ร
หน้าตา
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (พยัญชนะต้น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /r-/
- (พยัญชนะควบ) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /-r-/
- (พยัญชนะสะกด) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /-n/
ตัวอักษร
[แก้ไข]ร
- พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /r/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /ɾ/, /ɽ/, /ɹ/, /ɻ/
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | รอ | รอ-เรือ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | rɔɔ | rɔɔ-rʉʉa |
ราชบัณฑิตยสภา | ro | ro-ruea | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /rɔː˧/(สัมผัส) | /rɔː˧.rɯa̯˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ร. รอ |
ตัวอักษร
[แก้ไข]ร
- พยัญชนะตัวที่ 35 เรียกว่า ร เรือ เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน 2 ตัว เรียกว่า ร หัน, ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร ตัวหลังเป็นตัวสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง), เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่นแต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีคำอื่นตามพยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียง ออ และตัว ร ออกเสียง อะ เช่น จรลี (จอ–ระ–ลี) หรดี (หอ–ระ–ดี)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ย่อมาจากบาลี รวิ (“ดวงอาทิตย์”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ระ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | rá |
ราชบัณฑิตยสภา | ra | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /raʔ˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ร
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | รอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | rɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | ro | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /rɔː˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ร. รอ |
คำนาม
[แก้ไข]ร
- อักษรย่อของ รอประเมินผล (ใช้ในการประเมินผลการศึกษา)
หมวดหมู่:
- กล่องอักขระที่มีรูปภาพ
- บล็อก Thai
- อักขระอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาร่วมที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาร่วม
- ตัวอักษรภาษาร่วม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- ตัวอักษรภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/aʔ
- คำนามภาษาไทย
- อักษรย่อภาษาไทย
- th:การศึกษา