2.ตะลุยโจทย์พันธะเคมี-A-level

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

ตะลุยโจทย์พันะเคมี

1. พิจารณาโครงสร้างของสารต่อไปนี้

ข้อใดระบุความมีขั้วของสาร A B และ C ได้ถูกต้อง


สาร A สาร B สาร C
1. มีขั้ว มีขั้ว มีขั้ว
2. มีขั้ว มีขั้ว ไม่มีขั้ว
3. มีขั้ว ไม่มีขั้ว มีขั้ว
4. ไม่มีขั้ว ไม่มีขั้ว มีขั้ว
5. ไม่มีขั้ว มีขั้ว ไม่มีขั้ว

2. ธาตุสมมติ A และ E อยู่ตาแหน่งติดกันในคาบที่ 3 สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ A มีสูตรเคมีเป็น ACI2 และ ACI4


ซึ่งทั้งคู่เป็นโมเลกุลมีขั้ว สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ E มีสูตรเคมีเป็น ECl3 ที่เป็นโมเลกุลมีขั้ว และ ECl5 ที่เป็น
โมเลกุลไม่มีขั้ว ตามทฤษฎี VSEPR ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ACI4 มีรูปร่างโมเลกุลเป็นทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว
2. ECI3 มีรูปร่างโมเลกุลเป็นพีระมิดฐานสามเหลี่ยม
3. ACl4 มีจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลางเท่ากับ ECl3
4. มุมพันธะ Cl − A − Cl ใน ACl2 มีขนาดใหญ่กว่ามุมพันธะ Cl − E − Cl ใน ECl3
5. มุมพันธะที่แคบที่สุดของ Cl − A − Cl ใน ACl4 และ Cl − E − Cl ใน ECI5 มีค่าน้อยกว่า 109.5o
3. ถ้าผสมสารละลาย A และ B จนเกิดปฏิกิริยาพอดีกัน ได้ตะกอนสีเขียวของ C และสารละลาย D จากนั้นกรอง
ตะกอน C ออกจากสารละลาย D เสร็จแล้วเติมกรด HNO3 ลงบนตะกอน C จะเกิด ฟองแก๊ส X และเมื่อเติม
สารละลาย AgNO3 ลงในสารละลาย D จะเกิดตะกอนสีเหลือง Y สาร A และ B คือสารในข้อใด
สาร A สาร B
1. CaBr2 KCl
2. CaCl2 K2CO3
3. CuBr2 K2CO3
4. CuCO3 KBr
5. Cu(NO3)2 K2CO3

4. ข้อใดเป็นโมเลกุลที่โครงสร้างลิวอิสมีอะตอมกลางเป็นไปตามกฎออกเตต และประกอบด้วยอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ในทุกอะตอมรวมกันมีจานวนมากที่สุด
1. SO3
2. AsH3
3. PF3
4. OF2
5. HNO3

5. ไฮโดรเจนไดซัลไฟด์ (H2S2) เป็นสารประกอบที่มีพันธะไดซัลไฟด์ (disulfide bond) ซึ่งเป็นพันธะระหว่างอะตอม


กามะถันต่อกันด้วยพันธะเดี่ยว (-S-S-) มีลักษณะโมเลกุลใกล้เคียงกับไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2)
ข้อใดเปรียนเทียบสมบัติของ H2S2 กับ H2O2 ได้ถูกต้อง
ความยาวพันธะ สภาพขั้วของโมเลกุล แรงแผ่กระจายลอนดอน
1. -S-S- น้อยกว่า -O-O- H2S2 สูงกว่า H2O2 H2S2 อ่อนกว่า H2O2
2. -S-S- น้อยกว่า -O-O- H2S2 สูงกว่า H2O2 H2S2 แข็งแรงกว่า H2O2
3. -S-S- มากกว่า -O-O- H2S2 สูงกว่า H2O2 H2S2 แข็งแรงกว่า H2O2
4. -S-S- มากกว่า -O-O- H2S2 ต่ากว่า H2O2 H2S2 แข็งแรงกว่า H2O2
5. -S-S- มากกว่า -O-O- H2S2 ต่ากว่า H2O2 H2S2 อ่อนกว่า H2O2
6. พิจารณาปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบฟลูออไรด์กับแก๊สฟลูออรีนได้ผลิตภัณฑ์ดังสมการเคมีต่อไปนี้
ก. SF4 + F2 → SF6
ข. ClF + F2 → ClF2
ค. ClF3 + F2 → ClF5
ง. XeF2 + F2 → XeF4
ปฏิกิริยาเคมีใดที่สารตั้งต้นเป็นโมเลกุลมีขั้วและเมื่อทาปฏิกิริยากับแก๊สฟลูออรีนแล้วได้ผลิตภัณฑ์เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว
1. ก. เท่านั้น
2. ก. และ ข.
3. ก. และ ง.
4. ข. และ ค.
5. ค. และ ง.

7. กาหนดให้พลังงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ ของสารประกอบไอออนิก AX เป็นดังนี้


A(s) + 12X2(g) → AX(s)
พลังงานการระเหิด A = 150 kJ/mol
พลังงานไอออไนเซชัน ลาดับที่ 1 ของ A = 500 kJ/mol
พลังงานพันธะของ X2 = 300 kJ/mol
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของ X = 350 kJ/mol
พลังงานการเกิดสารประกอบ AX = -400 kJ/mol
พลังงานแลตทิซของสารประกอบ AX คายพลังงานเท่ากับกี่กิโลจูลต่อโมล
8. กาหนด
พลังงาน ค่าพลังงาน (kJ/mol)
พลังงานแลตทิซของ NH4 NO3 647
พลังงานไฮเดรชันของ NH+4 307
พลังงานไฮเดรชันของ NO-3 314

ถ้านาแอมโมเนียมไนเทรต (NH4 NO3 ) จานวน 1 โมล มาละลายน้า เมื่อสัมผัสภาชนะจะรู้สึกอย่างไร และปริมาณ


พลังงานของการละลายนี้เป็นเท่าใด
1. รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 26 kJ
2. รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 621 kJ
3. รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 1268 kJ
4. รู้สึกร้อน และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 26 kJ
5. รู้สึกร้อน และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 621 kJ

9. พิจารณากราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์ในการเกิดโมเลกุล Q2 และ R2 ดังภาพ

พลังงานพันธะของ Q2 และความยาวพันธะ R2 เป็นเท่าใด


พลังงานพันธะของ Q-Q (kJ/mol) ความยาวพันธะ R-R (pm)
1. b x1
2. b x4 – x1
3. a-b x1
4. a-b x4
5. a-b x4 – x1
10. ถ้าดึงอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวออกจากอะตอม Xe ในโมเลกุล XeF4 จานวน 1 คู่ ทาให้การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
โมเลกุลกลายเป็นรูปร่างใหม่ ตามทฤษฎี VSEPR ข้อใดถูกต้อง (กาหนด เลขอะตอมของ F = 9 และ Xe = 54)

รูปร่างเดิม รูปร่างใหม่
1. ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว สี่เหลี่ยมแบนราบ
2. ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว ทรงสี่หน้า
3. ทรงสี่หน้า ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว
4. สี่เหลี่ยมแบนราบ ทรงสี่หน้า
5. สี่เหลี่ยมแบนราบ ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว

11. กาหนดพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ถึง 8 (ในหน่วยเมกะจูลต่อโมล) ของธาตุสมมติ 4 ธาตุ ดังนี้


ธาตุ lE1 lE2 lE3 lE4 lE5 lE6 lE7 lE8
W 1.3 2.3 3.8 5.2 6.6 9.4 11.0 33.6
X 1.3 3.4 5.3 7.5 12.0 13.3 71.3 84.1
Y 1.1 2.4 4.6 6.3 37.8 47.3 - -
Z 1.0 2.3 3.4 4.6 7.0 8.5 27.1 31.7
ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ZW4 มีรูปร่างโมเลกุลเป็นสี่เหลี่ยมแบนราบ
2. มุมพันธะ X-Z-X ของ ZX3 กว้างกว่าของ ZX2-4
3. สารประกอบ ZX2 มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลางจานวนหนึ่งคู่
4. สารประกอบ YX2 เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงแผ่กระจายลอนดอนเท่านั้น
5. ธาตุ X และ Z อยู่ในหมู่เดียวกัน แต่เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ Z อยู่ในระดับพลังงานหลักที่สูงกว่า
12. พิจารณาสมการรีดอกซ์ ดังต่อไปนี้
aH+ + bCr2 O2-7 + cCl- → dCl3+ + eCl2 + fH2 O
เมื่อดุลสมการข้างต้น โดยให้ a b c d e และ f เป็นจานวนเต็มที่น้อยที่สุดผลรวมของ a b c d e และ f เป็นเท่าใด

13. ทาการทดลองโดยตวงสารละลาย K2CrO4 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ใส่หลอดทดลอง 3 หลอด จากนั้นเติมน้าและ


สารละลาย AgNO3 เข้มข้น 0.20 mol/dm3 ลงไปในแต่ละหลอด ใช้แท่งแก้วคนผสมกัน ได้ผลิตภัณฑ์เป็น Ag2CrO4
และ KNO3 โดยปริมาตรของสารละลาย K2CrO4 น้า และสารละลาย AgNO3 ที่ใส่ในแต่ละหลอดแสดงในตาราง
ปริมาตร (cm3)
หลอดที่
สารละลาย K2CrO4 น้า สารละลาย AgNO3
I 1.00 5.00 4.00
II 3.00 3.00 4.00
III 5.00 1.00 4.00
สารกาหนดปริมาณของปฏิกิริยาในแต่ละหลอด ข้อใดถูกต้อง
สารกาหนดปริมาณของปฏิกิริยาในหลอดที่
I II III
1. AgNO3 AgNO3 AgNO3
2. ไม่มี AgNO3 K2CrO4
3. K2CrO4 K2CrO4 K2CrO4
4. K2CrO4 K2CrO4 AgNO3
5. K2CrO4 ไม่มี AgNO3
14. พิจารณาสมบัติของสารต่อไปนี้
จุดหลอมเหลว สภาพนาไฟฟ้าเมื่อ สภาพนาไฟฟ้าเมื่อ
ผลึกของแข็ง จุดเดือด (oC) ความแข็ง
(oC) เป็นผลึกของแข็ง เป็นของเหลว
A 119 445 ไม่ค่อยแข็ง ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า
B 1723 2230 แข็งมาก ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า
C 2852 3600 แข็งเปราะ ไม่นาไฟฟ้า นาไฟฟ้า
D 1085 2562 แข็ง นาไฟฟ้า นาไฟฟ้า
ข้อใดถูกต้อง
1. B เป็นผลึกโลหะ
2. D เป็นผลึกโมเลกุล
3. C เป็นผลึกไอออนิก
4. A และ B เป็นผลึกโมเลกุล
5. C เป็นผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย

15. พิจารณาของเหลวต่อไปนี้
ของเหลว สูตร มวลต่อโมล (g/mol)
เอทานอล C2H5OH 46
ไดเอทิลอีเทอร์ C2H5OC2H5 74
เพนเทน C5H12 72
กลีเซอรอล CH2(OH)CH(OH)CH2(OH) 92
เมื่อหยดของเหลวแต่ละชนิดลงบนแผ่นกระจกและสังเกตลักษณะของหยดของเหลวทันที หยดของเหลวที่มี
รูปทรงค่อนข้างกลมที่สุด และแบนหรือกระจายออกมากที่สุดคือข้อใด
รูปทรงค่อนข้างกลม แบนหรือกระจายออกมากที่สุด
1. เพนเทน กลีเซอรอล
2. เพนเทน เอทานอล
3. เอทานอล ไดเอทิลอีเทอร์
4. กลีเซอรอล เพนเทน
5. กลีเซอรอล เอทานอล
16. พิจารณามุมระหว่างพันธะในโมเลกุลต่อไปนี้
BF3 H2S PCI3 SiCI4 XeF4
การเปรียบเทียบมุมระหว่างพันธะในข้อใดถูกต้อง
1. BF3 < PCI3
2. PCI3 < XeF4
3. XeF4 = SiCI4
4. SiCI4 < H2S
5. H2S < BF3

17. แก๊สอีเทน (C6H6) เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์กับแก๊สออกซิเจนในอากาศได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส


คาร์บอนไดออกไซด์และไอน้า ถ้าแก๊สอีเทน 30 g เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์จะมีการเปลี่ยนแปลง
พลังงานดังข้อใด กาหนดค่าพลังงานพันธะดังนี้
พันธะ C-C C-H C-O O-H O-O O=O C=O
พลังงาน (kJ/mol) 350 415 360 460 145 500 800
1. ดูดพลังงาน 1370 kJ
2. คายพลังงาน 1370 kJ
3. คายพลังงาน 852.5 kJ
4. ดูดพลังงาน 820 kJ
5. คายพลังงาน 820 kJ

18. เมื่อผสมแก๊ส CH4 กับแก๊ส CI2 ปริมาณมากเกินพอในภาชนะปิด ใส แล้วฉายแสงที่อุณหภูมิห้อง พบว่า ภาชนะ


ร้อนขึ้นและมีหยดของเหลวเกิดขึ้นภายในภาชนะ ซึ่งภายหลังพิสูจน์ได้ว่าเป็น CCI4 นอกจากนี้เมื่อเปิดภาชนะออกยัง
พบว่าในภาชนะมีแก๊สที่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสขึ้นจากน้าเงินเป็นแดง
จากข้อมูลข้างต้นและแนวโน้มของสมบัติตามตารางธาตุ ข้อความใดถูกต้อง
1. พลังงานพันธะ CI-CI มีค่ามากกว่า พลังงานพันธะ H-CI
2. ความยาวพันธะ C-H มีค่ามากกว่า ความยาวพันธะ C-CI
3. แก๊สที่สามารถเปลี่ยนสีกระดายลิตมัสจากน้าเงินเป็นแดงคือแก๊ส CH4 ที่เหลืออยู่
4. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นมีจานวนพันธะเคมีที่สร้างขึ้นเท่ากับจานวนพันธะเคมีที่สลายไป
5. ผลรวมพลังงานพันธะ C-H กับ CI-CI มีค่ามากกว่า ผลรวมพลังงานพันธะ C-CI กับ H-CI
19. กาหนดกราฟความดันไอของสาร 4 ชนิด คือ น้า เอทานอล ไดเอทิลอีเทอร์ และเอทิลีนไกลคอล ซึ่งแทนด้วย
อักษร A B C และ D แต่ไม่ได้เรียงตามลาดับ

จงระบุชนิดของของเหลวทั้งสี่ และถ้าต้องการเติมเส้นกราฟความดันไอของคาร์บอนเตตระคลอไรด์ลงในรูป เส้นกราฟ


ใหม่นี้ ควรอยู่ที่ตาแหน่งใด
ตาแหน่งเส้นกราฟของ
A B C D
คาร์บอนเตตระคลอไรด์
1 ไดเอทิลอีเทอร์ เอทานอล นา้ เอทิลีนไกลคอล สูงกว่า
2. ไดเอทิลอีเทอร์ เอทานอล เอทิลีนไกลคอล นา้ สูงกว่า
3. เอทิลีนไกลคอล นา้ เอทานอล ไดเอทิลอีเทอร์ ระหว่าง Aกับ B
4. นา้ ไดเอทิลอีเทอร์ เอทานอล เอทิลีนไกลคอล ระหว่าง C กับ D
5. เอทานอล ไดเอทิลอีเทอร์ นา้ เอทิลีนไกลคอล ต่ากว่า D

20. โมเลกุลคู่ใดมีมุมระหว่างพันธะใกล้เคียงกัน
1. SO2 และ CO2
2. BeCl2 และ O3
3. NCI3 และ CCI4
4. BF3 และ CO2
5. XeF4 และ CH4
21. กาหนดแผนภาพและพลังงานบางชนิดที่เกี่ยวข้องในการเกิดสารประกอบ NaI(s)

พลังงานแลตทิซ = 690 kJ/mol


พลังงานในการเกิดสารประกอบ = 271 kJ/mol
พลังงานในการระเหิด = 108 kJ/mol
พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 = 502 kJ/mol
พลังงานในการเกิดเป็นอะตอมไอโอดีน = 107 kJ/mol

ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ∆H2 คือพลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะของไอโอดีน 1 mol
2. ∆H1 เป็นพลังงานที่ใช้เพื่อระเหิดโซเดียม ทาให้เกิดอะตอม 1 mol
3. กระบวนการ I(g) + e- → I-(g) มีการคายพลังงาน 298 kJ/mol
4. ∆H3 เป็นพลังงานที่ใช้เพื่อดึงอิเล็กตรอนออกจากอะตอมโซเดียม 1 mol
1
5. ∆Hf เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยา Na(s) + I2(s) → NaI(s)
2

22. ครูนาบีกเกอร์ที่มีสารละลายไม่มีสี เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 มา 3 บีกเกอร์ โดยติดฉลาก 1 2
และ 3 แล้วให้นักเรียนแบ่งสารละลายมาทดสอบ ได้ผลดังตาราง
การทดสอบ สารละลาย 1 สารละลาย 3 สารละลาย 2
หยดสารละลาย Mg(NO3)2 ไม่เกิดตะกอน ตะกอนขาว ไม่เกิดตะกอน
หยดสารละลาย Ba(NO3)2 ไม่เกิดตะกอน ตะกอนขาว ตะกอนขาว
ไม่เห็น ไม่เห็น
หยดสารละลาย HNO3 เกิดแก๊ส
การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง
สารละลาย 1 2 และ 3 ในข้อใดเป็นไปได้
สารละลาย 1 สารละลาย 2 สารละลาย 3
1. NaNO3 NaCl K2CrO4
2. Na2CO3 Na2SO4 Na2HPO4
3. NaNO3 K2CrO4 Na2CO3
4. Na2HPO4 Na2CO3 Na2SO4
5. NaCl Na2CO3 Na2SO4
23. กาหนดสภาพละลายได้ของสารบางชนิดในหน่วย mol/dm3ที่ 20 ºC ดังนี้
Ca(OH)2 Ba(OH)2 BaSO4 Pb(OH)2 PbSO4 PbCl2
2.3 x 10-2 0.23 1.03 x 10-5 6.64 x 10-4 1.49 x 10-4 3.56 x 10-2
นาสารละลาย 2 ชนิด เข้มข้น 0.1 mol/dm3เท่ากันมาผสมกัน โดยใช้ปริมาตร 1.0 cm3เท่ากัน ดังนี้
ก. BaCl2 + Na2SO4 ข. Pb(NO3)2 + Na2SO4 ค. CaCl2 + NaOH
ง. BaCl2 + NaOH จ. Pb(NO3)2 + NaOH ฉ. Pb(NO3)2 + NaCl
ของผสมในข้อใดไม่เกิดตะกอน
1. ก และ ข
2. ค และ ง เท่านั้น
3. จ และ ฉ
4. ขค และ จ
5. คง และ ฉ

24. การเรียงลาดับพลังงานพันธะเฉลี่ยระหว่าง C กับ O ในโมเลกุลหรือไอออนจากน้อยไปมาก ข้อใดถูกต้อง


1. CO2-3 CO2 CO
2. CO CO2 CO2-3
3. CO CO2-3 CO2
4. CO2 CO2-3 CO
5. CO2-3 CO CO2

25. ข้อใดถูก
1. BeH4และ H3S เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว
2. H3O+และ NF3มีรูปร่างเหมือนกัน
3. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุล H2S ใหญ่กว่าใน NF3
4. โครงสร้างลิวอิสของ BeH4และ CO32- ไม่เป็นไปตามกฎออกเดต
5. NF3และ CO32-มีจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวในโครงสร้างรวมแล้วเท่ากัน
26. พิจารณาโครงสร้างสารประกอบไอออนิกNa2O ดังรูป

(ลูกกลมสีสม้ แทน Na+ สีฟ้าแทน O2-)


จานวนไอออนที่ล้อมรอบ Na+ และ O2- และค่าอัตราส่วนอย่างต่าของ Na+ : O2- เป็นไปตามข้อใด
จานวนไอออนที่ล้อมรอบ Na+ และ O2- อัตราส่วนอย่างต่าของ Na+ : O2-
1. 4 และ 4 1:1
2. 4 และ 8 1:2
3. 4 และ 8 2:1
4. 8 และ 4 1:2
5. 8 และ 4 2:1

27. ธาตุชนิดหนึ่ง (M) เป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง เกิดปฏิกิริยากับฟลูออรีนได้สารประกอบ MF2 เป็นผลึกสีขาว พิจารณา


ข้อมูลต่อไปนี้
M(g) + F2(g) → MF2(s) ∆H1 = -108 kJ/mol
M(g) → M+(g) + e- ∆H2 = 1177 kJ/mol
M+(g) → M2+(g) + e- ∆H3 = 2036 kJ/mol
F2(g) → 2F-(g) ∆H4 = 159 kJ/mol
F(g) + e- → F-(g) ∆H5 = -333 kJ/mol
ถ้า MF2 เป็นสารประกอบไอออนิก พลังงานแลตทิชของสารชนิดนี้จะมีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล
1. 778
2. 1031.5
3. 1637
4. 2814
5. 3147

You might also like