จิตรกรรมกาลีฆาฏ
หน้าตา
จิตรกรรมกาลีฆาฏ (อังกฤษ: Kalighat painting) หรือ กาลีฆาฏปฏจิตร (เบงกอล: কালীঘাট পটচিত্র) เป็นรูปแบบจิตรกรรมที่มีต้นกำเนิดในพื้นที่โดยรอบกาลีฆาฏมนเทียร ย่านกาลีฆาฏ กัลกัตตา รัฐเบงกอลตะวันตก[1] ถือเป็นหนึ่งในรูปแบบย่อยหนึ่งของจิตรกรรมอินเดียที่ผ่านการพัฒนาสืบเนื่องจนเกิดลักษณะที่โดดเด่นเฉพาะตัว[2] จิตกรรมกาลีฆาฏมักแสดงภาพของเทพเจ้าและตำนานในศาสนาฮินดูไปจนถึงชีวิตประจำวันของชาวท้องถิ่นในเบงกอล[3]
จิตรกรรมกาลีฆาฏในยุคแรกเริ่มย้อนกลับไปในศตวรรษที่ 19 มักเขียนลงบนผืนผ้า[4] เขียนบอกเล่าเรื่องราวจากมหากาพย์และตำนานของฮินดู
ระเบียงภาพ
[แก้]-
"คเณศชนนี" (พระมารดาพระคเณศ)
-
พระกาลีร่ายรำบนร่างพระศิวะ
-
ตอนหนึ่งจากตำนานรักตรเกศวร
-
สามีทุบตีภรรยา
-
น้องแมวคาบกุ้ง
-
ทหารถือปืน
-
ช่างทำผมกำลังแคะขี้หูให้สตรี
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Kalighat Painting: Banglapedia en.banglapedia.org. Retrieved 7 August 2021
- ↑ A brief history of Kalighat paintings in Kolkata, India theculturetrip.com. Retrieved 7 August 2021
- ↑ The history of Kalighat paintings เก็บถาวร 2021-08-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน www.lonelyplanet.com. Retrieved 7 August 2021
- ↑ "মেদিনীপুরের হাতে কালীঘাটের পটভাগ্য". Anandabazar Patrika (ภาษาBengali). สืบค้นเมื่อ 7 August 2021.
บรรณานุกรม
[แก้]- Chaitanya, Krishna (1994). A history of Indian painting: the modern period. New Delhi: Abhinav Publications. pp. 112–118. ISBN 978-81-7017-310-6.
- Kalighat Paintings ISBN 81-7436-135-9, by Aditi Nath Sarkar and Christine Mackay
- Kalighat Painting: Images from a Changing World (Ahmedabad and Middleton, NJ, 1999)
- Kossak, Steven (1997). Indian court painting, 16th-19th century.. New York: The Metropolitan Museum of Art. ISBN 0870997831. (see index: p. 148-152)