ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เล่งทอง (หลิง ถ่ง)"
หน้าตา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ล r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fr:Ling Tong |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 8 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ชื่ออื่น|เล่งทองที่มีชื่อในภาษาจีนกลางว่าหลิง ถ่ง และเป็นบุตรชายของเล่งโฉ|เล่งทองที่มีชื่อในภาษาจีนกลางว่าลั่ว ถ่ง|เล่งทอง (ลั่ว ถ่ง)}} |
|||
{{กล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก |
|||
{{Infobox officeholder |
|||
| |
| name = เล่งทอง |
||
⚫ | |||
| |
| native_name = 凌統 |
||
| |
| image = |
||
| image_size = |
|||
⚫ | |||
| caption = |
|||
| Kingdom = [[ง่อก๊ก]] |
|||
⚫ | |||
| Born = [[พ.ศ. 732]] |
|||
| office = ขุนพลรอง (偏將軍) |
|||
| Died = [[พ.ศ. 780]] |
|||
| term_start = {{Start date|215}} |
|||
| Death_place = |
|||
| term_end = {{End date|217}} |
|||
| Predecessor = |
|||
| office1 = ต้างโค่วจงหลางเจียง (蕩寇中郎將) |
|||
| Successor = |
|||
| |
| term1 = 215 |
||
| office2 = ไพเซี่ยง (沛相)<br>(ในนาม) |
|||
| Simp = 凌统 |
|||
| |
| term2 = 215 |
||
| office3 = เสี้ยวเว่ย (校尉) |
|||
| Putonghua = |
|||
| term_start3 = {{Start date|209}} |
|||
| Minnan = เล่งทอง |
|||
| term_end3 = {{End date|215}} |
|||
⚫ | |||
| office4 = นายพันผู้มีพลังเกรียงไกร (承烈都尉) |
|||
| Zi = |
|||
| term_start4 = {{Start date|208}} |
|||
| Post = |
|||
| term_end4 = {{End date|209}} |
|||
| Era = ยุคสามก๊ก |
|||
| birth_date = ค.ศ. 189{{efn|name=death date}} |
|||
| Temple = |
|||
| birth_place = [[เขตอฺวี๋หาง]] [[หางโจว]] [[มณฑลเจ้อเจียง]] |
|||
| Other = |
|||
| death_date = ค.ศ. 217<!-- อย่าเปลี่ยนเป็น ค.ศ. 237 ดูรายละเอียดที่หมายเหตุแรก -->(28 ปี){{efn|name=death date}} |
|||
| father = [[เล่งโฉ]] |
|||
| children = {{unbulleted list|Ling Lie|Ling Feng}} |
|||
⚫ | |||
| blank1 = [[ชื่อรอง]] |
|||
| data1 = กงจี (公績) |
|||
}} |
}} |
||
{{family name hatnote|[[Ling (surname)|เล่ง]]|lang=Chinese}} |
|||
'''เล่งทอง''' ({{ |
