ไพริดอกซีน
หน้าตา
ไพริดอกซีน | |
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่ออื่น | วิตามิน B6,[1] pyridoxol[2] |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | by mouth, IV, IM, subQ |
รหัส ATC | |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.000.548 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C8H11NO3 |
มวลต่อโมล | 169.180 g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
จุดหลอมเหลว | 159 ถึง 162 องศาเซลเซียส (318 ถึง 324 องศาฟาเรนไฮต์) |
| |
| |
ไพริดอกซีน (Pyridoxine) หรือ วิตามิน B6 หรือ ไพริดอซอล (Pyridoxol) เป็นวิตามินบี6ประเภทหนึ่ง มักพบในอาหารและอาหารเสริม[1] ใช้เพื่อป้องกันภาวะขาดแคลนวิตามินบี6, โรคเลือดจางชนิดซิเดโรบลาส, โรคลมชักจากการขาดวิตามินบี6, ความผิดปกติของเมตาโบลิซึม และ การรับประทานเห็ดพิษ[3][1] ไพริดอกซีนถูกใช้โดยการรับประทานหรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ[3]
ผลข้างเคียงบางครั้งคราวของการใช้ยานี้ ได้แก่ ปวดหัว, มีอาการชา และ ง่วงนอน ยาชนิดนี้สามารถใช้ในสตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรได้ ไพริดอกซีนถือว่าเป็นวิตามินบี6ประเภทหนึ่ง ซึ่งรางกายจำเป็นต้องใช้เพื่อผลิตกรดอะมิโน, คาร์โบไฮเดรต และ ไขมัน[3]
ไพริดอกซีนถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1934 และถูกผลิตขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1938[4][5] ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 WHO Model Formulary 2008 (PDF). World Health Organization. 2009. p. 496. ISBN 9789241547659. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
- ↑ Dryhurst, Glenn (2012). Electrochemistry of Biological Molecules (ภาษาอังกฤษ). Elsevier. p. 562. ISBN 9780323144520.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Pyridoxine Hydrochloride". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
- ↑ Squires, Victor R. (2011). The Role of Food, Agriculture, Forestry and Fisheries in Human Nutrition - Volume IV (ภาษาอังกฤษ). EOLSS Publications. p. 121. ISBN 9781848261952.
- ↑ Harris, Harry (2012). Advances in Human Genetics 6 (ภาษาอังกฤษ). Springer Science & Business Media. p. 39. ISBN 9781461582649.