กรดซักซินิก
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Butanedioic acid
| |
ชื่ออื่น
ethane-1,2-dicarboxylic acid
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ดรักแบงก์ | |
ECHA InfoCard | 100.003.402 |
เลขอี | E363 (antioxidants, ...) |
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C4H6O4 | |
มวลโมเลกุล | 118.088 g·mol−1 |
ความหนาแน่น | 1.56 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 184 องศาเซลเซียส (363 องศาฟาเรนไฮต์; 457 เคลวิน)[2] |
จุดเดือด | 235 องศาเซลเซียส (455 องศาฟาเรนไฮต์; 508 เคลวิน)[2] |
58 g/L (20 °C) or 100 mg/mL[1] | |
ความสามารถละลายได้ ใน เมทานอล | 158 mg/mL[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล | 54 mg/mL[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน แอซีโทน | 27 mg/mL[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน กลีเซอรอล | 50 mg/mL[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน อีเทอร์ | 8.8 mg/mL[1] |
pKa | pKa1 = 4.2 pKa2 = 5.6 |
ความอันตราย | |
จุดวาบไฟ | 206 องศาเซลเซียส (403 องศาฟาเรนไฮต์; 479 เคลวิน)[2] |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนอื่น ๆ
|
โซเดียมซักซิเนต |
กรดคาร์บอกซิลิกที่เกี่ยวข้อง
|
กรดโพรพิโอนิก กรดมาโลนิก กรดบิวทิริก กรดมาลิก กรดทาร์ทาริก กรดฟูมาริก กรดวาเลริก กรดกลูตาริก |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กรดซักซินิก (อังกฤษ: succinic acid) เป็นกรดไดคาร์บอกซิลิกที่มีสูตรเคมีคือ (CH2)2(CO2H)2 มีลักษณะเป็นของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น เมื่ออยู่ในรูปเอเควียสจะแตกตัวเป็นแอนไอออน เรียกว่า ซักซิเนต (succinate) ซึ่งมีส่วนสำคัญในวัฏจักรกรดซิตริก กลุ่มอนุมูลอิสระของสารนี้เรียกว่า ซักซินิล (succinyl)
คำว่า "ซักซินิก" มาจากคำในภาษาละติน succinum ซึ่งแปลว่า "อำพัน" เพราะในอดีตกรดซักซินิกเป็นสารที่ได้จากการกลั่นอำพัน เรียกว่า "สปิริตออฟแอมเบอร์" (spirit of amber)[3] ในทางอุตสาหกรรมได้จากกระบวนการไฮโดรจีเนชันบางส่วนของกรดมาเลอิก, กระบวนการออกซิเดชันของ 1,4-บิวเทนไดออลและกระบวนการคาร์บอนิเลชันของเอทิลีนไกลคอล[4]
กรดซักซินิกใช้เป็นสารตั้งต้นของพลาสติกบางชนิด[5] ใช้เป็นอาหารเสริมและวัตถุเจือปนอาหาร[6] และเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งที่ได้จากการหมักน้ำตาล ทำให้ไวน์และเบียร์มีรสขมและเค็ม[7]
เนื่องจากกรดซักซินิกเป็นสารที่พบในวัฏจักรของสิ่งมีชีวิตทั่วไป จึงไม่เป็นอันตราย แต่อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและดวงตา[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Product Information Sheet: Succinic Acid" (PDF). Sigma Aldrich. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 7 November 2015.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Record in the GESTIS Substance Database of the Institute for Occupational Safety and Health
- ↑ Chambers, E., บ.ก. (1728). "Spirit of Amber". Cyclopaedia. p. 75.
- ↑ Boy Cornils, Peter Lappe. Dicarboxylic Acids, Aliphatic. doi:10.1002/14356007.a08_523.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-09. สืบค้นเมื่อ 2016-08-03.
- ↑ http://www.fda.gov/ucm/groups/fdagov-public/@fdagov-foods-gen/documents/document/ucm438683.pdf
- ↑ Peynaud, Emile (1984). Knowing and Making Wine.
- ↑ "Safety Data Sheet Bio-Based Succinic Acid". BioAmber Inc. April 23, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-08. สืบค้นเมื่อ 2015-12-03.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ กรดซักซินิก
- MSDS for Succinic acid - ScienceLab.com เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน