ข้ามไปเนื้อหา

บัรฮัม ศอเลียะห์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บัรฮัม ศอเลียะห์
برهم صالح
ศอเลียะห์ใน ค.ศ. 2019
ประธานาธิบดีอิรัก คนที่ 8
ดำรงตำแหน่ง
2 ตุลาคม ค.ศ. 2018 – 17 ตุลาคม ค.ศ. 2022
นายกรัฐมนตรีฮัยดัร อัลอะบาดี
อาดิล อับดุลมะฮ์ดี
มุศเฏาะฟา อัลกาซิมี
ก่อนหน้าฟูอาด มะอ์ศูม
ถัดไปอับดุลละฏีฟ เราะชีด
นายกรัฐมนตรีภูมิภาคเคอร์ดิสถาน
ดำรงตำแหน่ง
28 ตุลาคม 2009 – 5 เมษายน 2012
ประธานาธิบดีมัสอูด บัรซานี
ก่อนหน้าเนชีร์วาน บัรซานี
ถัดไปเนชีร์วาน บัรซานี
ดำรงตำแหน่ง
21 มกราคม 2001 – 15 กรกฎาคม 2004
ประธานาธิบดีญะลาล ฏอละบานี
ก่อนหน้าโคสรัต เราะซูล อะลี
ถัดไปOmar Fattah Hussein (รักษาการ)
รองนายกรัฐมนตรีอิรัก
ดำรงตำแหน่ง
20 พฤษภาคม 2006[1] – 20 สิงหาคม 2009[2]
ประธานาธิบดีญะลาล ฏอละบานี
นายกรัฐมนตรีนูรี อัลมาลิกี
ก่อนหน้าโรฌ ชาเวส
ถัดไปโรฌ ชาเวส
ดำรงตำแหน่ง
28 มิถุนายน 2004 – 3 พฤษภาคม 2005
นายกรัฐมนตรีอิยาด อะลาวี
ก่อนหน้าอำนาจชั่วคราวของแนวร่วม
ถัดไปRowsch Shaways
ประธานคณะกรรมการมูลนิธิที่ The American University of Iraq, Sulaimani
ดำรงตำแหน่ง
2007–2017
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ถัดไปจิลล์ ดาร์บี
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
บัรฮัม อะห์มัด ศอเลียะห์

(1960-09-12) 12 กันยายน ค.ศ. 1960 (63 ปี)
อัสซุลัยมะนียะฮ์ สาธารณรัฐอิรัก
สัญชาติ
เชื้อชาติเคิร์ด
พรรคการเมืองสหภาพรักชาติแห่งเคอร์ดิสถาน (1976–2017, 2018–ปัจจุบัน)
การเข้าร่วม
พรรคการเมืองอื่น
Coalition for Democracy and Justice (2018)
คู่สมรสSarbagh Salih
บุตร2
ที่อยู่อาศัยทำเนียบร็อฎวานียะฮ์ แบกแดด ประเทศอิรัก
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยคาร์ดิฟฟ์
มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล
เว็บไซต์t.me/bahmop

บัรฮัม ศอเลียะห์ (เคิร์ด: بەرھەم ساڵح, อักษรโรมัน: Berhem Salih; อาหรับ: برهم صالح; เกิดวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1960) เป็นนักการเมืองชาวอิรักเชื้อสายเคิร์ดที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอิรักคนที่ 8 ใน ค.ศ. 2018 ถึง 2022[5]

เขาเคยเป็นอดีตนายกรัฐมนตรี ภูมิภาคเคอร์ดิสถาน และอดีตรองนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลกลางอิรัก เขาได้รับเลือกและขึ้นดำรงตำแหน่งในฐานะประธานาธิบดีอิรักเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 2018 ศอเลียะห์เป็นประธานาธิบดีอิรักคนที่สามที่ไม่ใช่ชาวอาหรับ ต่อจากฟูอาด มะอ์ศูมที่เป็นชาวเคิร์ดด้วย ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2022 เขาพ่ายแพ้การเลือกตั้งใหม่ให้กับอับดุลละฏีฟ เราะชีด

ชีวิตช่วงต้นและการศึกษา

[แก้]

ศอเลียะห์เกิดใน ค.ศ. 1960 ที่อัสซุลัยมะนียะฮ์ เขาถูกจับกุมในสมัยบะอษ์เมื่อ ค.ศ. 1979 สองครั้งในข้อหาการมีส่วนร่วมในขบวนการเคิร์ดระดับชาติดด้วยการถ่ายภาพผู้ประท้วงในเมืองอัสซุลัยมะนียะฮ์ และถูกกักตัว 43 วันที่เรือนจำคณะกรรมการสอบสวนคดีพิเศษในเมืองคีร์คูก ซึ่งเขาถูกทรมาน[6] เมื่อได้รับการปล่อยตัว เขาก็เรียนจบมัธยมและออกจากอิรักไปยังสหราชอาณาจักรเพื่อหลบหนีการกดขี่[6]

ชีวิตส่วนตัว

[แก้]

ศอเลียะห์แต่งงานกับ Sarbagh Salih หัวหน้าและสมาชิกผู้ก่อตั้งมูลนิธิพฤกษศาสตร์เคิร์ดและนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิสตรี[7] ทั้งคู่ให้กำเนิดลูก 2 คน[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. The CIA World Factbook 2010, Book 2010. CIA. 2010. p. 331. ISBN 9781602397279. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2021. สืบค้นเมื่อ 8 November 2020.
  2. "Dabbagh: Iraqi PM approves resignation of Barham Salih". Patriotic Union of Kurdistan. 10 เมษายน 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 ธันวาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2009.
  3. "Who's who in Iraq's new cabinet". BBC. 20 May 2006. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2018. สืบค้นเมื่อ 23 December 2016.
  4. Katzman, Kenneth (2009). Iraq: Post-Saddam Governance and Security. Diane Publishing Co. p. 55. ISBN 978-1-4379-1944-8. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2021. สืบค้นเมื่อ 8 November 2020.
  5. "Iraq elects Kurdish Barham Salih as president". The National. 2 October 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2 October 2018.
  6. 6.0 6.1 "Barham Salih: Biography and Profile". 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 November 2009.
  7. "Dr. Barham Salih, Deputy prime minister, Republic of Iraq" (PDF). Brookings Institution. 13 September 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 3 November 2007.
  8. من هو الرئيس العراقي الجديد [Who is the new Iraqi president?]. Al Sumaria TV (ภาษาอาหรับ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 October 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]