ข้ามไปเนื้อหา

ทรอเฟเดช็องปียง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทรอเฟเดช็องปียง
logo
ก่อตั้งค.ศ. 1995
ภูมิภาค ฝรั่งเศส
โมนาโก โมนาโก
จำนวนทีม2
ทีมชนะเลิศปัจจุบันปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (11 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (11 สมัย)
ทรอเฟเดช็องปิยง 2023

ทรอเฟเดช็องปียง (ฝรั่งเศส: Trophée des Champions) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยในประเทศฝรั่งเศส ระหว่างทีมผู้ชนะเลิศลีกเอิง พบกับทีมผู้ชนะเลิศกุปเดอฟร็องส์ในฤดูกาลล่าสุด เริ่มแข่งขันโดยใช้ชื่อนี้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 มีระดับเทียบเท่าถ้วยซูเปอร์คัพในประเทศอื่น ๆ

ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง คือทีมชนะเลิศล่าสุดในปี 2022 ซึ่งได้เข้าร่วมการแข่งขันโดยการชนะเลิศลีกเอิง ฤดูกาล 2021–22 หลังจากเอาชนะน็องต์ ทีมชนะเลิศกุปเดอฟร็องส์ ฤดูกาล 2021–22 4–0

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ

[แก้]
ฤดูกาล[1] ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม จำนวนผู้ชม
ผู้ชนะเลิศช็องปียอนาเดอฟร็องส์ พบ ผู้ชนะเลิศกุปเดอฟร็องส์ (1949 ยังไม่เป็นทางการ)
1949 แร็งส์ 4–3 แอร์เซ ปารี ฝรั่งเศส สนามกีฬาโอลิมปิกอีฟว์ ดูว์ มานัวร์, ปารีส
ชาล็องฌ์เดช็องปียง (1955–73, 1985–86)
1955 แร็งส์ 7–1 ลีล ฝรั่งเศส สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
1956 เซอด็อง 1–0 นิส ฝรั่งเศส ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
1957 แซ็งเตเตียน 2–1 ตูลูซ ฝรั่งเศส สตาดียอมมูว์นีซีปาล, ตูลูซ
1958 แร็งส์ 2–1 นีม ฝรั่งเศส สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
1959 เลออาฟวร์ 2–0 นิส ฝรั่งเศส ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
1960 แร็งส์ 6–2 มอนาโก ฝรั่งเศส สนามกีฬามาร์แซล โซแป็ง, น็องต์
1961 มอนาโก 1–1[nb 1] เซอด็อง ฝรั่งเศส สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
1962 แซ็งเตเตียน 4–2 แร็งส์ ฝรั่งเศส สนามกีฬาเทศบาลโบบล็อง, ลีมอฌ
1965 น็องต์ 3–2 แรน ฝรั่งเศส สตาดดูว์มุสตัวร์, ลอรีย็อง
1966 แร็งส์ 2–0 น็องต์ ฝรั่งเศส สนามกีฬามาร์แซล โซแป็ง, น็องต์
1967 แซ็งเตเตียน 3–0 ลียง ฝรั่งเศส สนามกีฬาฌอฟรัว กีชาร์, แซ็งเตเตียน
1968 แซ็งเตเตียน 5–3 บอร์โด ฝรั่งเศส สนามกีฬาริชแตร์, มงเปอลีเย
1969 แซ็งเตเตียน 3–2 มาร์แซย์ ฝรั่งเศส ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
1970 นิส 2–0 แซ็งเตเตียน ฝรั่งเศส สตาดดูว์แร, นิส
1971 แรนและมาร์แซย์ 2–2[nb 2] ผู้ชนะ 2 ทีม ฝรั่งเศส สตาดเดอลาร์มอรีแกน, แบร็สต์
1972 บัสตียา 5–2 มาร์แซย์ ฝรั่งเศส สตาดเดอบงร็องกงทร์, ตูลง
1973 ลียง 2–0 น็องต์ ฝรั่งเศส สตาดเดอลาร์มอรีแกน, แบร็สต์
1985 มอนาโก 1–1 (5–4 ลูกโทษ) บอร์โด ฝรั่งเศส ปาร์กแล็สกูร์, บอร์โด
1986 บอร์โด 1–0 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส สนามกีฬากัวเดอลุป, เลซาบีม, กัวเดอลุป
ทรอเฟเดช็องปียง (1995–ปัจจุบัน)
1995[nb 3] ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–2 (6–5 ลูกโทษ) น็องต์ ฝรั่งเศส สนามกีฬาฟร็องซิส เลอ เบล, แบร็สต์ 12,000
1996 ไม่มีการแข่งขันเนื่องจาก โอแซร์ ชนะเลิศทั้ง 2 รายการ
1997 มอนาโก 5–2 นิส ฝรั่งเศส สตาดเดอลาเมดีแตราเน, เบซีเย 4,000
1998 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1–0 ล็องส์ ฝรั่งเศส สตาดเดอลาวาเลดูว์แชร์, ตูร์ 12,766
1999 น็องต์ 1–0 บอร์โด ฝรั่งเศส สตาดเดอลาลีกอร์น, อาเมียง 11,858
2000 มอนาโก 0–0 (6–5 ลูกโทษ) น็องต์ ฝรั่งเศส สนามกีฬาโอกุสต์ บอนาล, มงเบลียาร์ 9,918
2001 น็องต์ 4–1 สทราซบูร์ ฝรั่งเศส สตาดเดอลาแมโน, สทราซบูร์ 7,227
2002 ลียง 5–1 ลอรีย็อง ฝรั่งเศส สนามกีฬาปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง, กาน 5,041
2003 ลียง 2–1 โอแซร์ ฝรั่งเศส สนามกีฬาแฌร์ล็อง, ลียง 18,254
2004 ลียง 1–1 (7–6 ลูกโทษ) ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส สนามกีฬาปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง, กาน 9,429
2005 ลียง 4–1 โอแซร์ ฝรั่งเศส สนามกีฬาอาเบ-เดช็อง, โอแซร์ 10,967
2006 ลียง 1–1 (5–4 ลูกโทษ) ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส สนามกีฬาแฌร์ล็อง, ลียง 30,529
2007 ลียง 2–1 ซอโช-มงเบลียาร์ ฝรั่งเศส สนามกีฬาแฌร์ล็อง, ลียง 30,413
2008 บอร์โด 0–0 (5–4 ลูกโทษ) ลียง ฝรั่งเศส สนามกีฬาชาบ็อง-แดลมัส, บอร์โด 27,167
2009 บอร์โด 2–0 แก็งก็อง แคนาดา สนามกีฬาโอลิมปิก, มอนทรีออล, แคนาดา 34,068
2010 มาร์แซย์ 0–0 (5–4 ลูกโทษ) ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ตูนิเซีย สนามกีฬาโอลิมปิกราแด็ส, ตูนิส, ตูนิเซีย 57,000
2011 มาร์แซย์ 5–4 ลีล โมร็อกโก สนามกีฬาฏ็อนญะฮ์, ฏ็อนญะฮ์, โมร็อกโก 33,900
2012 ลียง 2–2 (4–2 ลูกโทษ) มงเปอลีเย สหรัฐอเมริกา เรดบูลอะรีนา, แฮร์ริสัน, สหรัฐ 15,166
2013 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 บอร์โด กาบอง สนามกีฬาอ็องกงเจ, ลีเบรอวีล, กาบอง 34,658
2014 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–0 แก็งก็อง จีน เวิร์กเกอร์สเตเดียม, ปักกิ่ง, จีน 39,752
2015 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–0 ลียง แคนาดา สนามกีฬาซาปูโต, มอนทรีออล, แคนาดา 20,057
2016 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4–1 ลียง ออสเตรีย เวอร์เทอร์เซชตาดีอ็อน, คลาเกินฟวร์ท, ออสเตรีย 10,120
2017 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 มอนาโก โมร็อกโก สนามกีฬาฏ็อนญะฮ์, ฏ็อนญะฮ์, โมร็อกโก 43,761
2018 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4–0 มอนาโก จีน ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยโลกเชินเจิ้น, เชินเจิ้น, จีน 41,237
2019 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 แรน จีน ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยโลกเชินเจิ้น, เชินเจิ้น, จีน 22,045
2020 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 มาร์แซย์ ฝรั่งเศส สนามกีฬาบอลาร์ต-เดอเลลิส, ล็องส์ 0
2021 ลีล 1–0 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง อิสราเอล สนามกีฬาบลูมฟิลด์, เทลอาวีฟ, อิสราเอล 29,000
2022 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4–0 น็องส์ 28,000
2023 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–0 ตูลูซ ฝรั่งเศส ปาร์กเดแพร็งส์ ปารีส ฝรั่งเศส 43,792

ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามสโมสร

[แก้]
สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะ ปีที่แพ้
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 12 5 1995, 1998, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020, 2022, 2023 1986, 2004, 2006, 2010, 2021
ลียง 8 4 1973, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2012 1967, 2008, 2015, 2016
แซ็งเตเตียน 5 1 1957, 1962, 1967, 1968, 1969 1970
มอนาโก 4 3 1961, 1985, 1997, 2000 1960, 2017, 2018
แร็งส์ 4 1 1955, 1958, 1960, 1966 1962
น็องต์ 3 5 1965, 1999, 2001 1966, 1973, 1995, 2000, 2022
บอร์โด 3 4 1986, 2008, 2009 1968, 1986, 1999, 2013
มาร์แซย์ 3 3 1971, 2010, 2011 1969, 1972, 2020
นิส 1 3 1970 1956, 1959, 1997
แรน 1 2 1971 1965, 2019
เซอด็อง 1 1 1956 1961
เลออาฟวร์ 1 0 1959
บัสตียา 1 0 1972
ลีล 1 2 2021 1955, 2011
โอแซร์ 0 2 2003, 2005
แก็งก็อง 0 2 2009, 2014
ตูลูซ 0 2 1957, 2023
นีม 0 1 1958
ล็องส์ 0 1 1998
สทราซบูร์ 0 1 2001
ลอรีย็อง 0 1 2002
ซอโช-มงเบลียาร์ 0 1 2007
มงเปอลีเย 0 1 2012

หมายเหตุ

[แก้]
  1. มอนาโก ชนะการแข่งขันโดยการจับสลาก โดยไม่มีการดวลลูกโทษตัดสิน
  2. เป็นผู้ชนะทั้งสองทีมเนื่องจากเสมอกัน
  3. การแข่งขันเกิดขึ้นในวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1996

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Palmares". Ligue de Football Professionnel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 พฤษภาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]