ข้ามไปเนื้อหา

สมาคมการค้าเสรียุโรป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมาคมการค้าเสรียุโรป

ชื่อพื้นเมือง:
สัญลักษณ์ของสมาคมการค้าเสรียุโรป
สัญลักษณ์
ที่ตั้งของ เอฟตา  (สีเขียว) ในยุโรป  (สีเขียวและสีเทาเข้ม)
ที่ตั้งของ เอฟตา  (สีเขียว)

ในยุโรป  (สีเขียวและสีเทาเข้ม)

สำนักงานเลขาธิการเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์
46°57′N 7°27′E / 46.950°N 7.450°E / 46.950; 7.450
เมืองใหญ่สุดออสโล นอร์เวย์
ภาษาทำงานอังกฤษ
ภาษาราชการ
ประเภทองค์การภูมิภาค, เขตการค้าเสรี
ชาติสมาชิก
ผู้นำ
• เลขาธิการ
Henri Gétaz
• ประธานสภา
ไอซ์แลนด์[2]
ก่อตั้ง
• ลงนามอนุสัญญา
4 มกราคม 1960
• สถาปนา
3 พฤษภาคม 1960
พื้นที่
• รวม
529,600 ตารางกิโลเมตร (204,500 ตารางไมล์)
ประชากร
• 2020 ประมาณ
14,400,000[3]
26.5 ต่อตารางกิโลเมตร (68.6 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2020 (ประมาณ)
• รวม
1.0 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[3]
70,000 ดอลลาร์สหรัฐ
จีดีพี (ราคาตลาด) 2020 (ประมาณ)
• รวม
1.1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[3]
79,000 ดอลลาร์สหรัฐ
สกุลเงิน
เขตเวลา
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง)
Note: ไอซ์แลนด์ใช้เวลายุโรปตะวันตกตลอดทั้งปี ในขณะที่ลีชเทินชไตน์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ใช้เวลายุโรปกลาง และเวลาออมแสงยุโรปกลาง
เว็บไซต์
efta.int

สมาคมการค้าเสรียุโรป หรือ เอฟตา (อังกฤษ: European Free Trade Association; EFTA) เป็นกลุ่มการค้าของทวีปยุโรป ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2503 เป็นอีกกลุ่มนอกจากประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในตอนนั้น มีสมาชิกก่อตั้งคือออสเตรีย เดนมาร์ก นอร์เวย์ โปรตุเกส สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร ปัจจุบันเอฟตามีสมาชิกคือไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์

ฟินแลนด์เริ่มเป็นสมาชิกสมทบในปี พ.ศ. 2504 และกลายมาเป็นสมาชิกเต็มในปี พ.ศ. 2529 และไอซ์แลนด์เข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2513 สหราชอาณาจักรและเดนมาร์กเข้าร่วมประชาคมยุโรปในปีพ.ศ. 2516 จึงหมดสมาชิกภาพของเอฟตา โปรตุเกสเข้าประชาคมยุโรปเช่นกันในปี พ.ศ. 2528 ลิกเตนสไตน์เข้าร่วมเอฟตาในปี พ.ศ. 2534 และสุดท้ายฟินแลนด์ สวีเดน ออสเตรีย ออกจากเอฟตาไปเข้าร่วมสหภาพยุโรปใน พ.ศ. 2538 [4]

ชาติสมาชิก

[แก้]
  รัฐสมาชิก EFTA ปัจจุบัน
  อดีตรัฐสมาชิก ปัจจุบันเป็นรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

สมาชิกปัจจุบัน

[แก้]
คู่สัญญา เข้าร่วม ประชากร[5]
(พ.ศ. 2560)
พื้นที่ (km²) เมืองหลวง จีดีพี ต่อล้าน (PPP)[note 1] จีดีพีต่อหัว (PPP)[note 1]
 ไอซ์แลนด์ 1 มกราคม 1970 332,474 103,000 เรคยาวิก 12,831[6] 39,223[6]
 ลีชเทินชไตน์ 1 มกราคม 1991 37,666 160.4 วาดุซ 3,545[note 2] 98,432[note 2]
 นอร์เวย์ 3 พฤษภาคม 1960 5,254,694 385,155 ออสโล 265,911[7] 53,470[7]
 สวิตเซอร์แลนด์ 3 พฤษภาคม 1960 8,401,739 41,285 แบร์น 363,421[8] 45,417[8]

อดีตสมาชิก

[แก้]
ชาติ เข้าร่วม ถอนตัว เข้าร่วม EEC หรือ สหภาพยุโรป
 ออสเตรีย 3 พฤษภาคม 1960 31 ธันวาคม 1994 1 มกราคม 1995
 เดนมาร์ก 3 พฤษภาคม 1960 31 ธันวาคม 1972 1 มกราคม 1973
 ฟินแลนด์ 5 พฤศจิกายน 1985 31 ธันวาคม 1994 1 มกราคม 1995
 โปรตุเกส 3 พฤษภาคม 1960 31 ธันวาคม 1985 1 มกราคม 1986
 สวีเดน 3 พฤษภาคม 1960 31 ธันวาคม 1994 1 มกราคม 1995
 สหราชอาณาจักร 3 พฤษภาคม 1960 31 ธันวาคม 1972 1 มกราคม 1973 (ถอนตัว 31 มกราคม 2020)

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Láhkasánit - Saamelaiskäräjät" (PDF). Sámi Parliament of Finland. สืบค้นเมื่อ 2019-08-29.
  2. "Chairmanship". www.efta.int. EFTA. July 2020.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Report for Selected Countries and Subjects". imf.org.
  4. EFTA History เก็บถาวร 2007-02-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เรียกข้อมูลวันที่ 23 มี.ค. 2551 (อังกฤษ)
  5. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  6. 6.0 6.1 "Iceland". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 17 April 2013.
  7. 7.0 7.1 "Norway". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 20 April 2012.
  8. 8.0 8.1 "Report for Selected Countries and Subjects". Imf.org. 2006-09-14. สืบค้นเมื่อ 2017-05-08.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน