ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฝรั่งเศส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฝรั่งเศส
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลฝรั่งเศส
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเอมีล รูโซส
อันดับเอฟไอวีบี19 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน3 (ครั้งแรกเมื่อ 1952)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 7 (1952)
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป
เข้าร่วมแข่งขัน17 (ครั้งแรกเมื่อ 1949)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 4 (1951)
French Volleyball Federation (ในภาษาฝรั่งเศส)

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Équipe de France féminine de volley-ball) เป็นตัวแทนของประเทศฝรั่งเศสในการแข่งขันวอลเลย์บอลนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์วอลเลย์บอลฝรั่งเศส (FFVolley)

ในปี ค.ศ. 2021 ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป ทีมชาติฝรั่งเศสได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ โดยแพ้ทีมชาติเซอร์เบีย 3–1 เซ็ต และจบอันดับที่ 7 ซึ่งเป็นอันดับที่ดีที่สุดในรอบ 34 ปี ต่อมาในปี ค.ศ. 2022 ทีมชาติฝรั่งเศสคว้าแชมป์ วอลเลย์บอลยูโรเปียนโกลเดนลีก 2023 ซึ่งเป็นคว้าแชมป์รายการแรกในประวัติศาสตร์ทีมชาติ[1]

ผลงานการแข่งขัน

[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
  • ฝรั่งเศส 2024 – ผ่านการคัดเลือกในฐานะเจ้าภาพ
  • สหภาพโซเวียต 1952 – อันดับที่ 7
  • ฝรั่งเศส 1956 – อันดับที่ 12
  • บราซิล 1960ไม่ได้เข้าร่วม
  • สหภาพโซเวียต 1962ไม่ได้เข้าร่วม
  • ญี่ปุ่น 1967ไม่ได้เข้าร่วม
  • บัลแกเรีย 1970ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1974 – อันดับที่ 12
  • สหภาพโซเวียต 1978ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เปรู 1982ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เชโกสโลวาเกีย 1986ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 1990ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1994ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1998ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนี 2002ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2006ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2010ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2014ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2018ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เนเธอร์แลนด์/โปแลนด์ 2022ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ไทย 2017 – อันดับที่ 27
  • เปรู 2018 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เปรู 2019 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • โครเอเชีย 2022 – อันดับที่ 5
  • ฝรั่งเศส 2023 ชนะเลิศ
  • เชโกสโลวาเกีย 1949 – อันดับที่ 5
  • บัลแกเรีย 1950ไม่ได้เข้าร่วม
  • ฝรั่งเศส 1951 – อันดับที่ 4
  • โรมาเนีย 1955ไม่ได้เข้าร่วม
  • เชโกสโลวาเกีย 1958 – อันดับที่ 9
  • โรมาเนีย 1963ไม่ได้เข้าร่วม
  • ตุรกี 1967ไม่ได้เข้าร่วม
  • อิตาลี 1971 – อันดับที่ 13
  • สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฟินแลนด์ 1977ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฝรั่งเศส 1979 – อันดับที่ 11
  • บัลแกเรีย 1981ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนีตะวันออก 1983 – อันดับที่ 10
  • เนเธอร์แลนด์ 1985 – อันดับที่ 8
  • เบลเยียม 1987 – อันดับที่ 7
  • เยอรมนีตะวันตก 1989 – อันดับที่ 10
  • อิตาลี 1991 – อันดับที่ 9
  • เช็กเกีย 1993ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เนเธอร์แลนด์ 1995ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เช็กเกีย 1997ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 1999ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 2001ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ตุรกี 2003ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • โครเอเชีย 2005ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เบลเยียม/ลักเซมเบิร์ก 2007 – อันดับที่ 8
  • โปแลนด์ 2009 – อันดับที่ 14
  • อิตาลี/เซอร์เบีย 2011 – อันดับที่ 10
  • เยอรมนี/สวิตเซอร์แลนด์ 2013 – อันดับที่ 8
  • เบลเยียม/เนเธอร์แลนด์ 2015ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อาเซอร์ไบจาน/ประเทศจอร์เจีย 2017ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เช็กเกีย/ฮังการี/โปแลนด์/ตุรกี 2019 – อันดับที่ 21
  • เซอร์เบีย/โครเอเชีย/บัลแกเรีย/โรมาเนีย 2021 – อันดับที่ 7
  • เบลเยียม/อิตาลี/เอสโตเนีย/เยอรมนี 2023 – TBD
  • ตุรกี 2009 – อันดับที่ 4
  • ตุรกี 2010ไม่ได้เข้าร่วม
  • ตุรกี 2011 – อันดับที่ 6
  • เช็กเกีย 2012 – อันดับที่ 5
  • บัลแกเรีย 2013ไม่ได้เข้าร่วม
  • เยอรมนี/ตุรกี 2014ไม่ได้เข้าร่วม
  • ฮังการี/ตุรกี 2015ไม่ได้เข้าร่วม
  • อาเซอร์ไบจาน/สโลวาเกีย 2016 – อันดับที่ 8
  • ฟินแลนด์/ยูเครน 2017 – อันดับที่ 5
  • ฮังการี 2018 – อันดับที่ 11
  • โครเอเชีย 2019 – อันดับที่ 10
  • บัลแกเรีย 2021 – อันดับที่ 5
  • ฝรั่งเศส 2022 ชนะเลิศ
  • สวีเดน/ยูเครน 2023 – อันดับที่ 5

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Les Bleues remportent la Ligue européenne de volley" (ภาษาฝรั่งเศส). June 20, 2022. สืบค้นเมื่อ July 28, 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]