'''เล่งทอง''' ({{audio|Ling Tong.ogg|ออกเสียง}}; ค.ศ. 189–217<!-- อย่าเปลี่ยนเป็น ค.ศ. 237 ดูรายละเอียดที่หมายเหตุแรก -->){{efn|name=death date|ชีวประวัติของเล่งทองใน''สามก๊กจี่''บันทึกว่าเขาเสียชีวิตตอนอายุ 49 ปี (ตาม[[การนับอายุแบบเอเชียตะวันออก]])<ref name="death">(... 會病卒,時年四十九。) ''สามก๊กจี่''เล่มที่ 55.</ref> อย่างไรก็ตาม Lu (1982) และ Liang (2000) ชี้ให้เห็นว่ามีปัญหาตรงที่หมายเลข '49' และเลขนี้ควรเป็น '29' โดยชีวประวัติของ[[เล่งทอง (ลั่ว ถ่ง)|เล่งทอง]]ใน''สามก๊กจี่''ระบุว่า เล่งทอง (ลั่ว ถ่ง) เข้ายึดฐานที่มั่นทางทหารของเล่งทอง (หลิง ถ่ง) หลังจากเล่งทอง (หลิง ถ่ง) เสียชีวิต และเล่งทอง (ลั่ว ถ่ง) เข้าร่วมใน[[ยุทธการที่อิเหลง]]เมื่อ ค.ศ. 222<ref>(及凌統死,復領其兵。 ... 以隨陸遜破蜀軍於宜都, ...) ''สามก๊กจี่''เล่มที่ 57.</ref> ข้อความนี้ไม่ค่อยตรงกับข้อความในชีวประวัติเล่งทอง (หลิง ถ่ง) ตรงที่ชีวประวัติของเขาไม่ได้ระบุว่าเขาทำอะไรหลัง[[ศึกหับป๋า]]ใน ค.ศ. 215 ถ้าเขาเข้ารบในยุทธการที่อิเหลง ซึ่งเป็นหนึ่งในสงครามครั้งใหญ่ในยุคนั้น การมีส่วนร่วมของเขาจะถูกกล่าวถึงในชีวประวัติของเขาอย่างแน่นอน นอกจากนี้ ชีวประวัติของเล่งทอง (หลิง ถ่ง) ยังระบุด้วยว่าบรรดาบุตรชายของเขายังอายุน้อยมากเมื่อบิดาของพวกเขาเสียชีวิต Lu (1982) และ Liang (2000) เชื่อว่ามีแนวโน้มสูงที่เล่งทอง (หลิง ถ่ง) เสียชีวิตเมื่ออายุ 29 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก) ใน ค.ศ. 217 มากกว่าเมื่ออายุ 49 ปีใน ค.ศ. 237{{sfnp|Lu|1982}}{{sfnp|Liang|2000}}}} [[ชื่อรอง]] '''กงจี''' เป็นตัวละครใน[[วรรณกรรม]][[จีน]]อิง[[ประวัติศาสตร์]]เรื่อง[[สามก๊ก]]ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์[[ยุคสามก๊ก]] บุตรของ[[เล่งโฉ]] เมื่อกำเหลงมาอยู่กับง่อ ทำให้เล่งทองไม่พอใจจนซุนกวนต้องส่งกำเหลงไปประจำยังที่ห่างไกลเพื่อกันสองคนทะเลาะกัน ซึ่งต่อมาได้เกิดศึกที่มีชื่อว่า[[ศึกหับป๋า]]ทหารของ[[งักจิ้น]]ยิงธนูใส่ตาม้าของเล่งทอง ทำให้หกล้มไป แล้ว[[กำเหลง]]ก็มายิงธนูใส่ศัตรูช่วยเล่งทองทำให้ทั้งสองเป็นมิตรกันในที่สุด เล่งทองมีผลงานที่โดดเด่นในการรบหลายครั้ง ครั้งที่สำคัญที่สุดคือการช่วยซุนกวนหนีใน[[ศึกหับป๋า]] เมื่อเล่งทองตาย [[ซุนกวน]]เสียใจมาก จัดงานศพให้อย่างสมเกียรติ ซึ่งนับว่าเป็นงานศพที่ยิ่งใหญ่ที่สุด หนึ่งในสามของง่อ เทียบเท่ากับของ[[ลิบอง]] และ[[จูเหียน]] |
||
==หมายเหตุ== |
|||
== ดูเพิ่ม == |
|||
{{notelist}} |
|||
==อ้างอิง== |
|||
{{reflist}} |
|||
* [[ตันซิ่ว]] (คริสต์ศตวรรษที่ 3). ''[[สามก๊กจี่]]'' (''ซานกั๋วจื้อ''). |
|||
เล่งทอง Ling Tong (凌 統) (AD 189 - 237) ชื่อรอง Gongji ชาวเมืองอิข้องในง่อ พ่อของเขา เล่งโฉ เป็นแม่ทัพที่กล้าหาญองอาจ เมื่อซุนเซ็กเริ่มสร้างตัวในง่อ เล่งโฉเข้าร่วมเป็นแม่ทัพในสังกัดซุนเซ็ก เล่งโฉต่อสู้อย่างกล้าหาญในแนวหน้าเสมอ มักจะเป็นคนแรกที่พุ่งเข้าหาศัตรู เล่งโฉได้รับแต่งตั้งให้ดูแล Yongping เพื่อปราบชนเผ่า Shanyue ภายใต้การควบคุมของเขา ไม่มีใครกล้าทำผิดกฎหมาย และเล่งโฉก็ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นขุนพลปราบเหล่าร้าย เมื่อซุนกวนครองอำนาจต่อจากซุนเซ็ก เล่งโฉร่วมต่อสู้ในการโจมตีหองจอที่กังแฮ เล่งโฉเข้าโจมตีทัพหน้าข้าศึก จนข้าศึกพ่ายแพ้ไป แต่ในระหว่างล่องเรือตามไล่โจมตี เล่งโฉก็เสียชีวิตจากการโดนลูกธนูยิง |
|||
* {{cite book|last=Liang|first=Zhangju|editor-last=Yang|editor-first=Yaokun|title=''三國志旁證'' (Circumstantial Evidence on the Sanguozhi)|location=Beijing|publisher=Zhonghua Book Company|year=2000|isbn=978-7-211-03490-1|language=Chinese}} |
|||
* {{cite book|last=Lu|first=Bi|title=''三國志集解'' (Explanatory Commentary to the Sanguozhi)|location=Beijing|publisher=Zhonghua Book Company|year=1982|isbn=978-7-101-01019-0|language=Chinese}} |
|||
ในเวลานั้นเล่งทองอายุได้ 15 ปี เล่งทองเป็นที่ชื่นชอบของเหล่าขุนนางมากมาย และจากการที่เล่งโฉพ่อของเขาเสียชีวิตในการต่อสู้ ซุนกวนจึงแต่งตั้งเล่งทองเป็นนายทหารและให้สิทธิควบคุมกองทหารของเล่งโฉแทน ซุนกวนพาเล่งทองไปปราบโจรภูเขา แต่ทัพซุนกวนพ่ายแพ้ต่อโจรภูเขา ซุนกวนจึงยกทัพกลับเมืองหลวง ทิ้งทหารไว้หมื่นคนกับเล่งทอง แม่ทัพ Zhang yi และแม่ทัพคนอื่น ๆ ทั้งหมดยกทัพไปรักษาการณ์ที่เมือง Ma เพื่อนัดแนะวันทำศึกกับโจรภูเขาต่อ แม่ทัพ Chen Qin จัดงานเลี้ยงสำหรับทุกคน ในงานเลี้ยง Chen Qin ถือตัวว่าตัวเองเป็นใหญ่ที่สุดในงานเลี้ยง พอเกิดโมโห ก็ก่อกวนแม่ทัพคนอื่น ๆ ลงโทษคนอื่นที่ไม่เห็นด้วย เล่งทองเห็นแล้วไม่อาจทนพฤติกรรมของ Chen Qin ได้ จึงเดินออกจากโต๊ะไปเผชิญหน้ากับ Chen Qin Chen Qin โกรธมากด่าเล่งทองด้วยถ้อยคำรุนแรง แถมยังด่าเล่งโฉพ่อของเล่งทองด้วย เล่งทองฟัง Chen Qin ด่าพ่อตัวเอง น้ำตาไหลด้วยความเจ็บแค้น แต่ไม่โต้ตอบคำด่านั้น แล้วแม่ทัพทุกคนก็แยกย้ายกลับจากงานเลี้ยง ด้วยความเมา Chen Qin ก็ยังด่าเล่งโฉอีกในระหว่างทางที่แยกย้ายกลับ เล่งทองไม่อาจทนได้อีกต่อไป เขาชักดาบขึ้นมาฟัน Chen Qin ทำให้ Chen Qin ตายในอีกไม่กี่วันต่อมา เมื่อวันที่จะโจมตีโจรภูเขามาถึง เมื่อคิดถึงความผิดตัวเอง เล่งทองจึงพูดว่า มีแต่ความตายเท่านั้นที่ลบล้างความผิดของข้าได้ เมื่อคิดได้ดังนั้น เล่งทองจึงนำทหารตัวเองด้วยความกล้าหาญฝ่าธนูและก้อนหินที่เหล่าโจรภูเขาระดมยิงและขว้างลงมา เล่งทองเข้ายึดกำแพงด้านที่ตัวเองเข้าตีในเวลาไม่นาน แม่ทัพคนอื่น ๆ ก็มีกำลังใจจากความสำเร็จของเล่งทองต่างพากันบุกโจมตี ทำให้ศัตรูพ่ายแพ้ เมื่อทัพหลวงมาถึง เล่งทองก็มัดตัวเองส่งมอบให้กับเจ้าหน้าที่วินัยทหาร ซุนกวนประทับใจในความเด็ดเดี่ยวของเล่งทองมาก จึงอภัยโทษความผิดของเขา |
|||
* [[ล่อกวนตง]] (คริสต์ศตวรรษที่ 14). ''[[สามก๊ก]]'' (''ซานกั๋วเหยี่ยนอี้''). |
|||
* [[เผย์ ซงจือ]] (คริสต์ศตวรรษที่ 5). ''[[อรรถาธิบายสามก๊กจี่]]'' (''ซานกั๋วจื้อจู้''). |
|||
ในเวลาต่อมา ซุนกวนนำทัพเข้าโจมตีกังแฮ เล่งทองเป็นแม่ทัพหน้า เขาล่องเรือพร้อมลูกน้องใกล้ชิดเพียงไม่กี่สิบคนนำหน้าเรืออื่น ๆ สิบกว่าลี้ จนเรือพวกเขาเข้าสู้แม่น้ำฝั่งตะวันตก และสามารถตัดหัวแม่ทัพ Zhang Shuo ของหองจอได้ และจับทหารข้าศึกเป็นเชลยได้ จึงกลับมารายงานซุนกวน และทัพง่อก็รวมกำลังทางบกทางน้ำเข้าโจมตีกังแฮ ลิบองโจมตีทัพเรือของหองจอพ่ายแพ้ไป และเล่งทองก็เป็นคนแรกที่เข้ายึดเมืองได้ ถือเป็นชัยชนะอย่างใหญ่หลวง ซุนกวนเลื่อนตำแหน่งให้เล่งทอง และต่อมาเล่งทองก็มีความดีความชอบภายใต้การนำทัพของจิวยี่ในศึกเซ็กเพ็ก หลังจากนั้นไม่นาน เล่งทองก็เอาชนะทัพของโจหยิน และถูกเลื่อนตำแหน่งเป็นขุนพล แม้ว่าเล่งทองจะเกี่ยวข้องกับการศึกสงครามซะส่วนใหญ่แต่ว่า เขาก็ชมชอบเป็นมิตรกับนักปราชญ์ทั้งหลายและยอมรับผู้ที่มีความสามารถ เล่งทองปฏิบัติตัวให้ตนสามารถเข้าได้ทั้งกับฝ่ายกองทัพและฝ่ายบ้านเมือง เขาสามารถแสดงให้เห็นว่าเขาเป็นคนที่มีความสามารถและเป็นหลักสำคัญของง่อคนหนึ่ง |
|||
* {{cite book|editor-last=Sakaguchi|editor-first=Wazumi|year=2005|title=Seishi Sangokushi Gunyu Meimeiden ''正史三國志群雄銘銘傳''|publisher=Kojinsha|location=Tokyo|language=Japanese}} |
|||
* [[ซือหม่า กวาง]] (1084). ''[[จือจื้อทงเจี้ยน]]''. |
|||
เล่งทองมีส่วนร่วมในการโจมตี Wan และถูกแต่งตั้งเป็นแม่ทัพและเจ้าเมือง Pei หลังจากยึดหัวเมืองตะวันตกสามเมืองร่วมกับลิบอง เขากลับสู่ Yiyang และเดินทางไปร่วมศึกที่หับป๋า ถูกแต่งตั้งเป็นแม่ทัพขวา หลังจากซุนกวนตัดสินใจถอยทัพ ทัพหน้าไปเดินทางกลับไปแล้ว เตียวเลี้ยวและแม่ทัพวุยคนอื่น นำทัพเข้าโจมตีทัพซุนกวน ซุนกวนส่งคนไปตามทัพหน้ากลับมาช่วย แต่ทัพหน้าไปไกลเกินมาที่จะกลับมาช่วยได้ทันเวลา เล่งทองนำทหารของเขาสามร้อยคนเข้าช่วยซุนกวนจากวงล้อมและต่อสู้ยันทัพเตียวเลี้ยวไว้ เปิดโอกาสให้ซุนกวนหลบหนีจากวงล้อม เนื่องจากสะพานโดนทหารเตียวเลี้ยวพังไปแล้วเหลือเพียงไม้กระดานไม่กี่แผ่นสองฝั่งแม่น้ำ ซุนกวนจึงต้องขี่ม้ากระโดดข้ามแม่น้ำไปอีกฝั่ง เล่งทองเมื่อนำซุนกวนมาถึงฝั่งสะพานก็กลับไปต่อสู้จนทหารสามร้อยนายของเขาถูกฆ่าตายหมด ตัวเขาเองก็โดนอาวุธได้รับบาดแผลไปทั้งตัว หลังจากฆ่าศัตรูไปหลายคน เขาเห็นว่าซุนกวนข้ามฝั่งได้ปลอดภัยแล้ว แต่สะพานพังไปแล้ว และถนนก็ถูกทัพวุยขวางทางอยู่ เล่งทองจึงถอดเกราะออกแล้วก็ว่ายน้ำหนีข้ามฝั่งมา ซุนกวนซึ่งตอนนั้นขึ้นเรือของฝั่งง่อแล้ว ดีใจมากที่เห็นเล่งทองว่ายน้ำมาขึ้นเรือได้ |
|||
แต่เมื่อเล่งทองนั้นเสียใจมากที่ทหารสามร้อยนายของเขาเสียชีวิตไป ทหารทุกคนล้วนเป็นหทารส่วนตัวของเขาที่ติดตามเขามานาน ทุกคนตายหมดในการช่วยซุนกวน เล่งทองร้องไห้คร่ำครวญเสียใจอย่างยิ่ง ซุนกวนเห็นเข้าก็ตบหน้าเขา บอกว่า ปล่อยให้คนที่ตายไปแล้วไปสู่สุขคติ ตราบใดที่เจ้ายังมีชีวิตอยู่ เจ้าไม่ต้องกลัวเรื่องการไม่มีทหารในบังคับบัญชา แล้วซุนกวนก็ให้ตำแหน่งแม่ทัพที่ใหญ่ขึ้นแก่เขา มีทหารในสังกัดเพิ่มขึ้นสองเท่าจากเดิม |
|||
ในเวลานั้นมีขุนนางแนะนำ Chen Xian แก่ซุนกวน โดยแนะนำว่า Chen Xian นี้เก่งกาจมีความสามารถมากกว่าเล่งทอง ซุนกวนพูดว่า Cheng Xian ควรจะพอใจแล้วที่ตัวเขาสามารถเทียบเท่าเล่งทองได้ และเรียกให้ Chen Xian เข้าพบในเวลากลางคืน เล่งทองซึ่งนอนอยู่เมื่อได้ยินว่า Cheng Xian มาถึง ก็ฝืนความเจ็บปวดลุกขึ้นสวมเสื้อผ้าเดินออกมาพบกับ Cheng Xian ด้วยความยินดี เป็นการแสดงความยินดีแก่ผู้มีความสามารถโดยไม่มีความริษยาหรือใส่ใจต่อความเจ็บป่วยของตัวเอง |
|||
เล่งทองให้คำแนะนำซุนกวนว่า เผ่าชาวเขานั้นเป็นแข็งแกร่งและกล้าหาญในสายเลือด น่าที่จะชักจูงพวกเขาให้มารับใช้โดยเสนอรางวัลและตำแหน่งทางการทหาร ซุนกวนจึงสั่งให้เขาใช้แผนนี้เข้ายึดเผ่าชาวเขา ให้เล่งทองเดินทางไประดมทหารจากเมืองต่าง ๆ และออกราชโองการแก่หัวเมืองต่าง ๆ ให้เล่งทองมีอำนาจตัดสินใจสั่งการได้ก่อน และค่อยรายงานต่อเขาทีหลัง เล่งทองนั้นมีชื่อเสียงในการเลี้ยงดูทหารอย่างดีอยู่แล้ว ชายหนุ่มทั้งหลายต่างปรารถนาเป็นทหารในสังกัดของเขา ไม่ช้า เล่งทองก็มีทหารชั้นยอดในสังกัดหลายหมื่นคน เมื่อเขาเดินทางผ่านบ้านเกิด เล่งทองเข้าไปเยี่ยมที่ทำการอำเภอ แล้วเรียกเสมียนขุนนางให้นำทะเบียนราษฎร์มาให้เขาตรวจสอบ เล่งทองแสดงท่าทีอ่อนน้อมและยำเกรงต่อขุนนางเหล่านั้น และแสดงความรักต่อบรรดาญาติมิตรและเหล่าเพื่อนของเขา หลังจากเล่งทองเสร็จธุระแล้ว เขาก็เดินทางกลับ แต่ในระหว่างทางกลับ เล่งทองเสียชีวิตเนื่องจากโรคร้ายในขณะอายุได้ 49 ปี หลังจากที่เล่งทองเสียชีวิต เมื่อซุนกวนรู้เข้าถึงกับโศกเศร้าเสียใจมาก ซุนกวนนั่งร้องไห้เป็นเวลานาน และอยู่ในอาการโศกเศร้าอยู่หลายวัน ต่อมาเมื่อซุนกวนได้ยินชื่อเล่งทองครั้งใด ซุนกวนต้องหลั่งน้ำตาด้วยความคิดถึงทุกครั้ง ซุนกวนรักเล่งทองมากขนาดให้มีกวี Zhang Cheng เขียนบทกลอนสรรเสริญวีรกรรมของเขา |
|||
== แหล่งข้อมูลอื่น== |
|||
* [http://www.feelthailand.com/sanguo/bio/lingtong.html ประวัติเล่งทอง] |
|||
{{ตัวละครในสามก๊ก}} |
{{ตัวละครในสามก๊ก}} |
||
[[หมวดหมู่:ตัวละครในสามก๊ก|ล่เงทอง]] |
|||
⚫ | |||
{{birth|189}}{{death|237}} |
{{birth|189}}{{death|237}} |
||
⚫ | |||
{{โครงสามก๊ก}} |
{{โครงสามก๊ก}} |
||
[[ar:لينغ تونغ]] |
|||
[[ca:Ling Tong]] |
|||
[[de:Ling Tong]] |
|||
[[en:Ling Tong]] |
|||
[[fr:Ling Tong]] |
|||
[[id:Ling Tong]] |
|||
[[ja:凌統]] |
|||
[[ko:능통]] |
|||
[[pt:Ling Tong]] |
|||
[[sh:Ling Tong]] |
|||
[[vi:Lăng Thống]] |
|||
[[zh:凌統]] |
|||
[[zh-classical:淩統]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:23, 11 ธันวาคม 2567
เล่งทอง | |
---|---|
凌統 | |
ขุนพลรอง (偏將軍) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 215 – ค.ศ. 217 | |
ต้างโค่วจงหลางเจียง (蕩寇中郎將) | |
ดำรงตำแหน่ง 215 | |
ไพเซี่ยง (沛相) (ในนาม) | |
ดำรงตำแหน่ง 215 | |
เสี้ยวเว่ย (校尉) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 209 – ค.ศ. 215 | |
นายพันผู้มีพลังเกรียงไกร (承烈都尉) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 208 – ค.ศ. 209 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ค.ศ. 189[a] เขตอฺวี๋หาง หางโจว มณฑลเจ้อเจียง |
เสียชีวิต | ค.ศ. 217(28 ปี)[a] |
บุตร |
|
บุพการี |
|
อาชีพ | ขุนพล |
ชื่อรอง | กงจี (公績) |
เล่งทอง ([a] ชื่อรอง กงจี เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก บุตรของเล่งโฉ เมื่อกำเหลงมาอยู่กับง่อ ทำให้เล่งทองไม่พอใจจนซุนกวนต้องส่งกำเหลงไปประจำยังที่ห่างไกลเพื่อกันสองคนทะเลาะกัน ซึ่งต่อมาได้เกิดศึกที่มีชื่อว่าศึกหับป๋าทหารของงักจิ้นยิงธนูใส่ตาม้าของเล่งทอง ทำให้หกล้มไป แล้วกำเหลงก็มายิงธนูใส่ศัตรูช่วยเล่งทองทำให้ทั้งสองเป็นมิตรกันในที่สุด เล่งทองมีผลงานที่โดดเด่นในการรบหลายครั้ง ครั้งที่สำคัญที่สุดคือการช่วยซุนกวนหนีในศึกหับป๋า เมื่อเล่งทองตาย ซุนกวนเสียใจมาก จัดงานศพให้อย่างสมเกียรติ ซึ่งนับว่าเป็นงานศพที่ยิ่งใหญ่ที่สุด หนึ่งในสามของง่อ เทียบเท่ากับของลิบอง และจูเหียน
