อะคริลาไมด์
หน้าตา
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
Prop-2-enamide[2] | |||
ชื่ออื่น
Acrylamide
Acrylic amide[1] | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.001.067 | ||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
UNII | |||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
C3H5NO | |||
มวลโมเลกุล | 71.079 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ผลึกของแข็งสีขาว[1] | ||
กลิ่น | ไม่มีกลิ่น[1] | ||
ความหนาแน่น | 1.322 g/cm3 | ||
จุดหลอมเหลว | 84.5 องศาเซลเซียส (184.1 องศาฟาเรนไฮต์; 357.6 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | None (polymerization); decomposes at 175-300°C[1] | ||
390 g/L (25 °C)[3] | |||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
potential occupational carcinogen[1] | ||
GHS labelling: | |||
[4] | |||
H301, H312, H315, H317, H319, H332, H340, H350, H361, H372[4] | |||
P201, P280, P301+P310, P305+P351+P338, P308+P313[4] | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | 138 องศาเซลเซียส (280 องศาฟาเรนไฮต์; 411 เคลวิน) | ||
424 องศาเซลเซียส (795 องศาฟาเรนไฮต์; 697 เคลวิน) | |||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LD50 (median dose)
|
100-200 mg/kg (mammal, oral) 107 mg/kg (mouse, oral) 150 mg/kg (rabbit, oral) 150 mg/kg (guinea pig, oral) 124 mg/kg (rat, oral)[5] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
TWA 0.3 mg/m3 [skin][1] | ||
REL (Recommended)
|
Ca TWA 0.03 mg/m3 [skin][1] | ||
IDLH (Immediate danger)
|
60 mg/m3[1] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 0091 | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
อะคริลาไมด์ (อังกฤษ: Acrylamide) เป็นสารเคมีที่เกิดขึ้นในอาหารประเภทอบกรอบ ทอด ปิ้ง คั่วทั้งหลาย รวมทั้งกาแฟด้วย. เชื่อกันว่าอะคริลาไมด์เป็นสารก่อมะเร็ง[6]
สารเคมีชนิดนี้เป็นที่รู้จักกันครั้งแรกในปี 2002 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน ในการลดปริมาณ อะคริลาไมด์ในอาหาร คือไม่ควรทอดอาหารนานเกินไป ลดอุณหภูมิในการอบและการทอด อย่าให้เค้กหรือบิสกิตเป็นสีน้ำตาลเข้ม เพราะจากการทดสอบขององค์กรผู้บริโภคในเยอรมนีพบว่า ยิ่งขนมปังเกรียมมากเท่าไหร่ ปริมาณอะคริลาไมด์ก็มากขึ้นเท่านั้น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0012". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ "Front Matter". Nomenclature of Organic Chemistry : IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge: The Royal Society of Chemistry. 2014. p. 842. doi:10.1039/9781849733069-FP001. ISBN 978-0-85404-182-4.
- ↑ "Human Metabolome Database: Showing metabocard for Acrylamide (HMDB0004296)".
- ↑ 4.0 4.1 4.2 Sigma-Aldrich Co., Acrylamide. Retrieved on 2022-02-15.
- ↑ Centers for Disease Control and Prevention (1994). "Documentation for Immediately Dangerous To Life or Health Concentrations (IDLHs) - Acrylamide".
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-05. สืบค้นเมื่อ 2008-03-23.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Lineback, David R.; Coughlin, James R.; Stadler, Richard H. (2012-04-10). "Acrylamide in Foods: A Review of the Science and Future Considerations". Annual Review of Food Science and Technology (ภาษาอังกฤษ). 3 (1): 15–35. doi:10.1146/annurev-food-022811-101114. ISSN 1941-1413. PMID 22136129.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ อะคริลาไมด์