็นผู้สืบทอดอำนาจคนที่สามของเหมา แต่ต่อมาประสบปัญหาสุขภาพด้วยโรคมะเร็ง จึงเลือกเติ้งเป็นผู้สืบทอดตำแหน่ง ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1976 เติ้งได้เดินทางกลับมายังกรุงปักกิ่ง หลังจากที่โจวได้เชิญตัวกลับจากการถูกเนรเทศเพื่อให้กลับมามีบทบาทในการฟื้นฟูเศรษฐกิจจีน[48][47]: 455  โจวสามารถโน้มน้าวเหมาให้นำเติ้งกลับเข้ามามีบทบาททางการเมืองอีกครั้งในตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่งในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1974 ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วจะผู้ดูแลกิจการประจำวัน[49] อย่างไรก็ตาม เขายังคงระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงการขัดแย้งกับอุดมการณ์ลัทธิเหมาบนเอกสาร ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1975 คณะกรรมาธิการกลางพรรคชุดที่ 10 ได้มีมติเลือกเติ้งให้ดำรงตำแหน่งรองประธานพรรคเป็นครั้งแรกในชีวิตทางการเมือง ทำให้หลี่ เต๋อเชิงจำต้องลาออกจากตำแหน่งเพื่อเปิดทางให้ เติ้งเป็นหนึ่งในรองประธานทั้งห้าคน โดยมีโจวเป็นรองประธานคนแรก

เติ้ง เสี่ยวผิง (กลาง) กับเจอรัลด์ ฟอร์ด ประธานาธิบดีสหรัฐ (ซ้าย) ค.ศ. 1975

ในช่วงที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในระยะเวลาอันสั้นใน ค.ศ. 1973 เติ้งได้จัดตั้งสำนักวิจัยการเมืองขึ้น โดยมีปัญญาชน อาทิ หู เฉียวมู่ ยฺหวี กวาง-ยฺเหวี่ยน และหู เฉิง เป็นหัวหน้า มีหน้าที่ในการศึกษาค้นคว้าแนวทางปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจ เขาเป็นผู้นำกลุ่มด้วยตนเองและบริหารโครงการภายในคณะรัฐมนตรี เพื่อป้องกันไม่ให้แก๊งออฟโฟร์เกิดความสงสัย

ใน ค.ศ. 1975 เติ้งมุ่งมั่นที่จะปรับเปลี่ยนทิศทางการดำเนินงานของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีนให้หันมาให้ความสำคัญกับการวิจัยเชิงทฤษฎีมากขึ้น ซึ่งเป็นด้านที่ถูกละเลยไปในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม[50]: 74  เติ้งกล่าวว่าการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในจีนนั้นล้าหลังเมื่อเทียบกับความต้องการในการสร้างสังคมนิยมและสถานะของประเทศที่พัฒนาแล้ว และได้กล่าวเพิ่มเติมว่าเพื่อให้ทันต่อความต้องการ จีนควรให้ความสำคัญกับวิทยาศาตร์ขั้นพื้นฐานเพื่อสร้างรากฐานทางทฤษฎีที่มั่นคง[50]: 74  แม้ว่าแนวทางนี้จะขาดความนิยมทางการเมืองในช่วงที่เติ้งถูกกวาดล้าง แต่แนวทางของเติ้งในการสร้างสมดุลระหว่างการวิจัยประยุกต์และการวิจัยพื้นฐานก็ได้รับการยอมรับให้เป็นนโยบายอย่างเป็นทางการของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีน (CAS) ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1977[50]: 75 

การปฏิวัติทางวัฒนธรรมยังคงดำเนินอยู่ และกลุ่มการเมืองฝ่ายซ้ายหัวรุนแรงที่รู้จักกันในนาม "แก๊งออฟโฟร์" ที่นำโดยนางเจียง ชิง ภริยาของเหมา ก็ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแย่งชิงอำนาจภายในพรรค กลุ่มดังกล่าวมองว่าเติ้งเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการชิงอำนาจขิงพวกเขา[51] เหมาเองก็สงสัยว่าเติ้งจะทำลายภาพลักษณ์เชิงบวกของการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ซึ่งเหมามองว่าเป็นหนึ่งในนโยบายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของตน ตั้งแต่ปลายปี ค.ศ. 1975 เป็นต้นมา เติ้งได้รับคำสั่งให้เขียนคำวิจารณ์ตนเองหลายฉบับ แม้เขาจะยอมรับว่าได้ยึดมั่นใน "แนวคิดอุดมการณ์ที่ไม่เหมาะสม" ในการปฏิบัติงานด้านกิจการของประเทศและพรรค แต่ก็ยังลังเลที่จะยอมรับว่านโยบายของตนนั้นผิดพลาดในสาระสำคัญ ความเป็นปฏิปักษ์ระหว่างเขากับแก๊งออฟโฟ์นั้นชัดเจนมากขึ้นเรื่อย ๆ และเหมาก็ดูเหมือนจะเอนเอียงไปทางกลุ่มนั้น เหมาปฏิเสธที่จะยอมรับคำวิจารณ์ตนเองของเติ้ง และได้ขอให้คณะกรรมาธิการกลางพรรคดำเนินการ "พิจารณาข้อผิดพลาดของเติ้งอย่างละเอียด"

การรณรงค์ “วิจารณ์เติ้ง”

[แก้]

โจว เอินไหล ถึงแก่อสัญกรรมในเดือนมกราคม ค.ศ. 1976 ท่ามกลางความเศร้าโศกเสียใจของประชาชนทั่วประเทศ โจวเป็นบุคคลสำคัญยิ่งในชีวิตทางการเมืองของเติ้ง และการอสัญกรรมของเขาได้ทำให้การสนับสนุนที่เหลืออยู่ในคณะกรรมาธิการกลางพรรคลดน้อยลง หลังจากที่เติ้งได้แถลงการณ์สรรเสริญอย่างเป็นทางการให้แก่โจวในรัฐพิธีศพ[37] แก๊งออฟโฟร์โดยได้รับอนุญาตจากเหมาก็ได้เริ่มต้นการรณรงค์ "ต่อต้านการฟื้นฟูกรณีของพวกฝ่ายขวา" ฮฺว่า กั๋วเฟิง ไม่ใช่เติ้ง ได้รับเลือกให้เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อจากโจวในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1976

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 คณะกรรมาธิการกลางได้ออกคำสั่งสำคัญระดับสูง โดยมีสาระสำคัญในการโยกย้ายเติ้งไปปฏิบัติงานด้าน "กิจการต่างภายนอก"อย่างเป็นทางการ ซึ่งเท่ากับเป็นการถอดเติ้งจากกลไกอำนาจของพรรค เติ้งอยู่บ้านเป็นเวลาหลายเดือนขณะรอคอยชะตากรรม สำนักวิจัยทางการเมืองถูกยุบเลิกในทันที และที่ปรึกษาของเติ้ง เช่น ยฺหวี กวาง-ยฺเหวี่ยน ถูกพักงาน ด้วยเหตุนี้ ความปั่นป่วนทางการเมืองจึงเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจที่เติ้งได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการสร้างตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา[52] วันที่ 3 มีนาคม เหมาได้ออกคำสั่งยืนยันความชอบธรรมของการปฏิวัติทางวัฒนธรรม และระบุโดยเฉพาะว่าเติ้งเป็นปัญหาภายในมากกว่าปัญหาภายนอก ต่อมาคณะกรรมาธิการกลางได้สั่งการไปยังหน่วยงานพรรคระดับท้องถิ่นทุกแห่งให้ศึกษาคำสั่งของเหมาและวิพากษ์วิจารณ์เติ้ง

ชื่อเสียงของเติ้งในฐานะนักปฏิรูปได้รับความเสียหายอย่างหนักหลังจากกรณีเทียนอันเหมินในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1976 ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากที่ประชาชนจำนวนมากได้มาร่วมไว้อาลัยโจวในเทศกาลเช็งเม้ง แก๊งออฟโฟร์ได้ตีตราเหตุการณ์นี้ว่าเป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิวัติและเป็นภัยต่อคุกคามอำนาจของพวกตน ยิ่งไปกว่านั้น แก๊งได้ตีความว่าเติ้งเป็นผู้อยู่เบื้องหลังเหตุการณ์ดังกล่าว และเหมาได้เขียนไว้ว่า "ธรรมชาติของสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว"[53] เหตุการณ์นี้กระตุ้นให้เหมาดำเนินการปลดเติ้งออกจากตำแหน่งผู้นำทั้งหมด แม้ว่าเขาจะยังคงเป็นสมาชิกพรรคต่อไป ด้วยเหตุนี้ ในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1976 นายกรัฐมนตรีฮฺว่า กั๋วเฟิง จึงได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีแทนเติ้ง และในขณะเดียวกันก็ได้รับตำแหน่งรองประธานพรรคคนที่หนึ่ง ซึ่งเป็นตำแหน่งว่างลงหลังจากที่โจวดำรงตำแหน่ง ทำให้ฮฺว่ากลายเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งอย่างเป็นทางการคนที่สี่ของเหมา

ผู้นำประเทศ

[แก้]

ผู้นำสูงสุด

[แก้]
เติ้ง เสี่ยวผิง และประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ ในพิธีต้อนรับการมาเยือนสหรัฐของเติ้ง (ค.ศ. 1979)

ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมของเหมาในวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1976 และการกวาดล้างแก๊งออฟโฟร์ในเดือนตุลาคมปีเดียวกัน นายกรัฐมนตรีฮฺว่า กั๋วเฟิงได้เข้าดำรงตำแหน่งประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน และค่อย ๆ ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำโดยพฤตินัยของจีน ก่อนการถึงแก่อสัญกรรมของเหมา ตำแหน่งในรัฐบาลเพียงตำแหน่งเดียวเดียวที่เติ้งดำรงอยู่คือรองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง[54] อย่างไรก็ดี ฮฺว่า กั๋วเฟิงต้องการจะขจัดกลุ่มหัวรุนแรงออกจากพรรค และขับไล่แก๊งออฟโฟร์ออกไปได้สำเร็จ วันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1977 เติ้งได้รับการแต่งตั้งกลับคืนสู่ตำแหน่งรองประธานคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน รองประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง และประธานคณะเสนาธิการกองทัพปลดปล่อยประชาชน[55]

ด้วยการระดมกำลังสนับสนุนจากพรรคอย่างรอบคอบ เติ้งจึงสามารถเอาชนะฮฺว่า ผู้ซึ่งเคยอภัยโทษให้แก่ตนได้ และได้ขับไล่ฮฺว่าออกจากตำแหน่งผู้นำสูงสุดภายใน ค.ศ. 1980 แตกต่างจากการเปลี่ยนแปลงผู้นำในครั้งก่อน เติ้งอนุญาตให้ฮฺว่าคงสถานะเป็นสมาชิกคณะกรรมธิการกลางและเกษียณอายุอย่างเงียบ ๆ ซึ่งเป็นการวางบรรทัดฐานใหม่ที่แสดงให้เห็นว่าการพ่ายแพ้ในการต่อสู้เพื่ออำนาจในระดับสูงจะไม่นำมาซึ่งอันตรายทางกาย

ในช่วงที่เติ้งเป็นผู้นำสูงสุด เขาดำรงตำแหน่งประธานสภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978 ถึง 1983 และประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง (หน่วยงานเฉพาะกิจที่ประกอบด้วยสมาชิกระดับสูงที่สุดของพรรค) ของสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1983 ถึง 1990 ในขณะที่ตำแหน่งอย่างเป็นทางการในพรรคของเขาคือรองประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 ถึง 1982 ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางของพรรคคอมมิวนิสต์จีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 ถึง 1989 และประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลางตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 ถึง 1987 ใน ค.ศ. 1988 เมื่อกองทัพปลดปล่อยประชาชนได้ฟื้นฟูระบบยศทางทหารขึ้นมาใหม่ เขาได้รับการเสนอยศเป็นพลเอก แต่ก็ได้ปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าวไปเช่นเดียวกับเมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเกษียณจากตำแหน่งคณะกรรมาธิการสามัญประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีนใน ค.ศ. 1987 และคณะกรรมการทหารส่วนกลางใน ค.ศ. 1989 แต่เติ้งก็ยังคงมีอิทธิพลต่อนโยบายของประเทศจีนอย่างต่อเนื่องกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1997

การตัดสินใจที่สำคัญมักจะกระทำขึ้น ณ บ้านเลขที่ 11 ซอยหมี่เหลียงกู่ ของเติ้ง โดยมีสมาชิกอาวุโสระดับสูงในพรรคจำนวน 8 คนที่เรียกกันว่า "แปดผู้เฒ่า" รวมถึง เฉิน ยฺหวิน และหลี่ เซียนเนี่ยน ร่วมประชุมปรึกษาหารือ[56][57] แม้เติ้งจะได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำสูงสุด แต่ในทางปฏิบัติ กลุ่มผู้อาวุโสเหล่านี้จะร่วมกันบริหารประเทศจีนในลักษณะคณะกรรมการขนาดเล็ก[58]: 78  เติ้งครองอำนาจในฐานะ "ผู้นำสูงสุด" แม้จะไม่ได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดของพรรคก็ตาม และสามารถปลดผู้นำพรรคได้สามคนติดต่อกัน รวมถึงหู เย่าปัง[59] เติ้งลาออกจากตำแหน่งกรรมาธิการกลางพรรค และคณะกรรมาธิการสามัญประจำกรมการเมืองของพรรค ถึงกระนั้น เขาก็ยังคงดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางของประเทศและพรรค และยังคงเป็นผู้นำสูงสุดจีนมากกว่าที่จะเป็นเลขาธิการจ้าว จื่อหยาง ประธานาธิบดีหลี่ เซียนเนี่ยน และประธานาธิบดีหยาง ช่างคุน

ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง

[แก้]

เติ้งได้ปฏิเสธการปฏิวัติทางวัฒนธรรม และใน ค.ศ. 1977 ก็ได้ริเริ่ม "ฤดูใบไม้ผลิแห่งปักกิ่ง" ซึ่งเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์การกระทำที่เกินขอบเขตและความทุกข์ทรมานที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าวอย่างเปิดเผย นอกจากนี้ยังได้ฟื้นฟูการสอบเข้ามหาวิทยาลัยระดับชาติ (เกาเข่า) ซึ่งถูกยกเลิกไปเป็นเวลาสิบปีในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน เขายังเป็นผู้ผลักดันให้มีการยกเลิกระบบชนชั้น ภายใต้ระบบนี้ พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้ลบอุปสรรคในการจ้างงานสำหรับชาวจีนที่ถูกระบุว่ามีความเกี่ยวข้องกับชนชั้นเจ้าของที่ดินในอดีต การลบอุปสรรคดังกล่าวเปิดโอกาสให้กลุ่มบุคคลที่สนับสนุนการฟื้นฟูตลาดเอกชนสามารถเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้

