ข้ามไปเนื้อหา

ไซลิทอล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไซลิทอล
Xylitol[1]
Xylitol

ผลึกไซลิทอล
ชื่อ
Pronunciation /ˈzlɪtɒl/
IUPAC name
meso-Xylitol
Preferred IUPAC name
(2R,3R,4S)-Pentane-1,2,3,4,5-pentol
ชื่ออื่น
(2R,3R,4S)-Pentane-1,2,3,4,5-pentaol (ไม่แนะนำ)
1,2,3,4,5-Pentahydroxypentane
Xylite
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.001.626 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
เลขอี E967 (glazing agents, ...)
KEGG
UNII
  • InChI=1S/C5H12O5/c6-1-3(8)5(10)4(9)2-7/h3-10H,1-2H2/t3-,4+,5+ checkY
    Key: HEBKCHPVOIAQTA-SCDXWVJYSA-N checkY
  • OC[C@@H](O)[C@H](O)[C@@H](O)CO
คุณสมบัติ
C5H12O5
มวลโมเลกุล 152.146 g·mol−1
ความหนาแน่น 1.52 g/cm3[2]
จุดหลอมเหลว 92–96 องศาเซลเซียส (198–205 องศาฟาเรนไฮต์; 365–369 เคลวิน)
จุดเดือด 345.39 องศาเซลเซียส (653.70 องศาฟาเรนไฮต์; 618.54 เคลวิน) Predicted value using Adapted Stein & Brown method
~100 g/L
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 1: Exposure would cause irritation but only minor residual injury. E.g. turpentineFlammability 1: Must be pre-heated before ignition can occur. Flash point over 93 °C (200 °F). E.g. canola oilInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
1
1
0
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
อัลเคนที่เกี่ยวข้อง
เพนเทน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ไซลิทอล (อังกฤษ: xylitol) เป็นน้ำตาลแอลกอฮอล์ที่มีคาร์บอน 5 อะตอมใช้ให้ความหวานเพื่อใช้ทดแทนน้ำตาล โดยมีอยู่ตามธรรมชาติ สามารถพบได้ทั่วไปในผักผลไม้หลายชนิด ในทางการแพทย์ มีการใช้ไซลิทอลเป็นอาหารทางสายของผู้ป่วย และยังมีการใช้เพื่อป้องกันฟันผุ เพราะไซลิทอลทำให้ความเป็นกรดในน้ำลายลดลง การเกิดการสะสมกลับของแร่ธาตุบนผิวฟันจะเกิดได้มากขึ้น[3] บริษัทผลิตหมากฝรั่งบางแห่งนำเอาสารไซลิทอลมาเป็นส่วนผสม ยังพบได้ในยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปาก และลูกอมบางยี่ห้อ

อ้างอิง

[แก้]
  1. เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสำหรับ xylitol เก็บถาวร 2016-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก Fisher Scientific. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2014.
  2. "Xylitol". Chemspider.com. Chemical Structure. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2015.
  3. Yasuo Miake; Yoji Saeki; Mitsuru Takahashi & Takaaki Yanagisawa (20 พฤศจิกายน 2003). "Remineralization effects of xylitol on demineralized enamel". Journal of Electron Microscopy. Tokyo. 52 (5): 471–476. doi:10.1093/jmicro/52.5.471. PMID 14700079.