ภาษาอิงกุช
หน้าตา
ภาษาอิงกุซ | |
---|---|
гӀалгӀай мотт (ghalghaj mott) | |
ออกเสียง | [ʁəlʁɑj mot] |
ประเทศที่มีการพูด | คอเคซัสเหนือ |
ภูมิภาค | สาธารณรัฐอิงกูเชเตีย, สาธารณรัฐเชเชน |
ชาติพันธุ์ | ชาวอิงกุช |
จำนวนผู้พูด | ±500,000 คน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรซีริลลิก (ปัจจุบัน) อักษรจอร์เจีย, อาหรับ, ละติน (อดีต) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | รัสเซีย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | inh |
ISO 639-3 | inh |
ภาษาอิงกุช (อังกฤษ: Ingush, /ˈɪŋɡʊʃ/; อิงกุช: ГӀалгӀай мотт, Ghalghaj mott, ออกเสียง แม่แบบ:IPA-cau) เป็นภาษาคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนือที่มีผู้พูดประมาณ 500,000 คนที่รู้จักกันในชื่อชาวอิงกุช กระจายทั่วสาธารณรัฐอิงกูเชเตียและสาธารณรัฐเชเชนของประเทศรัสเซีย
จำนวนผู้พูดตามภูมิภาค
[แก้]ภาษาอิงกุชมีผู้พูดประมาณ 413,000 คน (2002)[1] ส่ววนใหญ่อยู่ทั่วภูมิภาคในคอเคซัส และบางส่วนของประเทศรัสเซีย โดยเฉพาะในสาธารณรัฐอิงกูเชเตียและสาธารณรัฐเชเชน
สถานะทางการ
[แก้]ภาษาอิงกุชเป็นภาษาราชการร่วมกับภาษารัสเซียในสาธารณรัฐอิงกูเชเตีย หน่วยองค์ประกอบในประเทศรัสเซีย
ระบบการเขียน
[แก้]ภาษาอิงกุชเริ่มมีภาษาเขียนด้วยระบบการเขียนจากอักษรอาหรับในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมจึงหันมาใช้อักษรละติน ซึ่งภายหลังแทนที่ด้วยอักษรซีริลลิก
А а | Аь аь | Б б | В в | Г г | ГӀ гӏ | Д д | Е е |
Ё ё | Ж ж | З з | И и | Й й | К к | Кх кх | Къ къ |
КӀ кӏ | Л л | М м | Н н | О о | П п | ПӀ пӏ | Р р |
С с | Т т | ТӀ тӏ | У у | Ф ф | Х х | Хь хь | ХӀ хӏ |
Ц ц | ЦӀ цӏ | Ч ч | ЧӀ чӏ | Ш ш | Щ щ | Ъ ъ | Ы ы |
Ь ь | Э э | Ю ю | Я я | Яь яь | Ӏ ӏ |
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาอินกุช