ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
หน้าตา
ตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Neonatal jaundice) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Neonatal hyperbilirubinemia, neonatal icterus, jaundice in newborns |
ทารกแรกเกิดมีภาวะตัวเหลือง | |
สาขาวิชา | Pediatrics |
อาการ | Yellowish discoloration of the skin and white part of the eyes[1] |
ภาวะแทรกซ้อน | Seizures, cerebral palsy, kernicterus[1] |
การตั้งต้น | Newborns[1] |
ประเภท | Physiologic, pathologic[1] |
สาเหตุ | Red blood cell breakdown, liver disease, infection, hypothyroidism, metabolic disorders[2][1] |
วิธีวินิจฉัย | Based on symptoms, confirmed by bilirubin[1] |
การรักษา | More frequent feeding, phototherapy, exchange transfusions[1] |
ความชุก | >50% of babies[1] |
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (อังกฤษ: neonatal jaundice) หรือภาวะบิลิรูบินในเลือดสูงในทารกแรกเกิด (อังกฤษ: neonatal hyperbilirubinemia) คือภาวะที่ผิวหนังและเนื้อเยื่ออื่นๆ (เช่น ตาขาว) ของทารกแรกเกิด มีสีเหลือง จากการที่ร่างกายมีสารบิลิรูบินมากกว่าปกติ[1] อาการอื่นที่อาจพบได้ เช่น นอนหลับมากกว่าปกติ กินนมน้อยกว่าปกติ[1] หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น อาการชัก พิการจากสมอง หรือภาวะสมองเป็นพิษจากบิลิรูบิน (kernicterus)[1]
โดยทั่วไปหากในเลือดมีความเข้มข้นของบิลิรูบินมากกว่า 85 μmol/l (5 mg/dL) ก็จะทำให้มีตัวเหลืองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ส่วนในผู้ใหญ่นั้นจะต้องมีสูงถึง 34 μmol/l (2 mg/dL) จึงจะเห็นว่าเหลือง
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- American Academy of Pediatrics has issued guidelines for managing this disease, which can be obtained for free.
- National Institute for Health and Care Excellence (NICE) has issued guidelines for the recognition and treatment of neonatal jaundice in the United Kingdom.
การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |