ข้ามไปเนื้อหา

ทองคำสำรอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ทองคำสำรอง (อังกฤษ: gold reserve) เป็นสินทรัพย์ชนิดหนึ่ง ที่ธนาคารกลางของประเทศ หรือองค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ ได้ซื้อเก็บสะสมไว้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสำรองระหว่างประเทศ เพื่อเป็นการลงทุนและเป็นหลักประกันทางการเงินของประเทศและองค์กรนั้นๆ ทองคำ 1 ตันมีมูลค่าเท่ากับ 41.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (1.38 พันล้านบาท) ณ ราคาวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 2017

อันดับ

[แก้]
ปริมาณทองคำสำรองต่อประชากร

ปริมาณทองคำสำรอง ที่ถือครองโดยธนาคารกลางของแต่ละประเทศ หรือกลุ่มองค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ

สูงสุด 50 อันดับในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2023 จัดอันดับโดย สภาทองคำโลก[1][2]
อันดับ ประเทศ/องค์กรผู้ถือครอง ถือครอง
(ตัน)
สัดส่วนในทุนสำรอง
เงินตราระหว่างประเทศ
1  สหรัฐอเมริกา 8,133.5 66.3%
2  เยอรมนี 3,359.1 66.0%
3  อิตาลี 2,451.8 62.9%
4  ฝรั่งเศส 2,436.4 57.8%
5  รัสเซีย 2,298.5 21.4%
6  จีน 2,113.4 3.3%
7  สวิตเซอร์แลนด์ 1,040.0 5.6%
8  ญี่ปุ่น 846.0 3.5%
9  อินเดีย 795.0 6.9%
10  เนเธอร์แลนด์ 612.5 55.4%
ธนาคารกลางยุโรป 504.8 34.3%
11  ไต้หวัน 423.6 4.3%
12  คาซัคสถาน 402.4 68.3%
13  ตุรกี 394.2[a] 23.9%
14  โปรตุเกส 382.6 68.9%
15  อุซเบกิสถาน 362.0 59.7%
16  โปแลนด์ 337.0 11%
17  ซาอุดีอาระเบีย 323.1 3.9%
18  สหราชอาณาจักร 310.3 9.3%
19  เลบานอน 286.8 46.9%
20  สเปน 281.6 17.8%
21  ออสเตรีย 280.0 48.0%
22  ไทย 244.2 5.8%
23  สิงคโปร์[4] 228.9 1.8%
24  เบลเยียม 227.4 31.8%
25  แอลจีเรีย 173.6 18.0%
26  เวเนซุเอลา 161.2 82.9%
27  ฟิลิปปินส์ 155.4 8.5%
28  อิรัก[5] 133.3 8.7%
29  บราซิล 129.7 2.1%
30  อียิปต์ 125.9 N/A
31  สวีเดน 125.7 11.8%
32  แอฟริกาใต้ 125.3 12.6%
33  เม็กซิโก 119.9 3.3%
34  ลิเบีย 116.6 8.4%
35  กรีซ 114.1 46.5%
36  เกาหลีใต้ 104.4 1.3%
37  โรมาเนีย 103.6 11.1%
ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ 102.0 [b]
38  ฮังการี 94.5 13.7%
39  ออสเตรเลีย 79.8 8.1%
40  คูเวต 79.0 9.2%
41  อินโดนีเซีย 78.6 3.1%
42  เดนมาร์ก 66.5 4.7%
43  ปากีสถาน 66.0 18.0%
44  อาร์เจนตินา 61.7 9.5%
45  กาตาร์ 57.4 7.8%
46  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 55.4 2.4%
47  เบลารุส 53.4 36.7%
48  กัมพูชา 50.4 14.4%
49  ฟินแลนด์ 49.0 17.1%
50  จอร์แดน 43.5 16.2%
51  เซอร์เบีย[6] 39.5 N/A

ประเภทการถือครอง

[แก้]
ประเภทการถือครองทองคำในโลก ปี 2011
(ที่มา: United States Geological Survey)[7]
ประเภท ถือครองทองคำ
(ตัน)
สัดส่วนการถือครองทองคำโลก
ทั้งหมด 171,300 100%
เครื่องประดับ 84,300 49.2%
การลงทุน
(ทองคำแท่ง, เหรียญทอง)
33,000 19.26%
ธนาคารกลาง 29,500 17.2%
อุตสาหกรรม 20,800 12.14%
ไม่สามารถระบุ 3,700 2.2%

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ยอดรวมนี้ไม่รวมทองคำที่ธนาคารอื่นถือครองโดยฝากไว้ที่ธนาคารกลางภายใต้กลไกตัวเลือกการสำรอง (ROM)[3] ซึ่งมีมูลค่าอยู่ที่ 364 ตัน ณ สิ้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 2020
  2. งบดุล BIS และ IMF ไม่ยอมรับการคำนวณร้อยละนี้ ในกรณีของประเทศใด ๆ จะไม่มีข้อมูลที่ทันสมัยสำหรับทุนสำรองอื่น ๆ

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Research - World Gold Council".
  2. "World Official Gold Holdings as of December 2022".
  3. "Press release on the facility of maintaining reserve requirements in foreign exchange and gold" (PDF). tcmb.gov.tr. 16 August 2012.
  4. "International Reserves and Foreign Currency Liquidity August 2023". Monetary Authority of Singapore. August 2023.
  5. "Iraq possesses 132 tons of gold reserves". Iraqi News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2023-08-17. สืบค้นเมื่อ 2023-08-17.
  6. "Dragašević: NBS ima rekordne rezerve zlata od 39,5 tona". JMU Radio-televizija Vojvodine (ภาษาSerbian (Latin script)). สืบค้นเมื่อ 2023-12-02.
  7. "Two Methods for Estimating the Price of Gold by Mike Hewitt". DollarDaze Economic Commentary Blog - Gold, Oil, Stocks, Investments, Currencies, and the Federal Reserve. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 ธันวาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2012.