เติ้งค่อย ๆ เอาชนะคู่แข่งทางการเมืองของตนอย่างชาญฉลาด ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนวิพากษ์วิจารณ์การปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเปิดเผย เขาได้ลดทอนอำนาจของกลุ่มบุคคลที่ได้รับตำแหน่งทางการเมืองจากเหตุการณ์ดังกล่าว ขณะเดียวกันก็เสริมสร้างฐานะให้แก่ผู้ที่เคยถูกขับออกจากอำนาจในช่วงเวลานั้นเช่นเดียวกับตนเอง เติ้งยังได้รับการสนับสนุนจากประชาชนเป็นจำนวนมาก ขณะที่เติ้งกำลังค่อย ๆ สร้างความมั่นคงในการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์จีนนั้น ฮฺว่าได้ถูกแทนที่ด้วยจ้าว จื่อหยางในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน ค.ศ. 1980 และโดยหู เย่าปังในตำแหน่งประธานพรรคใน ค.ศ. 1981 แม้ว่าฮฺว่าจะเป็นผู้ที่เหมาไว้วางใจให้เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งผู้นำสูงสุดของพรรคและประเทศก็ตาม ในช่วงการขจัดความวุ่นวายและกลับคืนสู่ภาวะปกติ (ปัวล่วนฝ่านเจิ้ง) การปฏิวัติทางวัฒนธรรมได้ถูกประกาศว่าเป็นโมฆะ และผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของคดีความที่ไม่เป็นธรรมจำนวนกว่า 3 ล้านราย ณ ปี ค.ศ. 1976 ได้รับการฟื้นฟูชื่อเสียงอย่างเป็นทางการ[60]

การที่เติ้งก้าวขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของจีนนั้นหมายความว่าประเด็นทางประวัติศาสตร์และอุดมการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเหมาจำเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม เนื่องจากเติ้งปรารถนาที่จะดำเนินการปฏิรูปครั้งใหญ่ จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะสืบทอดนโยบาย "การต่อสู้ทางชนชั้น" ที่แข็งกร้าว และการรณรงค์ต่อสาธารณะของเหมา ใน ค.ศ. 1982 คณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้เผยแพร่เอกสารเรื่อง "ประเด็นทางประวัติศาสตร์ต่างๆ นับตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน" เหมายังคงรักษาสถานะของตนในฐานะ "มาร์กซิสต์ผู้ยิ่งใหญ่ นักปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพ นักการทหาร และนายพลผู้ยิ่งใหญ่" รวมทั้งเป็นผู้ก่อตั้งและผู้บุกเบิกของประเทศและกองทัพปลดปล่อยประชาชนที่ไม่มีใครเทียบได้ เอกสารดังกล่าวระบุว่า "ควรพิจารณาถึงความสำเร็จของเขาก่อนที่จะพิจารณาถึงความผิดพลาด" เติ้งได้ให้ความเห็นส่วนตัวว่าเหมาเป็นคน "ดีเจ็ดส่วน เลวสามส่วน" เอกสารดังกล่าวยังได้เบี่ยงเบนความรับผิดชอบหลักในการปฏิวัติทางวัฒนธรรมออกจากเหมา (แม้จะระบุไว้ว่า "เหมาได้เริ่มต้นปฏิวัติทางวัฒนธรรมโดยเข้าใจผิด") ไปยัง "กลุ่มต่อต้านการปฏิวัติ" อย่างแก๊งออฟโฟร์และหลิน เปียว

ความพันธ์ระหว่างประเทศ

[แก้]
เติ้ง เสี่ยวผิง (ซ้าย) พร้อมด้วยนางจัว หลิน ภริยา (ขวา) กำลังฟังการบรรยายจากคริสโตเฟอร์ ซี. คราฟต์ ผู้อำนวยการศูนย์อวกาศจอห์นสัน (ขวาสุด)

เติ้งให้ความสำคัญสูงสุดต่อการทำให้ประเทศจีนทันสมัยและเปิดรับความสัมพันธ์กับต่างประเทศ โดยประกาศว่า "ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของจีนคือการแสวงหาสภาพแวดล้อมที่สงบสุข" เพื่อสนับสนุนนโยบายการปฏิรูปทั้งสี่ด้าน[61] ภายใต้การนำของเติ้ง จีนได้เปิดประเทศสู่ภายนอกเพื่อเรียนรู้จากประเทศที่พัฒนาแล้ว[61] เติ้งได้พัฒนาหลักการที่ว่าในกิจการต่างประเทศ จีนควรซ่อนศักยภาพและคอยโอกาสอันเหมาะสม [61] เขายังคงมุ่งมั่นที่จะรักษาสถานะที่เป็นกลางระหว่างสหรัฐและสหภาพโซเวียต[61] แม้ว่าเติ้งจะยังคงรักษาอำนาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติที่สำคัญ แต่เขาก็ได้มอบอำนาจให้แก่ข้าราชการในเรื่องทั่วไป เช่น การให้สัตยาบันต่อการตัดสินใจโดยฉันทามติ และจะเข้ามาแทรกแซงในกรณีที่ไม่สามารถบรรลุฉันทามติได้[61] เมื่อเทียบกับยุคของเหมา เติ้งได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่าง ๆ ในการตัดสินใจด้านนโยบายต่างประเทศมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการกระจายอำนาจในการบริหารงานด้านนโยบายต่างประเทศ[62] แนวทางการกระจายอำนาจดังกล่าวส่งผลให้เกิดการพิจารณาผลประโยชน์และมุมมองที่หลากหลาย แต่ในขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดการแตกแยกของสถาบันกำหนดนโยบาย และการเจรจาต่อรองที่ซับซ้อนระหว่างหน่วยงานราชการต่าง ๆ ในกระบวนการกำหนดนโยบาย[62]

ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1978 หลังจากสถานการณ์ทางการเมืองของประเทศได้เข้าสู่ภาวะปกติ เติ้งได้เดินทางเยือนกรุงเทพ กัวลาลัมเปอร์ และสิงคโปร์ และได้พบปะกับนายกรัฐมนตรีลี กวนยู แห่งสิงคโปร์ เติ้งรู้สึกประทับใจเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ความเขียวขจี และที่อยู่อาศัยของประเทศสิงคโปร์ และต่อมาได้ส่งชาวจีนหลายหมื่นคนไปศึกษาและดูงานที่สิงคโปร์และประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเพื่อนำความรู้และประสบการณ์กลับมาพัฒนาประเทศ ในทางกลับกัน ลี กวนยูได้ให้คำแนะนำแก่เติ้งว่าควรยุติการเผยแพร่อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ไปยังภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งคำแนะนำที่ลีบอกเติ้งก็ได้ปฏิบัติตามในภายหลัง[63][64] ในปลายปี ค.ศ. 1978 บริษัทโบอิง ผู้ผลิตอากาศยานได้ประกาศการขายเครื่องบินโบอิง 747 ให้แก่สายการบินต่าง ๆ ในจีน และบริษัทโคคา-โคล่า ผู้ผลิตเครื่องดื่มได้ประกาศเจตนารมณ์ในการเปิดโรงงานผลิตในเซี่ยงไฮ้[ต้องการอ้างอิง]

ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1979 สหรัฐได้ยอมรับสาธารณรัฐประชาชนจีน ทำให้รัฐบาลชาตินิยม (ไต้หวัน) อยู่ในสถานะที่ไม่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ และการติดต่อทางธุรกิจระหว่างจีนกับตะวันตกก็เริ่มเติบโตมากขึ้น[65] ในช่วงต้นปี ค.ศ. 1979 เติ้งได้เดินทางเยือนสหรัฐอย่างเป็นทางการ โดยได้เข้าพบประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ ณ กรุงวอชิงตัน รวมถึงสมาชิกสภาคองเกรสหลายคน ฝ่ายจีนยืนกรานที่จะเชิญอดีตประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสันเข้าร่วมงานเลี้ยงรับรองอย่างเป็นทางการที่ทำเนียบขาว ซึ่งนับเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงความมุ่งมั่นที่จะแสดงบทบาทอันเข้มแข็งในด้านหนึ่ง และในอีกด้านหนึ่งก็สะท้อนให้เห็นถึงความปรารถนาที่จะสานต่อโครงการต่าง ๆ ที่นิกสันได้ริเริ่มไว้ ในการหารือกับประธานาธิบดีคาร์เตอร์ เติ้งได้พยายามขอความเห็นชอบจากสหรัฐสำหรับการวางแผนรุกรานเวียดนามของจีนในสงครามจีน–เวียดนาม[66] ตามคำกล่าวของซบิกนิว เบรซซินสกี ที่ปรึกษาความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐ ประธานาธิบดีคาร์เตอร์ได้สงวนท่าที ซึ่งเป็นการกระทำที่นักการทูตจีนตีความว่าเป็นการอนุมัติโดยปริยาย และจีนได้เปิดฉากการรุกรานหลังจากการกลับประเทศของเติ้งไม่นาน[66]

ในระหว่างการเยือนครั้งนั้น เติ้งได้เดินทางไปเยี่ยมชมศูนย์อวกาศจอห์นสันในเมืองฮิวสตัน ตลอดจนสำนักงานใหญ่ของบริษัทโคคา-โคล่าในเมืองแอตแลนตา และบริษัทโบอิงในเมืองซีแอตเทิล ด้วยความสำคัญของการเยี่ยมชมเหล่านี้ เติ้งได้เน้นย้ำอย่างชัดเจนว่ารัฐบาลจีนชุดใหม่ให้ความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี[ต้องการอ้างอิง]

เติ้งรับหน้าที่รับผิดชอบการเจรจาขั้นสุดท้ายกับสหรัฐ เรื่องการฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างทั้งสองประเทศด้วยตนเอง[67] เมื่อเผชิญกับเสียงวิจารณ์ภายในพรรคเกี่ยวกับนโยบายต่อสหรัฐ เติ้งได้กล่าวไว้ว่า "ผมเป็นประธานดำเนินงานเกี่ยวกับสหรัฐ หากเกิดปัญหาใด ๆ ผมจะรับผิดชอบทั้งหมด"[67]

ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับญี่ปุ่นมีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง[68] เติ้งได้ยกญี่ปุ่นเป็นตัวอย่างของประเทศที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว และเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านเศรษฐกิจให้แก่ประเทศจีน[69]

ในระยะแรก เติ้งยังคงยึดมั่นในแนวทางลัทธิเหมาในยุคที่จีนแตกแยกกับโซเวียต ซึ่งมองว่าสหภาพโซเวียตเป็นมหาอำนาจที่มีลักษณะ "ครอบงำ" เช่นเดียวกับสหรัฐ แต่เป็นภัยคุกคามต่อจีนมากกว่าเนื่องจากตั้งอยู่ใกล้ชิด[70] ความสัมพันธ์กับสหภาพโซเวียตเป็นไปในทางที่ดีขึ้นภายหลังจากที่มีฮาอิล กอร์บาชอฟขึ้นดำรงตำแหน่งผู้นำใน ค.ศ. 1985 และในที่สุดความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการระหว่างทั้งสองประเทศก็ได้รับการฟื้นฟูอย่างเป็นทางการในการประชุมสุดยอดจีน–โซเวียตใน ค.ศ. 1989[71]

เติ้งตอบโต้การคว่ำบาตรของชาติตะวันตกหลังจากการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินโดยการนำ "หลักการยี่สิบสี่อักษร" มาใช้ในการดำเนินกิจการระหว่างประเทศของจีน ซึ่งมีใจความสำคัญคือ สังเกตสถานการณ์อย่างรอบคอบ (冷静观察), รักษาจุดยืนของชาติ (稳住阵脚), รับมือความท้าทายอย่างสงบ (沉着应付), ซ่อนศักยภาพของประเทศและคอยโอกาสที่เหมาะสม (韬光养晦), ทำตัวให้ต่ำต้อย (善于守拙) และเลี่ยงการแสดงบทบาทผู้นำ (绝不当头)[72]

การสิ้นสุดของสงครามเย็นและการล่มสลายของสหภาพโซเวียตได้ทำลายแรงจูงใจดั้งเดิมที่เป็นพื้นฐานของการปรองดองระหว่างจีนกับสหรัฐ[73] เติ้งมีความกังวลว่าสหรัฐอาจจะลดการสนับสนุนการปฏิรูปประเทศจีนให้ทันสมัย จึงได้ดำเนินนโยบายต่างประเทศที่ไม่เปิดเผยตัวเพื่อยอมรับสถานะผู้นำของสหรัฐ และมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาภายในประเทศเป็นหลัก[73] ในช่วงเวลานี้ของนโยบายต่างประเทศ จีนได้ให้ความสำคัญกับการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน และการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในสถาบันพหุภาคี[73] ดังที่ศาสตราจารย์จ้าว ซุ่ยเชิง ได้ประเมินมรดกทางนโยบายต่างประเทศของเติ้งไว้ว่า "การทูตเพื่อการพัฒนาของเติ้งได้ช่วยสร้างสภาพแวดล้อมภายนอกที่เอื้ออำนวยต่อการผงาดขึ้นของจีนในศตวรรษที่ 21 ผู้สืบทอดที่เขาเลือกเองกับมืออย่างเจียง เจ๋อหมิน และหู จิ่นเทา ต่างก็ดำเนินรอยตามแนวทางของเขาอย่างซื่อสัตย์ "[73]

ใน ค.ศ. 1990 ระหว่างการพบปะกับนายกรัฐมนตรีพีเอร์ ทรูโด แห่งแคนาดา เติ้งได้กล่าวไว้ว่า "หลักการสำคัญที่ควบคุมระเบียบโลกใหม่ควรเป็นการไม่แทรกแซงกิจการภายในและระบบสังคมของประเทศอื่น การบังคับให้ทุกประเทศในโลกทำตามแบบแผนที่สหรัฐ อังกฤษ และฝรั่งเศสวางไว้นั้นจะไม่เป็นผล[74] เติ้งได้สนับสนุนหลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5 ประการ โดยระบุว่าหลักการเหล่านี้ควรนำมาใช้เป็น "บรรทัดฐานนำทางในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ"[75]

การปฏิรูปและเปิดกว้าง

[แก้]

ณ จุดเริ่มต้นของการปฏิรูปและเปิดดว้างของจีน เติ้งได้กำหนดหลักการสำคัญสี่ประการที่ต้องยึดถือไว้ตลอดกระบวนการ ได้แก่ (1) การนำพาของพรรคคอมมิวนิสต์ (2) เส้นทางสังคมนิยม (3) ลัทธิมากซ์ และ (4) ระบอบเผด็จการของชนชั้นกรรมาชีพ[76] โดยรวมแล้ว การปฏิรูปดำเนินไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเติ้งได้มอบหมายปัญหาเฉพาะต่าง ๆ ให้แก่บุคคลที่ตนอุปถัมภ์ เช่น หู เย่าปัง หรือจ้าว จื่อหยาง ซึ่งต่อมาทั้งสองก็ได้แก้ไขปัญหาเหล่านั้นภายใต้หลักการ "แสวงหาความจริงจากข้อเท็จจริง" หมายความว่าความถูกต้องของแนวทางใด ๆ จะต้องวัดด้วยผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจ[58] เติ้งอธิบายถึงการปฏิรูปและเปิดกว้างว่าเป็น "การทดลองในระดับใหญ่" ซึ่งต้องอาศัย "การทดลองในทางปฏิบัติ" อย่างละเอียดรอบคอบ แทนที่จะอาศัยเพียงความรู้จากตำรา[77]: 65 

สี่ทันสมัย

[แก้]

เติ้งได้กล่าวถึงสุภาษิตโบราณที่ว่า "ไม่สำคัญว่าแมวจะสีดำหรือขาว ตราบใดที่มันจับหนูได้ มันก็คือแมวที่ดี" ประเด็นที่ต้องการจะสื่อคือวิธีการแบบทุนนิยมนั้นได้ผล[78] เติ้งได้ร่วมงานกับคณะทำงานของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับจ้าว จื่อหยาง ซึ่งได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน ค.ศ. 1980 แทนฮฺว่า กั๋วเฟิง และหู เย่าปัง ซึ่งได้เข้ารับตำแหน่งประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีนใน ค.ศ. 1981 เติ้งจึงได้กุมบังเหียนและเริ่มเน้นย้ำเป้าหมายในการ "พัฒนาประเทศให้ทันสมัยใน 4 ด้าน" อันได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ การเกษตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการป้องกันประเทศ เขาได้ประกาศแผนการที่ทะเยอทะยานในการเปิดประเทศและเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ[79]

ตำแหน่งอำนาจสุดท้ายที่เหลืออยู่ของฮฺว่า กั๋วเฟิง คือ ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง ถูกเติ้งยึดไปใน ค.ศ. 1981 อย่างไรก็ดี ความคืบหน้าในการปรับปรุงกองทัพกลับดำเนินไปอย่างเชื่องช้า สงครามชายแดนกับเวียดนามใน ค.ศ. 1977–1979 ทำให้การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม สงครามครั้งนี้สร้างความงุนงงให้แก่ผู้สังเกตการณ์ภายนอก จาง เสี่ยวหมิงได้ให้เหตุผลว่าเติ้งมีเป้าหมายหลายประการ ได้แก่ การยับยั้งการขยายอิทธิพลของโซเวียตในภูมิภาค การขอรับการสนับสนุนจากสหรัฐเพื่อดำเนินนโยบายสี่ทันสมัย และการกระตุ้นให้ประเทศจีนเข้าสู่กระบวนการปฏิรูปและบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เติ้งยังพยายามที่จะเสริมสร้างอำนาจการควบคุมกองทัพปลดปล่อยประชาชนของตน และแสดงให้โลกเห็นว่าประเทศจีนมีความสามารถในการทำสงครามที่แท้จริง จางเห็นว่าการลงโทษเวียดนามเนื่องจากการรุกรานกัมพูชาเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญน้อย[80] ในเหตุการณ์ดังกล่าว กองกำลังของจีนประสบความล้มเหลวอย่างมากทั้งในด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ กลยุทธ์ การนำทัพ และประสิทธิภาพในการรบ[81] ต่อมาเติ้งได้ใช้ผลงานที่ย่ำแย่ของกองทัพปลดปล่อยประชาชนเป็นเครื่องมือในการเอาชนะการต่อต้านการปฏิรูปกองทัพของผู้นำทางทหาร[43]: 230 

ภัยคุกคามทางทหารหลักของจีนมาจากสหภาพโซเวียต ซึ่งแม้จะมีกำลังพลน้อยกว่าแต่กลับมีความแข็งแกร่งเหนือกว่าอย่างมาก เนื่องมาจากมีเทคโนโลยีอาวุธที่ก้าวหน้ากว่า ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1981 เติ้งเห็นว่าการซ้อมรบเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับกองทัพปลดปล่อยประชาชน และในเดือนกันยายนปีเดียวกันก็ได้มีการจัดการซ้อมรบภาคเหนือขึ้น ซึ่งนับเป็นการซ้อมรบครั้งใหญ่ที่สุดของกองทัพปลดปล่อยประชาชนนับตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน ยิ่งไปกว่านั้น เติ้งได้ริเริ่มการปรับปรุงของกองทัพปลดปล่อยประชาชนให้ทันสมัย และตัดสินใจว่าจีนจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์พลเรือนขั้นสูงเสียก่อนจึงจะหวังสร้างอาวุธสมัยใหม่ได้ ด้วยเหตุนี่เขาจึงมุ่งเน้นไปที่การลดขนาดกองทัพโดยการปลดทหารจำนวน 1 ล้านนายใน ค.ศ. 1985 (百万大裁军; ไป่ว่านต้าไฉ่-จฺวิน)[82] รวมถึงการปลดเหล่านายทหารชั้นผู้ใหญ่ที่มีอายุมากและมีความประพฤติมิชอบ ตลอดจนพวกพ้องของบุคคลเหล่านั้น เขาเน้นย้ำถึงการสรรหาชายหนุ่มที่มีการศึกษาดีกว่ามาก ซึ่งจะสามารถควบคุมเทคโนโลยีขั้นสูงได้เมื่อเทคโนโลยีนั้นพร้อมใช้งาน แทนที่จะละเลยให้มีการอุปถัมภ์และการทุจริตในหมู่นายทหาร เขากลับบังคับใช้ระเบียบวินัยที่เข้มงวดในทุกระดับชั้น ใน ค.ศ. 1982 เขาได้จัดตั้งคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศขึ้นใหม่ เพื่อวางแผนการนำเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นในภาคพลเรือนมาประยุกต์ใช้[83][84]

สามขั้นตอนสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ

[แก้]

ใน ค.ศ. 1986 เติ้งได้ให้สัมภาษณ์กับไมก์ วอลเลซ ในรายการ 60 Minutes โดยอธิบายว่าการที่ประชาชนบางกลุ่มและบางภูมิภาคจะเจริญรุ่งเรืองก่อนนั้น จะเป็นการเร่งให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองร่วมกันได้เร็วขึ้น[85] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1987 ในการประชุมสมัยสามัญเต็มคณะของสภาประชาชนแห่งชาติ เติ้งได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางอีกวาระหนึ่ง แต่ได้ลาออกจากตำแหน่งประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนกลาง และเฉิน ยฺหวินก็ได้เข้ารับตำแหน่งแทน เติ้งยังคงทำหน้าที่เป็นประธานและพัฒนาการปฏิรูปและเปิดกว้างเป็นนโยบายหลัก และได้เสนอสามขั้นตอนที่เหมาะสมสำหรับยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนภายใน 70 ปี ขั้นตอนแรกคือการเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ให้เป็นสองเท่าของ ค.ศ. 1980 และทำให้ประชาชนมีอาหารและเสื้อผ้าเพียงพอ ซึ่งบรรลุเป้าหมายภายในสิ้นคริสต์ทศวรรษ 1980 ขั้นตอนที่สองคือการเพิ่ม GDP เป็นสี่เท่าของ ค.ศ. 1980 ภายในสิ้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งบรรลุเป้าหมายใน ค.ศ. 1995 ขั้นตอนที่สามคือการเพิ่ม GDP ต่อหัวให้เท่ากับระดับประเทศที่มีการพัฒนาปานกลางภายใน ค.ศ. 2050 เมื่อถึงจุดนั้น ประชาชนจีนจะค่อนข้างมีความเป็นอยู่ที่ดี และการพัฒนาให้ทันสมัยจะบรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง[86]

การปฏิรูปอื่น ๆ

[แก้]

การปรับปรุงความสัมพันธ์กับต่างประเทศเป็นหนึ่งในปรัชญาสำคัญสองประการที่ระบุไว้ในโครงการปฏิรูปของเติ้งซึ่งเรียกว่า "ไก่เก๋อไคฟ่าง" (แปลตรงตัว การปฏิรูปและเปิดกว้าง) ภายใต้การนำของเติ้ง ระบบภายในประเทศของจีนไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การเมือง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ ล้วนประสบกับการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เป้าหมายของการปฏิรูปของเติ้งสามารถสรุปได้ด้วยนโยบาย "สี่ทันสมัย" อันได้แก่ ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการทหาร

กลยุทธ์ในการบรรลุเป้าหมายในการเป็นประเทศอุตสาหกรรมสมัยใหม่คือ เศรษฐกิจตลาดแบบสังคมนิยม เติ้งได้ให้เหตุผลว่าจีนอยู่ในระยะเริ่มแรกของสังคมนิยม และหน้าที่ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนคือการพัฒนา "สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน" ให้สมบูรณ์แบบ[87][37] และ "แสวงหาความจริงจากข้อเท็จจริง" (สิ่งนี้คล้ายคลึงกับหลักการทางทฤษฎีของเลนินที่ใช้สนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจใหม่ (NEP) ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 ซึ่งให้เหตุผลว่าสหภาพโซเวียตยังไม่ได้เข้าสู่ระยะทุนนิยมอย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการนำระบบทุนนิยมมาใช้ในวงจำกัดเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น) "สังคมนิยมอัตลักษณ์จีน" ได้วางรากฐานที่มั่นคงสำหรับการดำเนินนโยบายชาติพันธุ์อย่างไม่เป็นพิษภัย และสร้างวิธีการทางทฤษฎีเกี่ยวกับชาติพันธุ์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ[88]

นโยบายเศรษฐกิจของเติ้งให้ความสำคัญในการพัฒนากำลังการผลิตของจีน[89] ตามมุมมองของเติ้ง การพัฒนานี้ "เป็นการปฏิวัติที่สำคัญที่สุดเมื่อพิจารณาจากมุมมองของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์" และ "สังคมนิยมที่ยากจน" นั้นไม่ใช่สังคมนิยม[89] เหตุผลทางทฤษฎีของเขาในการยอมให้กลไกตลาดเกิดขึ้นก็คือ:

สัดส่วนระหว่างการวางแผนและกลไกตลาดไม่ใช่ปัจจัยแตกต่างที่สำคัญระหว่างระบอบสังคมนิยมและทุนนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนไม่เทียบเท่ากับสังคมนิยม เพราะภายใต้ระบบทุนนิยมก็มีการวางแผนเช่นกัน ระบบเศรษฐกิจตลาดก็ไม่ได้เทียบเท่ากับทุนนิยม เพราะภายใต้สังคมนิยมก็มีตลาดเช่นกัน การวางแผนและกลไกตลาดล้วนเป็นเครื่องมือในการควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งสิ้น แก่นแท้ของสังคมนิยมคือการปลดปล่อยและพัฒนาขุมกำลังการผลิต การขจัดการเอารัดเอาเปรียบและความเหลื่อมล้ำ และการบรรลุความมั่งคั่งให้แก่ประชาชนทุกคนในที่สุด แนวคิดนี้จะต้องถูกอธิบายให้ประชาชนเข้าใจอย่างชัดเจน[90]

แตกต่างจากฮฺว่า กั๋วเฟิง เติ้งเชื่อมั่นว่าไม่ควรปฏิเสธนโยบายใด ๆ เพียงเพราะนโยบายนั้นไม่ได้มีความเชื่อมโยงกับเหมา และแตกต่างจากผู้นำสายอนุรักษ์นิยมอย่างเช่นเฉิน ยฺหวิน เติ้งไม่ได้คัดค้านนโยบายใด ๆ ด้วยเหตุผลที่ว่านโยบายเหล่านั้นมีความคล้ายกับนโยบายที่พบในประเทศทุนนิยม

ความยืดหยุ่นทางการเมืองที่มีต่อรากฐานของลัทธิสังคมนิยมได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากคำกล่าวเช่น:

เราไม่ควรกลัวที่จะนำวิธีบริหารจัดการที่ก้าวหน้าที่ใช้ในประเทศทุนนิยมมาปรับใช้ ... แก่นแท้ของสังคมนิยมคือการปลดปล่อยและพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต ... สังคมนิยมและเศรษฐกิจตลาดนั้นไม่ขัดแย้งกัน ... เราควรคำนึงถึงความเบี่ยงเบนของฝ่ายขวา แต่เหนือสิ่งอื่นใด เราต้องคำนึงถึงความเบี่ยงเบนของฝ่ายซ้ายด้วย[91][ต้องการเลขหน้า]

แม้ว่าเติ้งจะเป็นผู้วางรากฐานทางทฤษฎีและให้การสนับสนุนทางการเมืองเพื่อให้การปฏิรูปเศรษฐกิจเกิดขึ้นได้ แต่ความเห็นทั่วไปของนักประวัติศาสตร์คือ การปฏิรูปเศรษฐกิจหลายอย่างที่เติ้งนำเสนอนั้นไม่ได้เป็นต้นคิดโดยเติ้งเอง ตัวอย่างเช่น นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหลได้ริเริ่มโครงการสี่ทันสมัยก่อนเติ้งหลายปี นอกจากนี้ ผู้นำท้องถิ่นหลายคนได้นำเสนอการปฏิรูปหลายอย่าง ซึ่งมักไม่ได้รับการอนุมัติจากคำสั่งของรัฐบาลกลาง หากการปฏิรูปเหล่านั้นประสบความสำเร็จและมีความน่าสนใจ ก็จะถูกนำไปใช้ในพื้นที่ที่ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ และในที่สุดก็ถูกนำมาใช้ทั่วประเทศ ตัวอย่างที่มักถูกอ้างถึงคือระบบรับผิดชอบครัวเรือน ซึ่งครั้งแรกได้ถูกนำมาใช้อย่างลับ ๆ โดยหมู่บ้านชนบทที่ยากจน โดยมีความเสี่ยงที่จะถูกตัดสินว่าเป็นการ "ต่อต้านปฏิวัติ" การทดลองนี้ได้พิสูจน์แล้วว่าประสบความสำเร็จอย่างมาก[92] เติ้งให้การสนับสนุนอย่างเปิดเผยและต่อมาก็ได้นำมาใช้ทั่วประเทศ การปฏิรูปอื่น ๆ อีกหลายอย่างยังได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ของเสือแห่งเอเชียตะวันออก[93]

สิ่งนี้แตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากรูปแบบการปฏิรูป (เปเรสตรอยคา) ที่มีฮาอิล กอร์บาชอฟดำเนินการ ซึ่งการปฏิรูปที่สำคัญส่วนใหญ่มีต้นกำเนิดมาจากกอร์บาชอฟเอง ในทางตรงกันข้าม แนวทางปฏิรูป "จากล่างขึ้นบน" ของเติ้ง เมื่อเปรียบเทียบกับแนวทาง "จากบนลงล่าง" ของเปเรสตรอยคา น่าจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้การปฏิรูปของเติ้งประสบความสำเร็จมากกว่า[94][ต้องการเลขหน้า]

การปฏิรูปของเติ้งได้นำระบบการวางแผนและบริหารจัดการเศรษฐกิจมหภาคแบบวางแผนและรวมศูนย์โดยข้าราชการที่มีความเชี่ยวชาญทางเทคนิคมาใช้ แทนที่แนวทางการสร้างเศรษฐกิจแบบรณรงค์มวลชนของเหมา อย่างไรก็ตาม การบริหารจัดการนั้นเป็นไปโดยอ้อมผ่านกลไกตลาด ซึ่งต่างจากแบบของโซเวียต เติ้งได้สืบทอดมรดกของเหมาโดยการให้ความสำคัญต่อผลผลิตทางการเกษตร และส่งเสริมการกระจายอำนาจตัดสินใจไปยังกลุ่มเศรษฐกิจในชนบทและครัวเรือนเกษตรกรรายย่อยอย่างมีนัยสำคัญ ในระดับท้องถิ่นได้มีการใช้แรงจูงใจทางวัตถุแทนที่จะเป็นการปลุกระดมทางการเมืองเพื่อกระตุ้นแรงงาน ซึ่งรวมถึงการอนุญาตให้ชาวนามีรายได้เพิ่มเติมจากการจำหน่ายผลผลิตจากที่ดินส่วนตัวในราคาตลาดเสรี

เน้นการส่งออก

[แก้]

ในการปรับเปลี่ยนไปสู่ระบบการจัดสรรทรัพยากรโดยตลาด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและมณฑลได้รับอนุญาตให้ลงทุนในอุตสาหกรรมที่เห็นว่าให้ผลกำไรสูงสุด ซึ่งส่งเสริมการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเบา ด้วยเหตุนี้การปฏิรูปของเติ้งจึงได้เปลี่ยนกลยุทธ์การพัฒนาของจีนให้เน้นไปที่อุตสาหกรรมเบาและการส่งออกเป็นหลัก ผลผลิตอุตสาหกรรมเบาเป็นสิ่งจำเป็นยิ่งสำหรับประเทศกำลังพัฒนาที่มีฐานทุนต่ำ ด้วยระยะเวลาการลงทุนที่สั้น จำนวนเงินลงทุนเริ่มต้นที่ต่ำ และรายได้จากการส่งออกที่สูงในสกุลเงินต่างประเทศ รายได้ที่เกิดจากอุตสาหกรรมการผลิตเบาจึงสามารถนำกลับมาลงทุนซ้ำในกระบวนการผลิตที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากขึ้น รวมไปถึงการลงทุนในทรัพย์สินถาวรและการลงทุนอื่น ๆ[ต้องการอ้างอิง]

ทว่าการลงทุนเหล่านี้ไม่ได้เป็นการบังคับโดยรัฐบาล ซึ่งแตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากการปฏิรูปในทำนองเดียวกันแต่ประสบความสำเร็จน้อยกว่าอย่างมากในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และสาธารณรัฐประชาชนฮังการี ทุนที่ลงทุนในอุตสาหกรรมหนักส่วนใหญ่มาจากระบบธนาคาร และทุนส่วนใหญ่ดังกล่าวนั้นมาจากเงินฝากของผู้บริโภค หนึ่งในมาตรการปฏิรูปเบื้องต้นของเติ้งคือ การป้องกันการโอนย้ายผลกำไร ยกเว้นผ่านระบบภาษีอากรหรือระบบธนาคาร ดังนั้นการโอนย้ายผลกำไรในรัฐวิสาหกิจจึงเป็นไปโดยอ้อม ทำให้รัฐวิสาหกิจเหล่านี้มีความเป็นอิสระจากการแทรกแซงของรัฐบาลในระดับหนึ่ง โดยสรุป การปฏิรูปของเติ้งได้จุดชนวนให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศจีน[95]

การปฏิรูปเหล่านี้ถือเป็นการพลิกกลับนโยบายพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจของลัทธิเหมา ประเทศจีนได้ตัดสินใจเร่งกระบวนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยโดยเพิ่มปริมาณการค้าต่างประเทศอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะการนำเข้าเครื่องจักรจากประเทศญี่ปุ่นและประเทศตะวันตก ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1978 เติ้งได้เดินทางเยือนประเทศญี่ปุ่นเป็นครั้งแรกเพื่อแลกเปลี่ยนหนังสือรับรองการลงนาม "สนธิสัญญาสันติภาพและมิตรภาพระหว่างประเทศญี่ปุ่นและสาธารณรัฐประชาชนจีน" และได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากนายกรัฐมนตรีทาเกโอะ ฟูกูดะ และบุคคลสำคัญอื่น ๆ เติ้งเป็นเพียงรองนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาที่เขาพบปะกับเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่น แต่รัฐบาลญี่ปุ่นยอมรับเขาในฐานะผู้นำสูงสุดที่มีอำนาจอย่างแท้จริงของจีน เนื่องจากประวัติอันยาวนานในการเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์จีนของเขา เติ้งถือเป็นผู้นำจีนคนแรกที่ได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะแห่งญี่ปุ่น ข่าวจากสถานีโทรทัศน์ NHK ของญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1978 รายงานว่าเติ้งได้กล่าวด้วยถ้อยคำอันสุภาพว่า "เราได้พูดคุยกันถึงอดีตที่ผ่านมา แต่สิ่งที่ข้าพเจ้าประทับใจเป็นอย่างยิ่งคือ พระราชประสงค์ของพระองค์ในการสร้างอนาคตที่ดีกว่า" คำกล่าวของเติ้งชี้ให้เห็นถึงยุคใหม่แห่งการปฏิรูปการเมืองของจีนผ่านทางการทูตเศรษฐกิจระหว่างประเทศ[96]

สนธิสัญญาสันติภาพและมิตรภาพระหว่างญี่ปุ่นและสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นพันธสัญญาที่ยังคงมีผลบังคับใช้อยู่ระหว่างทั้งสองประเทศมาจนถึงปัจจุบัน มาตรา 1 ของสนธิสัญญาได้กำหนดหลักการแห่งการเคารพซึ่งกันและกันในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน การไม่รุกรานซึ่งกันและกัน และการไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน มาตรา 2 กำหนดหลักการต่อต้านการครอบงำ (หรืออาจใช้ว่า "ต่อต้านการผูกขาดอำนาจ") มาตรา 3 กล่าวถึงการพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมระหว่างทั้งสองประเทศให้ดียิ่งขึ้น และมาตรา 4 อธิบายถึงความสัมพันธ์ของสนธิสัญญานี้กับประเทศที่สาม แม้การเจรจาสันติภาพนี้จะใช้เวลานานถึง 6 ปีนับตั้งแต่การฟื้นความสัมพันธ์ทางการทูต เนื่องจากประเด็นข้อความ "ต่อต้านการครอบงำ" และ "ประเทศที่สาม" ถือเป็นประเด็นที่ขัดแย้งกันมากที่สุด แต่ข้อตกลงดังกล่าวยังคงมีอิทธิพลอย่างมากต่อความสัมพันธ์ระหว่างจีนและญี่ปุ่นในปัจจุบัน[97] ด้วยการเข้าร่วมในกระบวนการเติบโตที่ขับเคลื่อนด้วยการส่งออก ทำให้จีนสามารถเร่งรัดการปฏิรูปสี่ทันสมัยได้สำเร็จ โดยได้รับเม็ดเงินทุนจากต่างประเทศ ตลาดต่างประเทศ เทคโนโลยีขั้นสูง และประสบการณ์การบริหารจัดการที่ทันสมัย ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา เติ้งได้ดึงดูดบริษัทต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษหลายแห่ง ซึ่งส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศและการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ[98][99]

การปฏิรูปดังกล่าวมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน โดยได้มีการนำมาตรการจูงใจด้านวัตถุและระบบโบนัสรูปแบบใหม่มาใช้ ตลาดในชนบทที่จำหน่ายผลผลิตจากไร่นาของเกษตรกรและสินค้าส่วนเกินจากชุมชนก็กลับมาคึกคักอีกครั้ง ตลาดในชนบทไม่เพียงแต่ส่งเสริมให้ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ยังกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมอีกด้วย เมื่อเกษตรกรสามารถจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรส่วนเกินในตลาดเสรีได้ การบริโภคภายในประเทศจึงกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรม และยังก่อให้เกิดการสนับสนุนทางการเมืองต่อการปฏิรูปเศรษฐกิจที่ซับซ้อนขึ้น[ต้องการอ้างอิง]

มีข้อคล้ายคลึงบางประการระหว่างนโยบายสังคมนิยมตลาดของเติ้งโดยเฉพาะในช่วงเริ่มต้น กับนโยบายเศรษฐกิจใหม่ (NEP) ของวลาดิมีร์ เลนิน ตลอดจนนโยบายเศรษฐกิจของนีโคไล บุลกานิน ตรงที่ทั้งสองต่างมองเห็นบทบาทของผู้ประกอบการเอกชนและกลไกตลาดที่ขับเคลื่อนด้วยการค้าและกลไกราคามากกว่าการวางแผนจากส่วนกลาง ดังที่นักวิชาการ คริสโตเฟอร์ มาร์ควิส และเฉียว คุน-ยฺเหวีวน ได้สังเกตไว้ว่าเติ้งเคยอยู่ในสหภาพโซเวียตในช่วงที่เลนินนำนโยบายเศรษฐกิจใหม่มาใช้ จึงเป็นเรื่องสมเหตุสมผลที่จะอนุมานได้ว่านโยบายนั้นอาจมีอิทธิพลต่อมุมมองของเติ้งเกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่จะมีกลไกตลาดอยู่ภายในระบบสังคมนิยม[18]: 254  ในการพบปะครั้งแรกระหว่างเติ้งกับอาร์มานด์ แฮมเมอร์ เติ้งได้กดดันให้นักอุตสาหกรรมและนักลงทุนรายเก่าในสหภาพโซเวียตของเลนินให้ข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจใหม่โดยละเอียดที่สุดเท่าที่จะเป็นได้

การคืนฮ่องกงและมาเก๊า

[แก้]
แบบจำลองสถานการณ์การพบปะระหว่างเติ้ง เสี่ยวผิงกับนางมาร์กาเรต แทตเชอร์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ณ เมืองเชินเจิ้น ใน ค.ศ. 1984

ตั้งแต่ ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา เติ้งได้เป็นผู้นำในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และในแง่การเมือง เขารับหน้าที่เจรจาต่อรองกับสหราชอาณาจักรเพื่อขอคืนฮ่องกง โดยการพบปะหารือกับนางมาร์กาเรต แทตเชอร์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรในขณะนั้น นางแทตเชอร์เข้าร่วมการประชุมโดยหวังจะรักษาอำนาจการปกครองของอังกฤษเหนือเกาะฮ่องกงและเกาลูน ซึ่งเป็น 2 ใน 3 ของเขตปกครองของอาณานิคมแห่งนี้ แต่เติ้งได้ปฏิเสธข้อเสนอนี้อย่างเด็ดขาด[100] ผลจากการเจรจาเหล่าดังกล่าวคือปฏิญญาร่วมระหว่างจีนกับอังกฤษ ลงนามในวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1984 ปฏิญญาดังกล่าวระบุอย่างเป็นทางการว่าสหราชอาณาจักรจะต้องคืนอาณานิคมฮ่องกงทั้งหมดให้แก่จีนภายใน ค.ศ. 1997 รัฐบาลจีนได้ให้สัญญาว่าจะเคารพรักษาระบบเศรษฐกิจและเสรีภาพส่วนบุคคลของเขตปกครองพิเศษซึ่งเดิมเป็นอาณานิคมของอังกฤษเป็นระยะเวลา 50 ปีนับจากการส่งมอบอำนาจปกครอง[101][102]

ทฤษฎีหนึ่งประเทศ สองระบบของเติ้งถูกนำไปประยุกต์ใช้กับฮ่องกงและมาเก๊า และเติ้งยังมีความประสงค์ที่จะนำเสนอแนวคิดนี้ต่อประชาชนชาวไต้หวัน เพื่อเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับการผนวกดินแดนไต้หวันเข้ากับประเทศจีนในอนาคต ซึ่งปัจจุบันยังคงมีข้อพิพาทเกี่ยวกับอธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าว[103] ใน ค.ศ. 1982 เติ้งได้อธิบายถึงแนวคิด "หนึ่งประเทศ สองระบบ" เป็นครั้งแรก โดยมีไต้หวันเป็นตัวอย่างหลักในการนำเสนอแนวคิดนี้[104]: 231 

คำกล่าวของเติ้งในระหว่างการร่างกฎหมายมูลฐานแห่งฮ่องกง ค.ศ. 1987 ได้สะท้อนให้เห็นถึงมุมมองของเขาที่มีต่อหลักการดังกล่าวในบริบทของฮ่องกง[105]: 176  ในขณะนั้น เติ้งได้ประกาศว่ารัฐบาลกลางจะไม่แทรกแซงกิจการประจำวันของฮ่องกง แต่คาดการณ์ว่าบางครั้งฮ่องกงอาจเผชิญกับปัญหาบางประการที่กระทบต่อผลประโยชน์ของชาติ ซึ่งจำเป็นต้องให้รัฐบาลกลางเข้ามาเกี่ยวข้อง[105]: 178–179  เติ้งกล่าวว่า "หลังจากปี ค.ศ. 1997 เราจะยังคงอนุญาตให้ประชาชนในฮ่องกงวิจารณ์พรรคคอมมิวนิสต์จีนและประเทศจีนได้ในทางวาจา แต่ถ้าคำพูดเหล่านั้นถูกนำไปปฏิบัติ โดยพยายามเปลี่ยนฮ่องกงให้กลายเป็นฐานการต่อต้านจีนแผ่นดินใหญ่โดยอ้างถึง "ประชาธิปไตย" แล้ว กรณีเช่นนั้นก็ย่อมไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากการแทรกแซง"[106][107] ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1988 เติ้งได้กล่าวไว้ว่า "ระบบการเมืองของฮ่องกงในปัจจุบันไม่ได้เป็นแบบอังกฤษหรือแบบอเมริกัน และในอนาคตก็ไม่ควรนำระบบแบบตะวันตกมาใช้"[105]: 179 

การควบคุมประชากรและอาชญากรรม

[แก้]

การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของจีนนำมาซึ่งปัญหาหลายประการ การสำรวจสำมะโนประชากรใน ค.ศ. 1982 ได้เปิดเผยถึงการเติบโตของประชากรอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีจำนวนเกินกว่าหนึ่งพันล้านคนแล้ว เติ้งได้ดำเนินนโยบายจำกัดการมีบุตรซึ่งเป็นนโยบายที่ฮฺว่า กั๋วเฟิงริเริ่มขึ้น โดยกำหนดให้สตรีมีบุตรได้เพียงคนเดียว หากฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษทางปกครอง[108] นโยบายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในเขตเมือง และรวมถึงการบังคับให้ทำแท้ง[109]

ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1983 เติ้งได้ประกาศเริ่ม "การรณรงค์ปราบปรามอาชญากรรมอย่างเด็ดขาด" เพื่อแก้ไขปัญหาความปลอดภัยของประชาชนที่ย่ำแย่ลงภายหลังจากการปฏิวัติทางวัฒนธรรม[110][111][112] มีรายงานว่ารัฐบาลได้กำหนดเป้าหมายการประหารชีวิตไว้ที่ 5,000 รายภายในกลางเดือนพฤศจิกายน และแหล่งข่าวจากไต้หวันอ้างว่ามีผู้ถูกประหารชีวิตสูงถึง 60,000 รายในช่วงเวลาดังกล่าว[113] อย่างไรก็ตาม การประมาณการล่าสุดระบุว่ามีผู้ถูกตัดสินประหารชีวิต 24,000 ราย (ส่วนใหญ่ในช่วง "การปราบปราม" ครั้งแรกของการรณรงค์)[112][114] บุคคลจำนวนหนึ่งที่ถูกจับกุม (บางรายได้รับโทษประหารชีวิต) เป็นบุตรหรือญาติของเจ้าหน้าที่รัฐในระดับต่าง ๆ รวมถึงหลานชายของจู เต๋อ แสดงให้เห็นถึงหลักการที่ว่า "ทุกคนเท่าเทียมกันต่อหน้ากฎหมาย"[111][112][115] การรณรงค์ดังกล่าวส่งผลบวกต่อความปลอดภัยสาธารณะในทันที แต่ก็ก่อให้เกิดข้อถกเถียงเกี่ยวกับความรุนแรงเกินควรของบทลงโทษทางกฎหมายบางประการ และผลกระทบระยะยาวต่อความปลอดภัยสาธารณะ[115][116]

การเพิ่มขึ้นของเสรีภาพทางเศรษฐกิจกำลังถูกแปลความหมายไปสู่เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่กว้างขวางขึ้น และมีนักวิจารณ์เริ่มผุดขึ้นภายในระบบ รวมถึงเว่ย์ จิงเชิง นักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยชื่อดังผู้ซึ่งบัญญัติศัพท์ "การปฏิรูปที่ห้า" เพื่ออ้างถึงระบอบประชาธิปไตยซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ขาดหายไปในแผนการปฏิรูปของเติ้ง เสี่ยวผิง ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 ความไม่พอใจต่อระบอบอำนาจนิยมและความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นได้ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ครั้งใหญ่ที่สุดต่อความเป็นผู้นำของเติ้ง

ปราบปรามการประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน

[แก้]

การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ค.ศ. 1989 ซึ่งจุดสุดยอดคือเหตุการณ์การสังหารหมู่ในวันที่ 4 มิถุนายน เป็นการชุมนุมประท้วงที่เกิดขึ้นในและบริเวณใกล้กับจัตุรัสเทียนอันเหมินระหว่างวันที่ 15 เมษายน ถึง 5 มิถุนายน ค.ศ. 1989 อันเป็นปีที่รัฐบาลคอมมิวนิสต์หลายประเทศล่มสลาย

การประท้วงดังกล่าวจุดชนวนจากการถึงแก่อสัญกรรมของหู เย่าปัง เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิรูปที่ได้รับการสนับสนุนจากเติ้ง แต่ถูกขับออกจากตำแหน่งโดยกลุ่มแปดผู้เฒ่าและฝ่ายอนุรักษ์นิยมภายในคณะกรมการเมือง ประชาชนจำนวนมากไม่พอใจต่อการตอบสนองที่ล่าช้าของพรรค รวมถึงพิธีศพที่จัดขึ้นอย่างเรียบง่ายเกินไป ประชาชนได้เริ่มการไว้ทุกข์สาธารณะตามท้องถนนในกรุงปักกิ่งและในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในพื้นที่ใกล้เคียง ในกรุงปักกิ่ง เหตุการณ์นี้มีศูนย์กลางอยู่ที่อนุสาวรีย์วีชนในจัตุรัสเทียนอันเหมิน การไว้ทุกข์ดังกล่าวได้กลายเป็นช่องทางสาธารณะในการระบายความไม่พอใจต่อระบบอุปถัมภ์ที่รับรู้ได้ภายในรัฐบาล การปลดออกจากตำแหน่งอย่างไม่เป็นธรรม และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของหู รวมถึงบทบาทเบื้องหลังของกลุ่มผู้ทรงอำนาจรุ่นเก่า ในวันก่อนหน้าพิธีศพของหู จำนวนผู้เข้าร่วมการประท้วงในจัตุรัสเทียนอันเหมินก็ได้เพิ่มขึ้นเป็น 100,000 คน แม้การประท้วงขาดเอกภาพในการเรียกร้องหรือผู้นำ แต่ผู้เข้าร่วมประท้วงได้หยิบยกประเด็นการทุจริตภายในรัฐบาล บางส่วนได้เรียกร้องให้มีการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ[117] และการปฏิรูปประชาธิปไตยภายในโครงสร้างรัฐบาล[117] ขณะที่บางส่วนเรียกร้องให้มีรูปแบบสังคมนิยมที่เผด็จการน้อยลงและไม่รวบอำนาจมากนัก[118][119]

ระหว่างการประท้วง จ้าว จื่อหยาง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งเป็นพันธมิตรสนับสนุนนโยบายตลาดของเติ้ง ได้ให้การสนับสนุนผู้ประท้วงและแสดงท่าทีแยกตัวออกจากคณะกรมการเมือง กฎอัยการศึกถูกประกาศในวันที่ 20 พฤษภาคม โดยนายกรัฐมนตรีหลี่ เผิง ซึ่งเป็นนักการเมืองสายสังคมนิยมหัวรุนแรง แต่การรุกคืบของกองทัพในเมืองในช่วงแรกถูกขัดขวางโดยชาวเมือง การเคลื่อนไหวนี้กินเวลานานถึงเจ็ดสัปดาห์ วันที่ 3–4 มิถุนายน ทหารจำนวนกว่า 200,000 นายพร้อมด้วยรถถังและเฮลิคอปเตอร์ได้เข้ายึดเมืองเพื่อปราบปรามการประท้วงโดยใช้กำลัง ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนหลายร้อยถึงหลายพันคน ประชาชนจำนวนมากในกรุงปักกิ่งเชื่อว่าเติ้งเป็นผู้สั่งการ แต่บรรดานักวิเคราะห์การเมืองยังไม่สามารถระบุได้ว่าผู้ที่อยู่เบื้องหลังคำสั่งดังกล่าวเป็นใคร[120][ต้องการเลขหน้า] อย่างไรก็ตาม บุตรีของเติ้งได้ออกมาปกป้องการกระทำดังกล่าว โดยระบุว่าเป็นการตัดสินใจร่วมกันของผู้นำพรรค[121]

เพื่อขจัดกลุ่มบุคคลที่เห็นพ้องสนับสนุนผู้ประท้วงเหตุการณ์จัตุรัสเทียนอันเหมิน พรรคคอมมิวนิสต์ได้ริเริ่มโครงการระยะเวลาหนึ่งปีครึ่งซึ่งมีลักษณะคล้ายกับการขบวนการต่อต้านฝ่ายขวา กลุ่มผู้มีอาวุโส เช่น เติ้ง เฟย์ มีเป้าหมายที่จะ "ปราบปรามสมาชิกพรรคที่มีแนวโน้มเสรีนิยมแบบชนชั้นกลางอย่างเด็ดขาด" และมีการส่งเจ้าหน้าที่พรรคคอมมิวนิสต์จำนวนกว่า 30,000 นายไปปฏิบัติภารกิจดังกล่าว[122][ต้องการเลขหน้า]

จ้าวถูกควบคุมตัวไว้ในบ้านโดยกลุ่มหัวรุนแรง และเติ้งเองก็ถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขบางประการของกลุ่มดังกล่าว[120][ต้องการเลขหน้า] ไม่นานนัก เขาได้ประกาศว่า "โลกจักรวรรดินิยมตะวันตกทั้งหมดวางแผนที่จะบีบบังคับให้ประเทศสังคมนิยมทุกประเทศละทิ้งแนวทางสังคมนิยม และจากนั้นให้นำประเทศเหล่านั้นเข้าสู่การผูกขาดของทุนนิยมระหว่างประเทศ และเดินบนเส้นทางทุนนิยม" หลายเดือนต่อมาเขาได้กล่าวว่า "สหรัฐมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้ง" ในการเคลื่อนไหวของนักศึกษา โดยอ้างถึงบรรดานักข่าวต่างชาติที่ได้ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่นักศึกษาแกนนำ และต่อมาได้ช่วยเหลือนักศึกษาเหล่านั้นหลบหนีไปยังประเทศตะวันตกหลายประเทศ โดยส่วนใหญ่ไปยังสหรัฐผ่านฮ่องกงและไต้หวัน[120][ต้องการเลขหน้า]

แม้ว่าในเบื้องต้นเติ้งจะยอมผ่อนปรนให้แก่กลุ่มผู้สนับสนุนสังคมนิยมหัวรุนแรง แต่ไม่นานหลังจากการเดินทางเยือนภาคใต้ใน ค.ศ. 1992 เขาก็ได้กลับมาดำเนินการปฏิรูปอีกครั้ง หลังจากการเยือนครั้งนั้น เขาสามารถยุติการโจมตีการปฏิรูปของกลุ่มสังคมนิยมหัวรุนแรงผ่านการรณรงค์ "ตั้งชื่อว่าทุนนิยมหรือสังคมนิยม" ได้สำเร็จ[123][ต้องการเลขหน้า] เติ้งได้กล่าวเป็นการส่วนตัวกับพีเอร์ ทรูโด อดีตนายกรัฐมนตรีแคนาดา ว่ากลุ่มต่าง ๆ ภายในพรรคคอมมิวนิสต์นั้นสามารถยึดหน่วยทหารได้ และประเทศก็เสี่ยงจะเกิดสงครามกลางเมือง[122][ต้องการเลขหน้า] สองปีต่อมา เติ้งได้สนับสนุนให้จู หรงจี้ นายกเทศมนตรีเซี่ยงไฮ้ขึ้นดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี จูได้ปฏิเสธที่จะประกาศกฎอัยการศึกในเซี่ยงไฮ้ในระหว่างการประท้วง แม้ว่ากลุ่มผู้สนับสนุนสังคมนิยมหัวรุนแรงจะกดดันเขาแล้วก็ตาม[120][ต้องการเลขหน้า]

การเกษียณและเยือนภาคใต้

[แก้]
เรือตรวจการณ์ที่ใช้ในการเยือนภาคใต้ของเติ้ง เสี่ยวผิง

เติ้งตัดสินใจเกษียณอายุจากตำแหน่งสูงสุดอย่างเป็นทางการ เมื่อเขาได้ลาออกจากตำแหน่งประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1989 และเจียง เจ๋อหมิน ผู้สืบทอดตำแหน่งของเขาก็ได้เข้ารับตำแหน่งแทนและเป็นผู้นำสูงสุดของประเทศ[124][125] อย่างไรก็ตาม จีนยังคงอยู่ในยุคสมัยของเติ้ง เสี่ยวผิง เขายังคงได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำทางพฤตินัยของประเทศ ถึงแม้จะไม่มีตำแหน่งทางการใด ๆ นอกเหนือจากประธานสมาคมไพ่บริดจ์แห่งประเทศจีน และเชื่อกันว่าเขามีอำนาจควบคุมอยู่เบื้องหลัง[126] ทั้งนี้เขาได้แต่งตั้งหู จิ่นเทาให้เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งของเจียงในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรรคครั้งที่ 14 ใน ค.ศ. 1992 เติ้งได้รับการยกย่องอย่างเป็นทางการว่าเป็น "สถาปนิกผู้นำการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคมนิยมสมัยใหม่ของจีน" สำหรับพรรค เชื่อกันว่าเขาเป็นแบบอย่างที่ดีแก่แกนนำพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปฏิเสธที่จะเกษียณอายุเมื่อถึงวัย เขาได้ทำลายธรรมเนียมปฏิบัติเดิมที่ยึดถือการดำรงตำแหน่งตลอดชีวิต เขามักถูกเรียกขานสั้น ๆ ว่า "สหายเสี่ยวผิง" โดยปราศจากตำแหน่งใด ๆ ต่อท้าย

การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ค.ศ. 1989 ส่งผลให้อำนาจของเติ้งอ่อนแอลงอย่างมีนัยสำคัญ และภายในพรรคก็ได้เกิดกลุ่มอนุรักษ์นิยมขึ้นมาต่อต้านการปฏิรูปของเติ้งอย่างแข็งขัน เพื่อย้ำนโยบายทางเศรษฐกิจของตนอีกครั้ง ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1992 เติ้งได้เดินทางเยือนภาคใต้ของจีน โดยได้เยือนเมืองกว่างโจว เชินเจิ้น จูไห่ และใช้เวลาช่วงเทศกาลตรุษจีนที่เซี่ยงไฮ้ การเดินทางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเน้นย้ำนโยบายเศรษฐกิจของตนหลังจากเกษียณอายุไปแล้ว[127][128] เขากล่าวว่า "คนบางกลุ่มได้ให้ร้ายต่อระบบสังคมนิยมของเราว่าเป็นระบบของราชวงศ์ฉิน ซึ่งเป็นการกล่าวหาที่น่ารำคาญยิ่งนัก! ระบบของเราไม่ได้เป็นเผด็จการ แต่เป็นประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์ ในช่วงที่ประธานเหมาเป็นผู้นำก็ไม่ได้เป็นแบบราชวงศ์ฉิน แต่เป็นประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์เช่นกัน หากจะเปรียบเทียบแล้ว ระบบของเรานั้นน่าจะใกล้เคียงกับระบบของฝรั่งเศสมากกว่า"[129] การเยือนภาคใต้ใน ค.ศ. 1992 ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญยิ่งในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของจีน เพราะได้ช่วยรักษาการปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนไว้ และยังคงไว้ซึ่งความมั่นคงของสังคม[130][131][132][133][134] สุขภาพของเติ้งเสื่อมลงอย่างรวดเร็วหลังปี ค.ศ. 1994 ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1995 บุตรีของเติ้งได้ให้เปิดเผยแก่สื่อมวลชนว่า "เมื่อปีที่แล้ว ท่านสามารถเดินได้นาน 30 นาทีวันละ 2 ครั้ง แต่ปัจจุบันไม่สามารถเดินได้แล้ว ... ท่านต้องอาศัยคนช่วยพยุงสองคน"[135] ยังมีรายงานอีกว่าในปีเดียวกัน ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคพาร์คินสันถูกส่งตัวไปยังปักกิ่งเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่เขา[136]

อสัญกรรม

[แก้]

เติ้งถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 เวลา 21.08 น. ตามเวลาปักกิ่ง สิริอายุ 92 ปี จากการติดเชื้อในปอดและโรคพาร์คินสัน[137][138] ประชาชนส่วนใหญ่มีความพร้อมรับกับการอสัญกรรมของเขา เนื่องจากมีข่าวลือว่าสุขภาพของเขากำลังย่ำแย่ลง เวลา 10:00 น. ของวันที่ 24 กุมภาพันธ์ นายกรัฐมนตรีหลี่ เผิง ได้ขอให้ประชาชนร่วมกันยืนสงบนิ่งเพื่อแสดงความอาลัยเป็นเวลา 3 นาที ธงชาติของประเทศถูกลดครึ่งเสาเป็นเวลาเกือบหนึ่งสัปดาห์ พิธีศพซึ่งถ่ายทอดสดไปทั่วประเทศ เป็นพิธีที่เรียบง่ายและค่อนข้างเป็นส่วนตัว มีเพียงผู้นำระดับสูงของประเทศและครอบครัวของเติ้งเท่านั้นที่เข้าร่วม และได้มีการถ่ายทอดสดผ่านช่องสัญญาณเคเบิลทุกช่อง ภายหลังพิธีศพ อวัยวะของเขาได้ถูกบริจาคเพื่อการวิจัยทางการแพทย์ ส่วนร่างกายที่เหลือได้ถูกนำไปฌาปนกิจ ณ สุสานปฏิวัติปาเป่าชาน และอัฐิของเขาได้ถูกโปรยลงสู่ทะเลตามความประสงค์สุดท้าย ตลอดสองสัปดาห์ถัดมา สื่อของรัฐบาลจีนได้เผยแพร่ข่าวและสารคดีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและการอสัญกรรมของเติ้ง โดยรายการข่าวแห่งชาติเวลา 19:00 น. ซึ่งเป็นรายการข่าวภาคค่ำประจำวัน ได้ขยายเวลาออกอากาศไปเกือบสองชั่วโมงจากเวลาออกอากาศปกติ[ต้องการอ้างอิง]

เจียง เจ๋อหมิน ผู้สืบทอดตำแหน่งของเติ้งยังคงดำเนินนโยบายตามแนวทางปรัชญาทางการเมืองและเศรษฐกิจของเติ้ง เติ้งได้รับการยกย่องว่าเป็น "มาร์กซิสต์ผู้ยิ่งใหญ่ นักปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพผู้ยิ่งใหญ่ รัฐบุรุษ นักยุทธศาสตร์การทหาร และนักการทูต หนึ่งในผู้นำหลักของพรรคคอมมิวนิสต์จีน กองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน และสาธารณรัฐประชาชนจีน สถาปนิกผู้ยิ่งใหญ่แห่งการเปิดประเทศแบบสังคมนิยมและการปฏิรูปประเทศจีนให้ทันสมัย และผู้ริเริ่มทฤษฎีเติ้ง เสี่ยวผิง"[139] อย่างไรก็ตาม กลุ่มบุคคลบางกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มลัทธิเหมาสมัยใหม่และนักปฏิรูปหัวรุนแรง (ทั้งฝ่ายซ้ายจัดและขวาจัด) นั้นมีมุมมองต่อเขาในแง่ลบ ปีต่อมา บทเพลงอย่าง "ชุนเทียนเตอะกู้ชื่อ" (นิทานฤดูใบไม้ผลิ) ที่ขับร้องโดยต่ง เหวิน-หฺวา ซึ่งประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เติ้งหลังจากการเดินทางเยือนภาคใต้ของเขาใน ค.ศ. 1992 ก็กลับมาได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายอีกครั้ง[ต้องการอ้างอิง]

การถึงแก่อสัญกรรมของเติ้งได้ก่อให้เกิดปฏิกิริยาในระดับนานาชาติ โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวว่า "เติ้งควรได้รับการจดจำในประชาคมโลกว่าเป็นสถาปนิกในการปฏิรูปและพัฒนาเศรษฐกิจของจีนให้ก้าวกระโดด" ประธานาธิบดีฌัก ชีรัก แห่งฝรั่งเศส กล่าวว่า "ในศตวรรษนี้มีชายเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่สามารถนำชุมชนมนุษย์ขนาดใหญ่ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่ลึกซึ้งและกำหนดชะตาชีวิตได้มากเท่ากับเติ้ง" นายกรัฐมนตรีจอห์น เมเจอร์ แห่งสหราชอาณาจักร ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับบทบาทสำคัญของเติ้งในการส่งมอบฮ่องกงกลับคืนสู่การปกครองของจีน นายกรัฐมนตรีฌ็อง เครเตียง แห่งแคนาดา เรียกเติ้งว่าเป็น "บุคคลสำคัญ" ในประวัติศาสตร์จีน ประธานพรรคก๊กมินตั๋งแห่งไต้หวันได้ส่งคำแสดงความเสียใจพร้อมระบุว่าปรารถนาที่จะเห็นสันติภาพ ความร่วมมือ และความเจริญรุ่งเรือง องค์ทะไลลามะได้แสดงความเสียใจที่เติ้งอสัญกรรมไปโดยไม่ได้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับทิเบต[140]

มรดก

[แก้]
รูปปั้นเติ้ง เสี่ยวผิงในเชินเจิ้น

วิสัยทัศน์ของเติ้งที่ว่า "การพัฒนาเป็นหลักการสำคัญยิ่ง" ยังคงเป็นแนวทางในการบริหารประเทศของจีนต่อไป[141]: 49  ในการประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 4 ของคณะกรรมาธิการกลางพรรคชุดที่ 13 เจียง เจ๋อหมินและคณะผู้นำรุ่นที่สามได้ประกาศว่า "การพัฒนาเป็นเป้าหมายสูงสุดของพรรคในการบริหารประเทศและฟื้นฟูชาติ"[141]: 49  ในทำนองเดียวกัน การที่เติ้งให้ความสำคัญสูงสุดกับการพัฒนานั้นได้มีอิทธิพลต่อมุมมองทางวิทยาศาสตร์ต่อการพัฒนาของหู จิ่นเทา และฝันจีนของสี จิ้นผิง ซึ่งเน้นย้ำให้การพัฒนาเป็นภารกิจหลักของประเทศจีน[141]: 49 

อนุสรณ์

[แก้]

อนุสรณ์สถานที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เติ้งมักมีรูปแบบเรียบง่ายและไม่โดดเด่นเมื่อเทียบกับผู้นำคนอื่น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับภาพลักษณ์ความเรียบง่ายและเน้นการปฏิบัติจริงของเติ้ง แทนที่จะถูกเก็บรักษาศพไว้ในโลงแก้วเช่นเดียวกับเหมา เขาได้เลือกที่จะฌาปนกิจ และให้โปรยอัฐิลงสู่ทะเล อย่างไรก็ตาม ยังคงมีการจัดแสดงสิ่งของส่วนตัวของเขาเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่สาธารณชน ในวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 ได้มีพิธีเปิดอนุสาวรีย์สำริด ณ ลานสวนสาธารณะเหลียนฮฺวาชานในเชินเจิ้น เพื่อเป็นเกียรติแก่บทบาทของเติ้งในฐานะผู้ออกแบบและผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษเชินเจิ้น อนุสาวรีย์มีความสูง 6 เมตร (20 ฟุต) พร้อมฐานสูงอีก 3.68 เมตร แสดงให้เห็นถึงเติ้งที่กำลังก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างมั่นใจ ผู้นำระดับสูงของพรรคคอมมิวนิสต์จีนจำนวนมากได้เดินทางมาเยือนอนุสาวรีย์แห่งนี้ นอกจากนี้ ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลและบนเกาะไหหลำ เติ้งยังปรากฏตัวอยู่บนป้ายโฆษณาริมทางพร้อมด้วยข้อความที่เน้นย้ำถึงการปฏิรูปเศรษฐกิจหรือนโยบายหนึ่งประเทศ สองระบบของเขา.

วันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 2004 ได้มีการจัดพิธีเปิดอนุสาวรีย์สำริดเพื่อฉลองครบรอบ 100 ปีชาตกาลของเติ้ง ณ เมืองกว่างอาน ซึ่งเป็นบ้านเกิดของเติ้งในมณฑลเสฉวน ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน แสดงให้เห็นถึงเติ้งที่แต่งกายแบบสบายกำลังนั่งอยู่บนเก้าอี้และมีสีหน้ายิ้มแย้ม อักษรจีนที่จารึกไว้บนฐานนั้น เป็นลายมือของเจียง เจ๋อหมิน เลขาธิการคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน และประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลางในขณะนั้น[142]

บ้านเกิดของเติ้ง เสี่ยวผิงในหมู่บ้านไผฝาง มณฑลเสฉวน ได้รับการอนุรักษ์ไว้ในเป็นพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ใน

กรุงบิชเคก เมืองหลวงของประเทศคีร์กีซสถาน มีถนนขนาดสี่ช่องจราจรกว้าง 25 เมตร (82 ฟุต) ยาว 3.5 กิโลเมตร (2 ไมล์) ชื่อว่าถนนเติ้ง เสี่ยวผิง ซึ่งได้เปิดใช้งานในวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1997 อนุสาวรีย์หินแกรนิตสีแดงสูง 2 เมตรตั้งอยู่ทางปลายด้านตะวันออกของถนนสายนี้ คำจารึกเขียนเป็นภาษาจีน รัสเซีย และคีร์กีซ[143][144]

ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง "เติ้ง เสี่ยวผิง" ซึ่งสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน (CCTV) ได้เผยแพร่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1997 นั้นได้นำเสนอประวัติชีวิตของเติ้งตั้งแต่สมัยที่เป็นนักศึกษาในประเทศฝรั่งเศสจนถึงการเดินทางเยือนภาคใต้ใน ค.ศ. 1992[145] ใน ค.ศ. 2014 CCTV ได้เผยแพร่ละครโทรทัศน์เรื่อง "เติ้ง เสี่ยวผิง บนจุดเปลี่ยนของประวัติศาสตร์" (Deng Xiaoping at History's Crossroads) เพื่อเป็นการเตรียมฉลองครบรอบ 110 ปีชาตกาลของเขา

การประเมิน

[แก้]

เติ้งได้รับการขนานนามว่าเป็น "สถาปนิกแห่งประเทศจีนยุคปัจจุบัน"[124][125][146][147] และได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในศตวรรษที่ 20[148] เขาได้รับเลือกให้เป็นบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ใน ค.ศ. 1978 และ 1985 นับเป็นผู้นำจีนคนที่สาม (รองจากเจียง ไคเชก และนางซ่ง เหม่ย์หลิง ภริยา) และเป็นผู้นำคอมมิวนิสต์คนที่สี่ (รองจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้รับเลือกสองครั้ง และนีกีตา ครุชชอฟ) ที่ได้รับเกียรตินี้[149]

เติ้งเป็นที่จดจำอย่างมากจากการปฏิรูปเศรษฐกิจที่เขาได้ริเริ่มในขณะที่เป็นผู้นำสูงสุดของจีน ซึ่งผลักดันจีนให้ไปสู่เศรษฐกิจตลาด ส่งผลเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชากรหลายร้อยล้านคน[150] ขยายเสรีภาพส่วนบุคคลและวัฒนธรรม และบูรณาการประเทศเข้ากับเศรษฐกิจโลกอย่างมีนัยสำคัญ[151][152][153] ภายใต้การนำของเขา ประชากรจำนวนมากได้หลุดพ้นจากสภาวะความยากจนมากกว่าช่วงเวลาใด ๆ ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปที่เขาได้ริเริ่มเป็นส่วนใหญ่[148] จากเหตุผลดังกล่าว จึงมีผู้เสนอแนะว่าเติ้งสมควรได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ[154][155][156] เติ้งยังได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ลดทอนการบูชาเหมาอย่างสุดโต่ง และเป็นผู้ยุติยุคแห่งความวุ่นวายของการปฏิวัติทางวัฒนธรรม[157] ยิ่งไปกว่านั้น การใช้อำนาจอย่างเด็ดขาดของเขายังได้รับการยกย่องว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้จีนยังคงเป็นปึกแผ่น ต่างจากมหาอำนาจคอมมิวนิสต์อีกแห่งหนึ่งในยุคนั้นอย่างสหภาพโซเวียตที่ล่มสลายลงใน ค.ศ. 1991[158]

อย่างไรก็ตาม เติ้งยังเป็นที่จดจำในด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเหตุความรุนแรงทางการเมืองจำนวนมาก[152][159] ในฐานะผู้นำสูงสุด เขามีส่วนเกี่ยวข้องในการสั่งการปราบปรามประชาชนที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน และภายหลังเหตุการณ์ดังกล่าว เขาก็มีอิทธิพลอย่างสูงในการปกปิดเหตุการณ์นี้ภายประเทศของพรรคคอมมิวนิสต์จีน[160][161][162] ยิ่งไปกว่านั้น เขายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกวาดล้างที่โหดร้ายที่สุดในช่วงที่เหมาครองอำนาจ ตัวอย่างเช่น เขาสั่งการให้กองทัพปราบปรามหมู่บ้านมุสลิมในมณฑลยูนนาน ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตถึง 1,600 คน รวมถึงเด็กอีก 300 คน[157]

ในฐานะผู้นำสูงสุด เติ้งยังได้เจรจาเพื่อยุติการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษเหนือฮ่องกง และสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตให้เป็นปกติกับสหรัฐและสหภาพโซเวียต[159][163] ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 เขาได้ริเริ่มการปฏิรูปทางการเมืองจีนโดยการกำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ และเสนอการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับที่สามของจีนที่ร่างขึ้นในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเป็นระบบ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ได้นำหลักการของลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในแบบฉบับของจีนมาใช้ และได้รับการอนุมัติจากสภาประชาชนแห่งชาติในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1982 โดยเนื้อหาส่วนใหญ่ยังคงมีผลบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน[164][165][166][167] เขามีส่วนสำคัญในการจัดระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปีของจีน[168][169] และฟื้นฟูการปฏิรูปทางการเมืองของจีน[170]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Faison, Seth (20 February 1997). "Deng Xiaoping is Dead at 92; Architect of Modern China". The New York Times. ISSN 0362-4331. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2017. สืบค้นเมื่อ 19 April 2021.
  2. "Deng Xiaoping: Architect of modern China". China Daily. 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-06-23.
  3. Vogel 2011.
  4. "The Anti-Rightist Campaign of 1957" (PDF). May 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 May 2019.
  5. Denmark, Abraham. "40 years ago, Deng Xiaoping changed China — and the world". The Washington Post. ISSN 0190-8286. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 May 2019. สืบค้นเมื่อ 19 April 2021.
  6. "Man of the Year: Teng Hsiao-p'ing: Visions of a New China". Time. 1 January 1979. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 April 2021. สืบค้นเมื่อ 19 April 2021.
  7. "Man of the Year: Deng Xiaoping". Time. 6 January 1986. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 December 2019. สืบค้นเมื่อ 19 April 2021.
  8. Wu, Wei (4 June 2015). "Why China's Political Reforms Failed". The Diplomat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 April 2023. สืบค้นเมื่อ 3 May 2020.
  9. Denmark, Abraham. "40 years ago, Deng Xiaoping changed China — and the world". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 May 2019. สืบค้นเมื่อ 19 April 2021.
  10. "The arrival of the Hakkas in Sichuan Province". Asiawind.com. 29 December 1997. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 November 2010. สืบค้นเมื่อ 13 March 2010.
  11. "Luodai, a Hakkanese town in Sichuan Province". GOV.cn. 14 January 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2018. สืบค้นเมื่อ 14 May 2010.
  12. Yingcong Dai (2009). The Sichuan Frontier and Tibet: Imperial Strategy in the Early Qing. University of Washington Press. pp. 25–. ISBN 978-0-295-98952-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 November 2016. สืบค้นเมื่อ 20 July 2016.
  13. Yang 1997, pp. 11–12.
  14. "Deng Xiaoping – Childhood". China.org.cn. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2018. สืบค้นเมื่อ 14 May 2010.
  15. "Deng Xiaoping quits smoking". UPI. 1 Apr 1991. สืบค้นเมื่อ 23 Oct 2023.
  16. Evans, Richard (1995). Deng Xiaoping and the Making of Modern China (2 ed.). Penguin. p. 5. ISBN 978-0-14-013945-7.
  17. Xia, Zhengnong (2003). 大辭海. Vol. 哲學卷. Shanghai: Shanghai Dictionary Publishing House. p. 38. ISBN 9787532612369.
  18. 18.0 18.1 Marquis, Christopher; Qiao, Kunyuan (2022). Mao and Markets: The Communist Roots of Chinese Enterprise. New Haven: Yale University Press. doi:10.2307/j.ctv3006z6k. ISBN 978-0-300-26883-6. JSTOR j.ctv3006z6k. OCLC 1348572572. S2CID 253067190.
  19. Spence, Jonathan (1999), "In Search of Modern China", 310
  20. Vogel (2011), p. 18–20.
  21. Stewart, Whitney (2001). Deng Xiaoping: Leader in a Changing China. Twenty-First Century Books. p. 23. ISBN 9780822549628.
  22. Mair, Victor H. (2013). Chinese Lives: The people who made a civilization. London: Thames & Hudson. p. 215. ISBN 9780500251928.
  23. [1] เก็บถาวร 27 พฤศจิกายน 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Wang Song. "Chinese Revolutionaries in France".
  24. Bailey, Paul (1988). "The Chinese Work-Study Movement in France". The China Quarterly. 115 (115): 441–461. doi:10.1017/S030574100002751X. JSTOR 654865. S2CID 154375449. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 April 2021. สืบค้นเมื่อ 19 February 2021.
  25. Pantsov (2015), p. 450.
  26. "Exiled son who saved the state". Times Higher Education. 22 March 2002. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2012. สืบค้นเมื่อ 2 December 2010.
  27. Gao 2008
  28. 28.0 28.1 Yang 1997, pp. 66–67.
  29. Franz 1988, pp. 86–87.
  30. Goodman 1994, p. 34.
  31. 31.0 31.1 Franz 1988, p. 87.
  32. Deng 1968.
  33. Yang 1997, p. 70.
  34. "豫西革命纪念馆和鲁山邓小平旧居扩建工程竣工". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2022. สืบค้นเมื่อ 11 July 2022.
  35. "西关大街,从历史中走来". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2022. สืบค้นเมื่อ 11 July 2022.
  36. Cheng Li (2001). China's leaders. Rowman & Littlefield. p. 131. ISBN 9780847694976. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  37. 37.0 37.1 37.2 37.3 37.4 GREGOR BENTON. "Assessing Deng Xiaoping". jacobinmag.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 January 2019. สืบค้นเมื่อ 28 January 2019.
  38. DeMare, Brian James (2019). Land wars : the story of China's agrarian revolution. Stanford, California: Stanford University Press. pp. 117. ISBN 978-1-5036-0849-8. OCLC 1048940018.
  39. DeMare, Brian James (2019). Land wars : the story of China's agrarian revolution. Stanford, California: Stanford University Press. pp. 118. ISBN 978-1-5036-0849-8. OCLC 1048940018.
  40. 40.0 40.1 "The Man Who Re-Invented China". origins.osu.edu. 17 September 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  41. Jacques Guillermaz, The Chinese Communist Party in Power, 1949–1976 (1976) pp. 320–331.
  42. Henry He (2016). Dictionary of the Political Thought of the People's Republic of China. Taylor & Francis. p. 713. ISBN 9781315500430. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2019.
  43. 43.0 43.1 43.2 43.3 43.4 Meyskens, Covell F. (2020). Mao's Third Front: The Militarization of Cold War China. Cambridge, United Kingdom: Cambridge University Press. doi:10.1017/9781108784788. ISBN 978-1-108-78478-8. OCLC 1145096137. S2CID 218936313.
  44. 44.0 44.1 Minqi Li (December 2008). "Socialism, capitalism, and class struggle: The Political economy of Modern china". Economic & Political Weekly.
  45. Shambaugh, David (1993). "Deng Xiaoping: The Politician". The China Quarterly. 135 (135): 457–490. doi:10.1017/S0305741000013874. ISSN 0305-7410. JSTOR 654098. S2CID 154440131. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 February 2023. สืบค้นเมื่อ 23 February 2023.
  46. "Film makers flock to tractor factory to shoot Deng's stories". News Guandong. 26 July 2004. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2018. สืบค้นเมื่อ 18 February 2011.
  47. 47.0 47.1 Yan, Jiaqi (1996). Kwok, Daniel W. Y. (บ.ก.). Turbulent decade : a history of the cultural revolution. Honolulu: University of Hawaii Press. doi:10.1515/9780824865313. ISBN 9780824865313. สืบค้นเมื่อ 23 February 2023.
  48. Wood, Michael (3 September 2020). The Story of China: A portrait of a civilisation and its people. Simon & Schuster UK. p. 341. ISBN 978-1-4711-7600-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 November 2021. สืบค้นเมื่อ 18 November 2021. In 1973, Premier Zhou Enlai had brought Deng back to Beijing from exile to focus on reconstructing the Chinese economy.
  49. Dillon, Michael (27 October 2014). Deng Xiaoping: The Man who Made Modern China. Bloomsbury Publishing. p. 201. ISBN 978-0-85772-467-0. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 November 2021. สืบค้นเมื่อ 18 November 2021. A major confrontation erupted on 4 October 1974 when Mao agreed, on the advice of Zhou Enlai, that Deng should be appointed first deputy premier of the State Council.
  50. 50.0 50.1 50.2 Minami, Kazushi (2024). People's Diplomacy: How Americans and Chinese Transformed US-China Relations during the Cold War. Ithaca, NY: Cornell University Press. ISBN 9781501774157.
  51. "Deng Rong's Memoirs: Chpt 49". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 December 2008.
  52. Pantsov, Alexander; Levine, Steven I. (2015). Deng Xiaoping: A Revolutionary Life. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-939203-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2020. สืบค้นเมื่อ 20 May 2021.
  53. "Deng Rong's Memoirs: Chapter 53". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 December 2008.
  54. 1975–1976 and 1977–1980, Europa Publications (2002) "The People's Republic of Chine: Introductory Survey" The Europa World Year Book 2003 volume 1, (44th edition) Europa Publications, London, p. 1075, col. 1, ISBN 1-85743-227-4; and Bo, Zhiyue (2007) China's Elite Politics: Political Transition and Power Balancing World Scientific, Hackensack, New Jersey, p. 59, ISBN 981-270-041-2
  55. "1977: Deng Xiaoping back in power". BBC News. 22 July 1977. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2017. สืบค้นเมื่อ 21 July 2011.
  56. "百年老胡同米粮库中的那些名人"住客"". visitbeijing.com. Beijing Tourism Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 April 2023. สืบค้นเมื่อ 30 April 2023.
  57. ""家庭园艺师"邓小平". people.com. People's Daily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 August 2024. สืบค้นเมื่อ 30 August 2024.
  58. 58.0 58.1 Ang, Yuen Yuen (2016). How China Escaped the Poverty Trap. Cornell University Press. ISBN 978-1-5017-0020-0. JSTOR 10.7591/j.ctt1zgwm1j.
  59. Xiang, Lanxin (20 April 2012). "Bo Xilai probe shows up China's outdated system of government". South China Morning Post
  60. "1989年6月1日 吴林泉、彭飞:胡耀邦同志领导平反"六十一人案"追记-胡耀邦史料信息网". www.hybsl.cn (ภาษาจีน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 January 2021. สืบค้นเมื่อ 29 April 2020.
  61. 61.0 61.1 61.2 61.3 61.4 Zhao, Suisheng (2023). The dragon roars back : transformational leaders and dynamics of Chinese foreign policy. Stanford, California: Stanford University Press. p. 9. ISBN 978-1-5036-3415-2. OCLC 1332788951.
  62. 62.0 62.1 Zhao, Suisheng (2023). The dragon roars back : transformational leaders and dynamics of Chinese foreign policy. Stanford, California: Stanford University Press. pp. 175–176. ISBN 978-1-5036-3088-8. OCLC 1331741429. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 March 2023. สืบค้นเมื่อ 8 January 2023.
  63. "MFA, Singapore Press Release". App.mfa.gov.sg. 29 December 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 March 2012. สืบค้นเมื่อ 27 November 2011.
  64. Lee Kuan Yew, From Third World to First: The Singapore Story, 1965–2000, Volume 2, (HarperCollins: 2000), pp. 595–603
  65. "United States announces that it will recognize communist China | December 15, 1978 | HISTORY". HISTORY. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 December 2023. สืบค้นเมื่อ 15 January 2024.
  66. 66.0 66.1 Zhao, Suisheng (2023). The Dragon Roars Back Transformational Leaders and Dynamics of Chinese Foreign Policy. Stanford: Stanford University Press. p. 56. ISBN 978-1-5036-3415-2. OCLC 1346366969.
  67. 67.0 67.1 Zhao, Suisheng (2023). The dragon roars back : transformational leaders and dynamics of Chinese foreign policy. Stanford, California: Stanford University Press. pp. 9–10. ISBN 978-1-5036-3415-2. OCLC 1332788951.
  68. (Article 2) "The Contracting Parties declare that neither of them should seek hegemony in the Asia-Pacific region or in any other region and that each is opposed to efforts by any other country or group of countries to establish such hegemony." MOFA: Treaty of Peace and Friendship between Japan and the People's Republic of China เก็บถาวร 9 มิถุนายน 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  69. Perkins, D in Barnett, A Doak and Ralph N Clough, Modernizing China : Post-Mao Reform and Development (Westgview Press, 1986), p 58.
  70. Michael E. Marti in China and the Legacy of Deng Xiaoping, (Brassy's, 2002) p. 19.
  71. Parks, Michael (15 May 1989). "Gorbachev in China: The Communist Summit: Deng and Gorbachev: Great Reformers Battling Socialist Crises". Los Angeles Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 July 2020. สืบค้นเมื่อ 8 March 2020.
  72. Zhao, Suisheng (2023). The dragon roars back : transformational leaders and dynamics of Chinese foreign policy. Stanford, California: Stanford University Press. p. 62. ISBN 978-1-5036-3415-2. OCLC 1332788951.
  73. 73.0 73.1 73.2 73.3 Zhao, Suisheng (2022). The Dragon Roars Back: Transformational Leaders and Dynamics of Chinese Foreign Policy. Stanford University Press. p. 51. doi:10.1515/9781503634152. ISBN 978-1-5036-3415-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 April 2023. สืบค้นเมื่อ 1 January 2023.
  74. Chinese Foreign Policy Under Xi. Taylor & Francis. 2017. p. 115.
  75. Comparative Development of India & China Economic, Technological, Sectoral & Socio-cultural Insights. SAGE Publications. 2020. p. 372.
  76. Zhao, Suisheng (2023). The dragon roars back : transformational leaders and dynamics of Chinese foreign policy. Stanford, California: Stanford University Press. p. 136. ISBN 978-1-5036-3088-8. OCLC 1331741429. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 March 2023. สืบค้นเมื่อ 8 January 2023.
  77. Heilmann, Sebastian (2018). Red Swan: How Unorthodox Policy-Making Facilitated China's Rise. The Chinese University of Hong Kong Press. ISBN 978-962-996-827-4.
  78. John Naisbitt; Doris Naisbitt (2010). China's Megatrends: The 8 Pillars of a New Society. HarperBusiness. p. 4. ISBN 9780061963445.
  79. Mason, David (1984). "China's Four Modernizations: Blueprint for Development or Prelude to Turmoil?". Asian Affairs. 11 (3): 47–70. doi:10.1080/00927678.1984.10553699.
  80. Zhang, Xiaoming (2010). "Deng Xiaoping and China's Decision to go to War with Vietnam". Journal of Cold War Studies. 12 (3): 3–29. doi:10.1162/JCWS_a_00001. S2CID 57559703.
  81. Vogel (2011), p. 526–535.
  82. "Troop Cut to Save Money, Deng Says". Los Angeles Times. 6 May 1985. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2020. สืบค้นเมื่อ 20 June 2020.
  83. Vogel (2011), p. 535–552.
  84. Dreyer, June Teufel (1988). "Deng Xiaoping and Modernization of the Chinese Military". Armed Forces & Society. 14 (2): 215–231. doi:10.1177/0095327X8801400203. S2CID 144391672.
  85. Paulson, Henry M. (2015). Dealing with China : an insider unmasks the new economic superpower (First ed.). New York. p. 21. ISBN 9781455504213.
  86. "The Three-Step Development Strategy". china.org.cn. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2018. สืบค้นเมื่อ 28 November 2010.
  87. "Deng Xiaoping Is Dead at 92; Architect of Modern China". The New York Times. 20 February 1997. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2017. สืบค้นเมื่อ 15 February 2017.
  88. "万方数据知识服务平台". d.wanfangdata.com.cn. doi:10.3969/j.issn.1004-1494.2011.05.008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2021. สืบค้นเมื่อ 28 October 2020.
  89. 89.0 89.1 Boer, Roland (2021-10-01). "From Belgrade to Beijing : Comparing Socialist Economic Reforms in Eastern Europe and China". World Review of Political Economy. 12: 309. doi:10.13169/worlrevipoliecon.12.3.0296. ISSN 2042-8928. S2CID 247967541.
  90. Cited by John Gittings in The Changing Face of China, Oxford University Press, Oxford, 2005. ISBN 0-19-280612-2. Page 253.
  91. Cited by António Caeiro in Pela China Dentro (translated), Dom Quixote, Lisboa, 2004. ISBN 972-20-2696-8
  92. Dali Yang, Calamity and Reform in China, Stanford University Press, 1996
  93. Cited by David Shambaugh in Deng Xiaoping: portrait of a Chinese statesman, Oxford University, Oxford, 1995. ISBN 0-19-828933-2
  94. Cited by Susan L. Shirk in The Political Logic of Economic Reform in China, University of California, Berkeley and Los Angeles, 1993. ISBN 0-520-07706-7
  95. FlorCruz, Jaime (19 December 2008) "Looking back over China's last 30 years" เก็บถาวร 20 มีนาคม 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน CNN
  96. NHK JAPAN. "鄧小平副首相 天皇皇后両陛下と会見". NHK JAPAN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 March 2023. สืบค้นเมื่อ 30 May 2024.
  97. Lee, Chae-Jin (1979). "The Making of the Sino-Japanese Peace and Friendship Treaty". Pacific Affairs. 52 (1): 420–445. doi:10.2307/2757656. JSTOR 2757656.
  98. Stoltenberg, Clyde D. (1984). "China's Special Economic Zones: Their Development and Prospects". Asian Survey. 24 (6): 637–654. doi:10.2307/2644396. ISSN 0004-4687. JSTOR 2644396.
  99. Holmes, Frank (21 April 2017). "China's New Special Economic Zone Evokes Memories Of Shenzhen". Forbes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2019. สืบค้นเมื่อ 22 March 2019.
  100. Hurst, Matthew (2022). "Britain's Approach to the Negotiations over the Future of Hong Kong, 1979–1982". The International History Review. 44 (6): 1386–1401. doi:10.1080/07075332.2021.2024588. S2CID 257431054.
  101. Vogel, Deng Xiaoping, pp. 487–511.
  102. Nancy C. Jackson, "The Legal Regime of Hong Kong After 1997: An Examination of the Joint Declaration of the United Kingdom and the People's Republic of China". International Tax & Business Lawyer (1987): 377–423. Online[ลิงก์เสีย]
  103. Vogel, Deng Xiaoping, pp. 477–91.
  104. Wu, Guoyou; Ding, Xuemai (2020). Zheng, Qian (บ.ก.). An Ideological History of the Communist Party of China. Vol. 3. แปลโดย Sun, Li; Bryant, Shelly. Montreal, Quebec: Royal Collins Publishing Group. ISBN 978-1-4878-0392-6.
  105. 105.0 105.1 105.2 Hu, Richard (2023). Reinventing the Chinese City. New York: Columbia University Press. ISBN 978-0-231-21101-7.
  106. "Speech at a Meeting with the Members of The Committee for Drafting the Basic Law of the Hong Kong Special Administrative Region". china.org.cn. 16 Apr 1987. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 May 2005. สืบค้นเมื่อ 1 Jan 2024.
  107. "回歸25周年|重溫鄧小平與香港的那些事". 香港01 (ภาษาจีน). 2 Jul 2022. สืบค้นเมื่อ 1 Jan 2024.
  108. "Family Planning in China". www.china-un.ch. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 June 2018. สืบค้นเมื่อ 28 November 2019.
  109. Wang Feng, Yong Cai, and Baochang Gu, "Population, policy, and politics: how will history judge China's one-child policy?". Population and Development Review 38 (2013): 115–129. online เก็บถาวร 6 มิถุนายน 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  110. "People's Daily Online -- China rejects "strike hard" anti-crime policy for more balanced approach". en.people.cn. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2020. สืบค้นเมื่อ 21 June 2020.
  111. 111.0 111.1 "Detentions, torture, executions: how China dealt with mafia in the past". South China Morning Post. 26 January 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2020. สืบค้นเมื่อ 21 June 2020.
  112. 112.0 112.1 112.2 Tao, Ying. "1983年"严打":非常时期的非常手段". history.people.com.cn (ภาษาจีน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2020. สืบค้นเมื่อ 21 June 2020.
  113. "In Human Rights, China Remains in the Maoist Era | the Heritage Foundation". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 May 2011. สืบค้นเมื่อ 31 January 2017.
  114. "Strike less hard". The Economist. 3 August 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 March 2019. สืบค้นเมื่อ 23 March 2019.
  115. 115.0 115.1 ""严打"政策的前世今生". criminallaw.com.cn (ภาษาจีน). 1 July 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2020. สืบค้นเมื่อ 21 June 2020.
  116. Trevaskes, Susan (2002). "Courts on the Campaign Path in China: Criminal Court Work in the "Yanda 2001" Anti-Crime Campaign". Asian Survey. 42 (5): 673–693. doi:10.1525/as.2002.42.5.673. hdl:10072/6536. ISSN 0004-4687. JSTOR 10.1525/as.2002.42.5.673.
  117. 117.0 117.1 Nathan, Andrew J. (January–February 2001). "The Tiananmen Papers". Foreign Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2008.
  118. "Voices for Tiananmen Square: Beijing Spring and the Democracy Movement". Social Anarchism. 8 February 2006. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2018. สืบค้นเมื่อ 13 March 2010.
  119. Palmer, Bob (8 February 2006). Voices for Tiananmen Square: Beijing Spring and the Democracy Movement เก็บถาวร 23 มิถุนายน 2004 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Social Anarchism. 20.
  120. 120.0 120.1 120.2 120.3 The Politics of China By Roderick MacFarquhar
  121. Deng Xiaoping's daughter defends his Tiananmen Square massacre decision เก็บถาวร 14 ตุลาคม 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Taipei Times. 25 June 2007.
  122. 122.0 122.1 The Legacy of Tiananmen By James A. R. Miles
  123. Miles, James (1997). The Legacy of Tiananmen: China in Disarray. University of Michigan Press. ISBN 978-0-472-08451-7.
  124. 124.0 124.1 Faison, Seth (20 February 1997). "Deng Xiaoping Is Dead at 92; Architect of Modern China". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). p. A1. ISSN 0362-4331. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2017. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  125. 125.0 125.1 Denmark, Abraham (19 December 2018). "Analysis | 40 years ago, Deng Xiaoping changed China—and the world". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 May 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  126. How China is ruled เก็บถาวร 11 กันยายน 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, BBC 2003.
  127. Fisher, Max (2 June 2014). "This 1989 speech is one of China's most important". Vox. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  128. Zhao, Suisheng (1993). "Deng Xiaoping's Southern Tour: Elite Politics in Post-Tiananmen China". Asian Survey. 33 (8): 739–756. doi:10.2307/2645086. ISSN 0004-4687. JSTOR 2645086.
  129. "邓小平文选(第三卷)". ebook.dswxyjy.org.cn.
  130. "Deng Xiaoping's Southern Tour" (PDF). Berkshire Publishing Group LLC. 2009. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2017. สืบค้นเมื่อ 1 May 2020.
  131. Ma, Damien (23 January 2012). "After 20 Years of 'Peaceful Evolution,' China Faces Another Historic Moment". The Atlantic (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2019. สืบค้นเมื่อ 1 May 2020.
  132. "'How my father's speeches saved Chinese economic reform': Deng Xiaoping's daughter pays tribute". South China Morning Post. 21 August 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2020. สืบค้นเมื่อ 1 May 2020.
  133. "The great pragmatist: Deng Xiaoping". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 18 December 2008. ISSN 0261-3077. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 May 2020. สืบค้นเมื่อ 1 May 2020.
  134. Zhao, Suisheng (1993). "Deng Xiaoping's Southern Tour: Elite Politics in Post-Tiananmen China". Asian Survey. 33 (8): 739–756. doi:10.2307/2645086. ISSN 0004-4687. JSTOR 2645086.
  135. "Health of China's Deng worsens". Tampa Bay Times. 14 Jan 1995. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 December 2023. สืบค้นเมื่อ 30 Nov 2023.
  136. "Parkinson's experts sent to help Deng". South China Morning Post. 26 Jan 1995. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 Nov 2023. สืบค้นเมื่อ 30 Nov 2023.
  137. Hsü, Immanuel C.Y. (2000). The Rise of Modern China (6th ed.). New York: Oxford University Press. p. 974. ISBN 9780195125047.
  138. "Deng Xiaoping, leader of China's economic reforms, dies". Associated Press. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 October 2021. สืบค้นเมื่อ 18 July 2021.
  139. CNN: China officially mourns Deng Xiaoping เก็บถาวร 19 พฤศจิกายน 2002 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 24 February 1997
  140. CNN:World leaders praise Deng's economic legacy เก็บถาวร 16 สิงหาคม 2007 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 24 February 1997
  141. 141.0 141.1 141.2 Meng, Wenting (2024). Developmental Piece: Theorizing China's Approach to International Peacebuilding. Ibidem. Columbia University Press. ISBN 9783838219073.
  142. "China Daily article "Deng Xiaoping statue unveiled"". China Daily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 May 2009. สืบค้นเมื่อ 13 March 2010.
  143. "Turkistan-Newsletter Volume: 97-1:13, 20 June 1997". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 October 2007. สืบค้นเมื่อ 2 December 2010.
  144. Pomfret, John (18 October 2001). "In Its Own Neighborhood, China Emerges as a Leader". Taiwan Security Research. Washington Post. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 January 2002. สืบค้นเมื่อ 18 August 2013.
  145. 文献纪录片《邓小平》 (ภาษาจีนตัวย่อ). CCTV. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2015. สืบค้นเมื่อ 23 September 2014.
  146. "Forty years after Deng opened China, reformists are cowed". The Economist. 8 December 2018. ISSN 0013-0613. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  147. Huang, Dan Kopf, Echo (21 August 2018). "Happy birthday Deng Xiaoping: Here are 10 charts showing how he changed China". Quartz. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  148. 148.0 148.1 "Deng Xiaoping's lasting legacy". The Japan Times. 27 August 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 June 2019. สืบค้นเมื่อ 14 September 2019.
  149. Rosenberg, Jennifer. "A Complete Look at Time's Person of the Year List, from 1927–2017". ThoughtCo. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  150. Robert Dernberger (1993). China in the Era of Deng Xiaoping. Sharpe. ISBN 9781563242786. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2021. สืบค้นเมื่อ 13 March 2010.
  151. Knight, John (January 2012). "Review: Deng Xiaoping and the Transformation of China". Origins. The Ohio State University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
  152. 152.0 152.1 The Editors of Encyclopaedia Britannica (1 November 2019). "Deng Xiaoping". Encyclopaedia Britannica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 October 2019. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019. {{cite web}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  153. Kopf, Dan; Lahiri, Tripti (17 December 2018). "The charts that show how Deng Xiaoping unleashed China's pent-up capitalist energy in 1978". Quartz. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 September 2019. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
  154. "Deng should have been first Chinese to get Nobel Peace Prize: Exco chief". South China Morning Post. 13 November 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2019. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
  155. Rein, Shaun (14 December 2010). "How To Fix Western-Chinese Relations". Forbes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 January 2017. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
  156. Byrnes, Sholto (12 October 2010). "Ignoble reactions to the Nobel Peace Prize". New Statesmen. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2013. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
  157. 157.0 157.1 "Deng Xiaoping's legacy: The Great Stabiliser". The Economist. 22 October 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 May 2019. สืบค้นเมื่อ 14 September 2019.
  158. "The Legacy of Deng Xiaoping". The New York Times. 20 January 1997. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 October 2017. สืบค้นเมื่อ 14 September 2019.
  159. 159.0 159.1 Tyler, Patrick E. (20 February 1997). "Deng Xiaoping: A Political Wizard Who Put China on the Capitalist Road". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 August 2019. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
  160. Michael Dillon (2014). Deng Xiaoping: The Man who Made Modern China. Bloomsbury Publishing. pp. 292–296. ISBN 978-0-85772-467-0. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2021. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
  161. "Tiananmen Square Fast Facts". CNN. 4 June 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2019. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
  162. "A Massacre Erased". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 November 2019. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
  163. Wasserstrom, Jeffrey N.; Cunningham, Maura Elizabeth (2018). China in the 21st Century: What Everyone Needs to Know (3 ed.). Oxford University Press. p. 80. ISBN 978-0190659073.
  164. Jianfu, Chen (1 May 2004). "The Revision of the Constitution in the PRC. A great leap forward or a symbolic gesture?". China Perspectives (ภาษาฝรั่งเศส). 2004 (53). doi:10.4000/chinaperspectives.2922. ISSN 2070-3449.
  165. Jone, William. "The Constitution of the People's Republic of China". Washington University in St. Louis. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2019.
  166. Caldwell, Ernest (December 2012). "Horizontal Rights and Chinese Constitutionalism: Judicialization through Labor Disputes". Chicago-Kent Law Review. 88. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2021. สืบค้นเมื่อ 28 October 2019.
  167. Shigong, Jiang (2014). "Chinese-Style Constitutionalism: On Backer's Chinese Party-State Constitutionalism". Modern China. 40 (2): 133–167. doi:10.1177/0097700413511313. ISSN 0097-7004. JSTOR 24575589. S2CID 144236160.
  168. PEPPER, SUZANNE. "China's Education Reform in the 1980s: Policies, Issues, and Historical Perspectives" (PDF). UC Berkeley. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 November 2019.
  169. Song, Wei. "China's education reforms and strive for innovation". Chinadaily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 November 2019. สืบค้นเมื่อ 28 November 2019.
  170. Ng-Quinn, Michael (1982). "Deng Xiaoping's Political Reform and Political Order". Asian Survey. 22 (12): 1187–1205. doi:10.2307/2644047. ISSN 0004-4687. JSTOR 2644047.
ก่อนหน้า เติ้ง เสี่ยวผิง ถัดไป
อันวาร์ ซาดัต บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
(ค.ศ. 1978)
อะญาตุลลอฮ์ โคไมนี
ปีเตอร์ อูเบอร์รอธ บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
(ค.ศ. 1985)
คอราซอน อากีโน

แม่แบบ:ประธานคณะกรรมการการทหารส่วนกลาง (จีน)