ข้ามไปเนื้อหา

คาร์บอนเตตระฟลูออไรด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คาร์บอนเตตระฟลูออไรด์
ชื่อ
IUPAC names
Tetrafluoromethane
Carbon tetrafluoride
ชื่ออื่น
Carbon tetrafluoride, Perfluoromethane, Tetrafluorocarbon, Freon 14, Halon 14, Arcton 0, CFC 14, PFC 14, R 14, UN 1982
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.815 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 200-896-5
RTECS number
  • FG4920000
UNII
  • InChI=1S/CF4/c2-1(3,4)5 checkY
    Key: TXEYQDLBPFQVAA-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/CF4/c2-1(3,4)5
  • FC(F)(F)F
คุณสมบัติ
CF4
มวลโมเลกุล 88.0043 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ แก๊สไม่มีสี
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น 3.72 g/L, gas (15 °C)
จุดหลอมเหลว −183.6 องศาเซลเซียส (−298.5 องศาฟาเรนไฮต์; 89.5 เคลวิน)
จุดเดือด −127.8 องศาเซลเซียส (−198.0 องศาฟาเรนไฮต์; 145.3 เคลวิน)
0.005%V at 20 °C
0.0038%V at 25 °C
ความสามารถละลายได้ ละลายได้ในเบนซีน, คลอโรฟอร์ม
ความดันไอ 3.65 MPa at 15 °C
106.5 kPa at −127 °C
5.15 atm-cu m/mole
1.0004823[1]
ความหนืด 17.32 μPa·s[2]
โครงสร้าง
เหลี่ยม
ทรงสี่หน้า
0 D
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ICSC 0575
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
Tetrachloromethane
Tetrabromomethane
Tetraiodomethane
แคทไอออนอื่น ๆ
Silicon tetrafluoride
Germanium tetrafluoride
Tin tetrafluoride
Lead tetrafluoride
ฟลูออโรมีเทนที่เกี่ยวข้อง
ฟลูออโรมีเทน
ไดฟลูออโรมีเทน
ฟลูออโรฟอร์ม
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

เตตระฟลูออโรมีเทน หรือ คาร์บอนเตตระฟลูออไรด์ เป็นสารฟลูออโรคาร์บอนอย่างง่ายที่สุด (CF4) มีพันธะทางเคมีที่แข็งแรกเนื่องจากเป็นพันธะระหว่างคาร์บอนกับฟลูออรีน สามารถจัดอยู่ในกลุ่มสารฮาโลอัลเคนหรือฮาโลมีเทน เนื่องจากพันธะระหว่างคาร์บอนและฟลูออรีนถึงสี่พันธะและค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีของฟลูออรีนที่สุด คาร์บอนในโมเลกุลนี้จึงมีประจุบวกอย่างมีนัยสำคัญซึ่งทำให้ทำให้มีลักษณะของพันธะไอออนิก เตตระฟลูออโรมีเทนเป็นแก๊สเรือนกระจก

อ้างอิง

[แก้]
  1. Abjean, R.; A. Bideau-Mehu; Y. Guern (15 July 1990). "Refractive index of carbon tetrafluoride (CF4) in the 300-140 nm wavelength range". Nuclear Instruments and Methods in Physics Research Section A: Accelerators, Spectrometers, Detectors and Associated Equipment. 292 (3): 593–594. Bibcode:1990NIMPA.292..593A. doi:10.1016/0168-9002(90)90178-9.
  2. Kestin, J.; Ro, S.T.; Wakeham, W.A. (1971). "Reference values of the viscosity of twelve gases at 25°C". Transactions of the Faraday Society. 67: 2308–2313. doi:10.1039/TF9716702308.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]