; ค.ศ. 189–217)หมายเหตุ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 ชีวประวัติของเล่งทองในสามก๊กจี่บันทึกว่าเขาเสียชีวิตตอนอายุ 49 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก)[1] อย่างไรก็ตาม Lu (1982) และ Liang (2000) ชี้ให้เห็นว่ามีปัญหาตรงที่หมายเลข '49' และเลขนี้ควรเป็น '29' โดยชีวประวัติของเล่งทองในสามก๊กจี่ระบุว่า เล่งทอง (ลั่ว ถ่ง) เข้ายึดฐานที่มั่นทางทหารของเล่งทอง (หลิง ถ่ง) หลังจากเล่งทอง (หลิง ถ่ง) เสียชีวิต และเล่งทอง (ลั่ว ถ่ง) เข้าร่วมในยุทธการที่อิเหลงเมื่อ ค.ศ. 222[2] ข้อความนี้ไม่ค่อยตรงกับข้อความในชีวประวัติเล่งทอง (หลิง ถ่ง) ตรงที่ชีวประวัติของเขาไม่ได้ระบุว่าเขาทำอะไรหลังศึกหับป๋าใน ค.ศ. 215 ถ้าเขาเข้ารบในยุทธการที่อิเหลง ซึ่งเป็นหนึ่งในสงครามครั้งใหญ่ในยุคนั้น การมีส่วนร่วมของเขาจะถูกกล่าวถึงในชีวประวัติของเขาอย่างแน่นอน นอกจากนี้ ชีวประวัติของเล่งทอง (หลิง ถ่ง) ยังระบุด้วยว่าบรรดาบุตรชายของเขายังอายุน้อยมากเมื่อบิดาของพวกเขาเสียชีวิต Lu (1982) และ Liang (2000) เชื่อว่ามีแนวโน้มสูงที่เล่งทอง (หลิง ถ่ง) เสียชีวิตเมื่ออายุ 29 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก) ใน ค.ศ. 217 มากกว่าเมื่ออายุ 49 ปีใน ค.ศ. 237[3][4]
อ้างอิง
[แก้]- ตันซิ่ว (คริสต์ศตวรรษที่ 3). สามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อ).
- Liang, Zhangju (2000). Yang, Yaokun (บ.ก.). 三國志旁證 (Circumstantial Evidence on the Sanguozhi) (ภาษาChinese). Beijing: Zhonghua Book Company. ISBN 978-7-211-03490-1.
{{cite book}}
: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์) - Lu, Bi (1982). 三國志集解 (Explanatory Commentary to the Sanguozhi) (ภาษาChinese). Beijing: Zhonghua Book Company. ISBN 978-7-101-01019-0.
{{cite book}}
: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์) - ล่อกวนตง (คริสต์ศตวรรษที่ 14). สามก๊ก (ซานกั๋วเหยี่ยนอี้).
- เผย์ ซงจือ (คริสต์ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายสามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อจู้).
- Sakaguchi, Wazumi, บ.ก. (2005). Seishi Sangokushi Gunyu Meimeiden 正史三國志群雄銘銘傳 (ภาษาJapanese). Tokyo: Kojinsha.
{{cite book}}
: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์) - ซือหม่า กวาง (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.