ข้ามไปเนื้อหา

ชานานา กุฌเมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชานานา กุฌเมา
กุฌเมาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2023
นายกรัฐมนตรีติมอร์-เลสเตคนที่ 6 และ 9
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 กรกฎาคม 2023
ประธานาธิบดีฌูแซ รามุช-ออร์ตา
รอง
ก่อนหน้าตาอูร์ มาตัน รูอัก
ดำรงตำแหน่ง
8 สิงหาคม 2007 – 16 กุมภาพันธ์ 2015
ประธานาธิบดี
ก่อนหน้าอึชตานิฌเลา ดา ซิลวา
ถัดไปรุย มารีอา ดือ อาราอูฌู
ประธานาธิบดีติมอร์-เลสเตคนที่ 3
ดำรงตำแหน่ง
20 พฤษภาคม 2002 – 20 พฤษภาคม 2007
นายกรัฐมนตรี
ก่อนหน้าSérgio Vieira de Mello
ในฐานะ เจ้าหน้าที่สหประชาชาติ (1999–2002)
นีกูเลา ดุช ไรช์ ลูบาตู
ในฐานะ รักษาการประธานาธิบดี
(1975–1978)
ถัดไปฌูแซ รามุช-ออร์ตา
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
ฌูแซ อาลือชังดรือ กุฌเมา

(1946-06-20) 20 มิถุนายน ค.ศ. 1946 (78 ปี)
Manatuto ติมอร์ของโปรตุเกส
พรรคการเมืองสภาแห่งชาติเพื่อการฟื้นฟูติมอร์
คู่สมรส
บุตร5
ที่อยู่อาศัยรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย
ลายมือชื่อ

ไก ราลา ชานานา กุฌเมา (โปรตุเกส: Kay Rala Xanana Gusmão, ชื่อเกิด ฌูแซ อาลือชังดรือ กุฌเมา, José Alexandre Gusmão; เมื่อ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1946) เป็นนักการเมืองและอดีตกบฏชาวติมอร์-เลสเต เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีติมอร์-เลสเตตั้งแต่ ค.ศ. 2023 โดยเคยดำรงตำแหน่งเดียวกันใน ค.ศ. 2007 ถึง 2015[1] เขาได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของติมอร์-เลสเตนับตั้งแต่หลังเป็นเอกราชใหม่ใน ค.ศ. 2002 ถึง 2007

ชีวิตช่วงต้นและอาชีพ

[แก้]

กุฌเมาเกิดที่ Manatuto ในติมอร์ของโปรตุเกส จากพ่อแม่ที่มีบรรพบุรุษผสมระหว่างโปรตุเกส-ติมอร์ ทั้งคู่มีอาชีพเป็นครูในโรงเรียน[2] ครอบครัวของเขาอยู่ในกลุ่ม assimilado[3] เขาเข้าเรียนที่โรงเรียนมัธยมเยสุอิตนอกดิลี หลังลาออกจากโรงเรียนมัธยมด้วยเหตุผลทางการเงินตอนอายุ 15 ปีใน ค.ศ. 1961 เขาจึงเข้าไปทำงานไร้ทักษะหลายอย่าง ในขณะที่ศึกษาต่อที่โรงเรียนภาคกลางคืน จากนั้นใน ค.ศ. 1965 ตอนอายุ 19 ปี เขาพบกับ Emilia Batista ที่ภายหลังกลายเป็นภรรยา ชื่อเล่น "ชานานา" มาจากชื่อวงร็อกแอนด์โรลสัญชาติอเมริกัน "Sha Na Na" (ออกเสียงเหมือนกับ "Xanana" ที่สะกดตามรูปสะกดในภาษาโปรตุเกสและเตตุม)[4] ซึ่งนำชื่อมาจากเนื้อร้องในเพลงดูวอป "เก็ตอะจอบ" ที่เขียนและบันทึกใน ค.ศ. 1957 โดยเดอะซิลลูเอตส์[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Gusmao sworn in as East Timor PM". Al Jazeera. 8 August 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2007.
  2. Geoffrey C. Gunn (2003). First Globalization: The Eurasian Exchange, 1500–1800. Rowman & Littlefield. p. 282. ISBN 0-7425-2661-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2023. สืบค้นเมื่อ 4 November 2020.
  3. Shoesmith, Dennis (2003). "Timor-Leste: Divided Leadership in a Semi-Presidential System". Asian Survey. 43 (2): 236. doi:10.1525/as.2003.43.2.231. JSTOR 10.1525/as.2003.43.2.231. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 May 2022. สืบค้นเมื่อ 6 May 2022.
  4. "Xanana Gusmao: From Guerrilla goalkeeper to president". Irish Examiner. Irish Examiner Ltd. 16 April 2002. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2022. สืบค้นเมื่อ 11 February 2022.
  5. "F.A.Q. (Frequently Asked Questions)". ShaNaNa.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2022. สืบค้นเมื่อ 11 February 2022.