ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบาล"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
Add 2 books for WP:V (20241214)) #IABot (v2.0.9.5) (GreenC bot |
||
(ไม่แสดง 38 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 31 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ระบอบการปกครอง}} |
|||
{{สั้นมาก}} |
|||
⚫ | '''รัฐบาล''' ({{langx|en|Government}}) คือ[[องค์การ]]ที่มีอำนาจในการออกและบังคับใช้กฎหมาย สำหรับ[[ดินแดน]]หนึ่ง ๆ นิยามที่ชัดเจนของรัฐบาลนั้นมีอยู่หลายนิยาม ในกรณีทั่วไป รัฐบาล คือผู้ที่มีอำนาจใน[[การปกครอง]] กล่าวคือมีอำนาจในการบริหารจัดการเหนือพื้นที่ใด ๆ หรือเหนือกลุ่มคน รัฐบาลตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า government ซึ่งมีความหมายสองนัยยะ นัยยะแรกหมายถึงกิจกรรมการปกครอง และอีกความหมายหนึ่งคือคณะบุคคลที่มีอำนาจในการปกครอง |
||
⚫ | '''รัฐบาล''' คือ[[องค์การ]]ที่มีอำนาจในการออกและบังคับใช้กฎหมาย สำหรับ[[ดินแดน]] |
||
'''ระบอบการปกครอง''' (form of government) หมายถึง สถาบันทางการเมืองซึ่งรัฐบาลของรัฐได้จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้อำนาจในการปกครองประเทศ<ref>http://assets.cambridge.org/052184/3162/excerpt/0521843162_excerpt.pdf Kopstein and Lichbach, 2005</ref> คำนี้ยังนิยามรวมไปถึงรัฐบาลที่ไม่ประสบความสำเร็จในการใช้อำนาจปกครองประเทศด้วย |
'''ระบอบการปกครอง''' (form of government) หมายถึง สถาบันทางการเมืองซึ่งรัฐบาลของรัฐได้จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้อำนาจในการปกครองประเทศ<ref>http://assets.cambridge.org/052184/3162/excerpt/0521843162_excerpt.pdf Kopstein and Lichbach, 2005</ref> คำนี้ยังนิยามรวมไปถึงรัฐบาลที่ไม่ประสบความสำเร็จในการใช้อำนาจปกครองประเทศด้วย |
||
==เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐ== |
|||
⚫ | |||
'''เจตจำนงแห่งรัฐ''' (Will of the state)<ref>[http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:165890 อภิชาติ คุณวัฒน์บัณฑิต.“ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติของประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2024 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> เป็นเกณฑ์หนึ่งในทางรัฐศาสตร์ที่อธิบายถึงเป้าหมายของระบอบการปกครองในแต่ละรูปแบบ นับตั้งแต่การเป็นชุมชนทางการเมืองที่เป็นระบบจนพัฒนามาสู่การเป็นรัฐสมัยใหม่ เมื่อพิจารณาจากพัฒนาการของรัฐสมัยใหม่นับตั้งแต่สมัยกลางเป็นต้นมา เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐในแต่ละยุคเกิดขึ้นจากบริบททางสังคม ปรัชญา อุดมการณ์ทางการเมือง ศาสนา ตลอดจนโลกทัศน์ของคนแต่ละยุคสมัยแตกต่างกัน ซึ่งแต่ละแนวคิดจะเน้นความสำคัญของปัจเจกบุคคลในระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน |
|||
ในยุคคลาสสิค และยุคกลางเจตจำนงแห่งรัฐจะมีความมีเสถียรภาพอันมีเป้าหมายในการสนับสนุนสถาบันกษัตริย์ และสถาบันศาสนา ส่วนในยุคสมัยใหม่เจตจำนงแห่งรัฐจะมีความเป็นพลวัตรและปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปผ่านการแสดงเจตจำนงผ่านการเลือกตั้งของประชาชน โดยกระบวนการสร้างรัฐสมัยใหม่นี้ต้องใช้ระบบกฎหมายสนับสนุนจึงจะดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวคิดความสูงสุดแห่งอำนาจอธิปไตยที่เป็นของประชาชนที่ทำให้รัฐสามารถบัญญัติกฎหมายได้อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด อันเป็นการสามารถสะท้อนเจตจำนงทางการเมืองของประชาชน และมีความเป็นพลวัตรต่อเนื่องไปอยู่เสมอ |
|||
⚫ | |||
นอกเหนือจากการจัดแบ่งประเภทอย่างเป็นทางการแล้ว ระบอบการปกครองยังสามารถแบ่งได้ตามรูปแบบโดยทั่วไปของรัฐบาล อย่างเช่น: |
นอกเหนือจากการจัดแบ่งประเภทอย่างเป็นทางการแล้ว ระบอบการปกครองยังสามารถแบ่งได้ตามรูปแบบโดยทั่วไปของรัฐบาล อย่างเช่น: |
||
* [[เอกาธิปไตย]] [[คณาธิปไตย]] หรือ[[ประชาธิปไตย]] |
* [[เอกาธิปไตย]] [[คณาธิปไตย]] หรือ[[ประชาธิปไตย]] |
||
บรรทัด 14: | บรรทัด 17: | ||
* [[สาธารณรัฐ]] หรือ[[ราชาธิปไตย]] ([[สมบูรณาญาสิทธิราช]] หรือ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]) |
* [[สาธารณรัฐ]] หรือ[[ราชาธิปไตย]] ([[สมบูรณาญาสิทธิราช]] หรือ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]) |
||
* [[ระบบรัฐสภา]] [[ระบบประธานาธิบดี]] หรือ[[ระบบกึ่งประธานาธิบดี]] |
* [[ระบบรัฐสภา]] [[ระบบประธานาธิบดี]] หรือ[[ระบบกึ่งประธานาธิบดี]] |
||
* [[รัฐเดี่ยว]] หรือ[[รัฐ |
* [[รัฐเดี่ยว]] หรือ[[รัฐสหพันธ์]] ([[สหพันธรัฐ]] หรือ[[สมาพันธรัฐ]]) |
||
* รัฐเอกราช รัฐกึ่งเอกราช หรือรัฐไม่มีเอกราช |
* รัฐเอกราช รัฐกึ่งเอกราช หรือรัฐไม่มีเอกราช |
||
บรรทัด 21: | บรรทัด 24: | ||
== หนังสืออ่านเพิ่มเติม == |
== หนังสืออ่านเพิ่มเติม == |
||
* {{cite book | first=Carles | last=Boix | title=Democracy and Redistribution | publisher=Cambridge University Press | location=New York | year=2003 }} |
* {{cite book | first=Carles | last=Boix | title=Democracy and Redistribution | url=https://archive.org/details/democracyredistr0000boix | publisher=Cambridge University Press | location=New York | year=2003 }} |
||
* Bunce, Valerie. 2003. “Rethinking Recent Democratization: Lessons from the Postcommunist Experience.” World Politics 55(2):167-192. |
* Bunce, Valerie. 2003. “Rethinking Recent Democratization: Lessons from the Postcommunist Experience.” World Politics 55(2):167-192. |
||
* {{cite book | first=Josep M.| last=Colomer| title=Political Institutions | publisher=Oxford University Press | location=Oxford| year=2003 }} |
* {{cite book | first=Josep M.| last=Colomer| title=Political Institutions | publisher=Oxford University Press | location=Oxford| year=2003 }} |
||
* [[Robert Dahl|Dahl, Robert]] ''[[Polyarchy]]'' Yale University Press (1971 |
* [[Robert Dahl|Dahl, Robert]] ''[[Polyarchy]]'' Yale University Press (1971 |
||
* Heritage, Andrew, Editor-in-Chief. |
* Heritage, Andrew, Editor-in-Chief. 2000. World Desk Reference |
||
* {{cite book | first=Arend | last=Lijphart | title=Democracy in Plural Societies: A Comparative Exploration | publisher=Yale University Press | location=New Haven | year=1977 }} |
* {{cite book | first=Arend | last=Lijphart | title=Democracy in Plural Societies: A Comparative Exploration | url=https://archive.org/details/democracyinplura0000lijp | publisher=Yale University Press | location=New Haven | year=1977 }} |
||
* Linz, Juan. 2000. Totalitarian and Authoritarian Regimes. Boulder: Lynne Rienner. |
* Linz, Juan. 2000. Totalitarian and Authoritarian Regimes. Boulder: Lynne Rienner. |
||
* Linz, Juan, and Stepan, Alfred. 1996. Problems of Democratic Transition and Consolidation: Southernn Europe, South America, and Post-Communist Europe. Baltimore: Johns Hopkins Press. |
* Linz, Juan, and Stepan, Alfred. 1996. Problems of Democratic Transition and Consolidation: Southernn Europe, South America, and Post-Communist Europe. Baltimore: Johns Hopkins Press. |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:08, 15 ธันวาคม 2567
ส่วนหนึ่งของชุดการเมือง |
ระบอบการปกครอง พื้นฐาน |
---|
รายชื่อระบอบการปกครอง รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง |
สถานีย่อยการเมือง |
รัฐบาล (อังกฤษ: Government) คือองค์การที่มีอำนาจในการออกและบังคับใช้กฎหมาย สำหรับดินแดนหนึ่ง ๆ นิยามที่ชัดเจนของรัฐบาลนั้นมีอยู่หลายนิยาม ในกรณีทั่วไป รัฐบาล คือผู้ที่มีอำนาจในการปกครอง กล่าวคือมีอำนาจในการบริหารจัดการเหนือพื้นที่ใด ๆ หรือเหนือกลุ่มคน รัฐบาลตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า government ซึ่งมีความหมายสองนัยยะ นัยยะแรกหมายถึงกิจกรรมการปกครอง และอีกความหมายหนึ่งคือคณะบุคคลที่มีอำนาจในการปกครอง
ระบอบการปกครอง (form of government) หมายถึง สถาบันทางการเมืองซึ่งรัฐบาลของรัฐได้จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้อำนาจในการปกครองประเทศ[1] คำนี้ยังนิยามรวมไปถึงรัฐบาลที่ไม่ประสบความสำเร็จในการใช้อำนาจปกครองประเทศด้วย
เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐ
[แก้]เจตจำนงแห่งรัฐ (Will of the state)[2] เป็นเกณฑ์หนึ่งในทางรัฐศาสตร์ที่อธิบายถึงเป้าหมายของระบอบการปกครองในแต่ละรูปแบบ นับตั้งแต่การเป็นชุมชนทางการเมืองที่เป็นระบบจนพัฒนามาสู่การเป็นรัฐสมัยใหม่ เมื่อพิจารณาจากพัฒนาการของรัฐสมัยใหม่นับตั้งแต่สมัยกลางเป็นต้นมา เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐในแต่ละยุคเกิดขึ้นจากบริบททางสังคม ปรัชญา อุดมการณ์ทางการเมือง ศาสนา ตลอดจนโลกทัศน์ของคนแต่ละยุคสมัยแตกต่างกัน ซึ่งแต่ละแนวคิดจะเน้นความสำคัญของปัจเจกบุคคลในระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน
ในยุคคลาสสิค และยุคกลางเจตจำนงแห่งรัฐจะมีความมีเสถียรภาพอันมีเป้าหมายในการสนับสนุนสถาบันกษัตริย์ และสถาบันศาสนา ส่วนในยุคสมัยใหม่เจตจำนงแห่งรัฐจะมีความเป็นพลวัตรและปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปผ่านการแสดงเจตจำนงผ่านการเลือกตั้งของประชาชน โดยกระบวนการสร้างรัฐสมัยใหม่นี้ต้องใช้ระบบกฎหมายสนับสนุนจึงจะดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวคิดความสูงสุดแห่งอำนาจอธิปไตยที่เป็นของประชาชนที่ทำให้รัฐสามารถบัญญัติกฎหมายได้อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด อันเป็นการสามารถสะท้อนเจตจำนงทางการเมืองของประชาชน และมีความเป็นพลวัตรต่อเนื่องไปอยู่เสมอ
คุณสมบัติของรัฐบาล
[แก้]นอกเหนือจากการจัดแบ่งประเภทอย่างเป็นทางการแล้ว ระบอบการปกครองยังสามารถแบ่งได้ตามรูปแบบโดยทั่วไปของรัฐบาล อย่างเช่น:
- เอกาธิปไตย คณาธิปไตย หรือประชาธิปไตย
- ประมุขมาจากการเลือกตั้ง หรือมาจากเชื้อสายของบรรพบุรุษ
- การเลือกตั้งโดยตรง หรือการเลือกตั้งโดยอ้อม
- รัฐบาลเสียงข้างมาก หรือรัฐบาลผสม
- สาธารณรัฐ หรือราชาธิปไตย (สมบูรณาญาสิทธิราช หรือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ)
- ระบบรัฐสภา ระบบประธานาธิบดี หรือระบบกึ่งประธานาธิบดี
- รัฐเดี่ยว หรือรัฐสหพันธ์ (สหพันธรัฐ หรือสมาพันธรัฐ)
- รัฐเอกราช รัฐกึ่งเอกราช หรือรัฐไม่มีเอกราช
อ้างอิง
[แก้]- ↑ http://assets.cambridge.org/052184/3162/excerpt/0521843162_excerpt.pdf Kopstein and Lichbach, 2005
- ↑ อภิชาติ คุณวัฒน์บัณฑิต.“ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติของประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.[ลิงก์เสีย]
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
[แก้]- Boix, Carles (2003). Democracy and Redistribution. New York: Cambridge University Press.
- Bunce, Valerie. 2003. “Rethinking Recent Democratization: Lessons from the Postcommunist Experience.” World Politics 55(2):167-192.
- Colomer, Josep M. (2003). Political Institutions. Oxford: Oxford University Press.
- Dahl, Robert Polyarchy Yale University Press (1971
- Heritage, Andrew, Editor-in-Chief. 2000. World Desk Reference
- Lijphart, Arend (1977). Democracy in Plural Societies: A Comparative Exploration. New Haven: Yale University Press.
- Linz, Juan. 2000. Totalitarian and Authoritarian Regimes. Boulder: Lynne Rienner.
- Linz, Juan, and Stepan, Alfred. 1996. Problems of Democratic Transition and Consolidation: Southernn Europe, South America, and Post-Communist Europe. Baltimore: Johns Hopkins Press.
- Lichbach, Mark and Alan Zukerman, eds. 1997. Comparative Politics: Rationality, Culture, and Structure, Cambridge: Cambridge University Press, 1997.
- Luebbert, Gregory M. 1987. “Social Foundations of Political Order in Interwar Europe,” World Politics 39, 4.
- Moore, Barrington, Jr. 1966. Social Origins of Dictatorship and Democracy: Lord and Peasant in the Making of the Modern World. Cambridge: Beacon Press, ch. 7-9.
- Comparative politics : interests, identities, and institutions in a changing global order/edited by Jeffrey Kopstein, Mark Lichbach, 2nd ed, Cambridge University Press, 2005.
- O’Donnell, Guillermo. 1970. Modernization and Bureaucratic-Authoritarianism. Berkeley: University of California.
- O’Donnell, Guillermo, Schmitter, Philippe C., and Whitehead, Laurence, eds., Transitions from Authoritarian Rule: comparative Perspectives. Baltimore: Johns Hopkins University Press.
- Przeworski, Adam. 1992. Democracy and the Market: Political and Economic Reforms in Eastern Europe and Latin America, New York: Cambridge University Press.
- Przeworski, Adam, Alvarez, Michael, Cheibub, Jose, and Limongi, Fernando. 2000. Democracy and Development: Political Institutions and Well Being in the World, 1950-1990. New York: Cambridge University Press.
- Shugart, Mathhew and John M. Carey, Presidents and Assemblies: Constitutional Design and Electoral Dynamics, New York, Cambridge Univ. Press, 1992.
- Taagepera, Rein and Matthew Shugart. 1989. Seats and votes: The effects and determinants of electoral systems, Yale Univ. Press.jimmy