การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศตูนิเซีย
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศตูนิเซีย พ.ศ. 2563 | |
---|---|
แผนที่จำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสมรายท้องที่
ยืนยันผู้ติดเชื้อ 1~9 คน
ยืนยันผู้ติดเชื้อ 10~99 คน
ยืนยันผู้ติดเชื้อ 100~499 คน
เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 | |
โรค | โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 |
สถานที่ | ประเทศตูนิเซีย |
การระบาดครั้งแรก | อู่ฮั่น ประเทศจีน ร่วมกับ ฝรั่งเศส อิตาลี และตุรกี |
ผู้ป่วยต้นปัญหา | กัฟซา |
วันแรกมาถึง | 2 มีนาคม พ.ศ. 2563 (4 ปี 7 เดือน 29 วัน) |
หาย | 17,701 คน |
เสียชีวิต | 49 คน |
รวม ILI สะสม | 159,276 คน |
covid-19.tn |
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562–2563 โดยได้รับการยืนยันว่าเริ่มต้นขึ้นที่ประเทศตูนิเซีย เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563
ภูมิหลัง
[แก้]เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่าไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยทางเดินหายใจในกลุ่มคนในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ซึ่งรายงานต่อองค์การอนามัยโลกในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[2][3]
อัตราป่วยตายของผู้ป่วยสำหรับโควิด-19 นั้นต่ำกว่าโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 มาก[4][5] แต่การแพร่เชื้อมีความหมายมากกว่า ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีนัยสำคัญ[4][6]
เส้นเวลา
[แก้]ประเทศตูนิเซียพบผู้ติดเชื้อกรณีแรก เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563 เป็นชายอายุ 40 ปีมาจากเมืองกัฟซา กลับมาจากประเทศอิตาลี[7][8]
นอกจากนี้ ประชาชนต้องสงสัยติดเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ราว 74 รายจากเมืองกัฟซาต้องถูกกักกันตัวที่บ้าน[8] สองรายฝ่าฝืนมาตรการ ถูกผู้อำนวยการด้านสุขภาพดำเนินคดีตามกฎหมาย[8]
วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นครั้งแรกของประเทศตูนิเซียที่ไม่พบผู้ติดเชื้อนับตั้งแต่เดือนมีนาคม[9]
สถิติ
[แก้]- กระทรวงสาธารณสุขตูนิเซีย
- ข้อมูลอย่างเป็นทางการ: covid-19.tn
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Ministère de la santé وزارة الصحة". www.facebook.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-16.
- ↑ Elsevier. "Novel Coronavirus Information Center". Elsevier Connect. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ Reynolds, Matt (4 March 2020). "What is coronavirus and how close is it to becoming a pandemic?". Wired UK. ISSN 1357-0978. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
- ↑ 4.0 4.1 "Crunching the numbers for coronavirus". Imperial News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "High consequence infectious diseases (HCID); Guidance and information about high consequence infectious diseases and their management in England". GOV.UK (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
- ↑ "World Federation Of Societies of Anaesthesiologists – Coronavirus". www.wfsahq.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "Italian returnee confirmed Tunisia's first coronavirus case". The Punch. 2 March 2020.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 "Gafsa-COVID-19: legal action taken after two cases fail to comply with home-confinement measures". Tunis Afrique Presse. 9 March 2020.
- ↑ "Tunisia reports no new coronavirus cases for the first time since early March". Reuters. 10 May 2020. สืบค้นเมื่อ 11 May 2020.