ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี

การแข่งขันฟุตบอล

ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์โลก ซึ่งจัดการแข่งขันทุกสองปี สำหรับทีมชาติสมาชิกฟีฟ่าที่มีอายุไม่เกิน 20 ปี การแข่งชันจัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1977 ซึ่งประเทศตูนิเซียเป็นเจ้าภาพ[1] ในนาม ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIFA World Youth Championship) โดยใช้๙ื่อนี้จนถึงการแข่งขันในปี ค.ศ. 2005[2] ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็นปัจจุบันในปี ค.ศ. 2007 ฟีฟ่าเรียกฟุตบอลโลกรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปีว่าเป็น "ทัวร์นาเมนต์ของซูเปอร์สตาร์ในอนาคต"[3] ดิเอโก มาราโดนา, ลิโอเนล เมสซิ และ ปอล ปอกบา เป็นผู้ชนะก่อนหน้านี้ของผู้เล่นอย่างเป็นทางการของทีมชนะเลิศ และ อาลิง โฮลัน เป็นผู้ทำประตูสูงสุดในการแข่งขันปี 2019 เจ้าของตำแหน่งปัจจุบันคือ อุรุกวัย ซึ่งคว้าแชมป์เป็นครั้งแรกในทัวร์นาเมนต์ปี 2023 ที่ประเทศอาร์เจนตินา

ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
ผู้จัดฟีฟ่า
ก่อตั้ง1977; 48 ปีที่แล้ว (1977)
ภูมิภาคทั่วโลก
จำนวนทีม24 (รอบสุดท้าย)
การแข่งขันที่เกี่ยวข้องฟุตบอลโลก
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน อุรุกวัย (สมัยแรก)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด อาร์เจนตินา (6 สมัย)
เว็บไซต์fifa.com/u20worldcup
ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2025

การคัดเลือก

แก้

24 ทีมชาติที่ได้เข้าร่วมในการแข่งขันรอบสุดท้าย โดย 23 ประเทศ รวมทั้งแชมป์โลกล่าสุด จะต้องผ่านเข้ารอบการแข่งขันเยาวชนของทั้ง 6 สมาพันธ์ ประเทศเจ้าภาพจะผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติ

สมาพันธ์ การแข่งขันชิงแชมป์
AFC (เอเชีย) AFC U-20 Asian Cup
CAF (แอฟริกา) U-20 Africa Cup of Nations
CONCACAF (อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน) CONCACAF Under-20 Championship
CONMEBOL (อเมริกาใต้) South American Youth Football Championship
ยูฟ่า (ยุโรป) UEFA European U-19 Championship
OFC (โอเชียเนีย) OFC Under 20 Qualifying Tournament

ผลการแข่งขัน

แก้

ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี

แก้
ปี (ค.ศ.) เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับที่สาม
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับที่สาม ผลการ
แข่งขัน
อันดับที่สี่
2023
รายละเอียด
อาร์เจนตินา   อุรุกวัย 1 - 0   อิตาลี   อิสราเอล 3 - 1   เกาหลีใต้
2019
รายละเอียด
โปแลนด์   ยูเครน 3 - 1   เกาหลีใต้   เอกวาดอร์ 1 - 0   อิตาลี
2017
รายละเอียด
เกาหลีใต้   อังกฤษ 1 - 0   เวเนซุเอลา   อิตาลี 0 - 0
(4-1)*
  อุรุกวัย
2015
รายละเอียด
นิวซีแลนด์   เซอร์เบีย 1 - 1
(2-1)**
  บราซิล   มาลี 3 - 1   เซเนกัล
2013
รายละเอียด
ตุรกี   ฝรั่งเศส 0 - 0
(4-1)*
  อุรุกวัย   กานา 3 - 0   อิรัก
2011
รายละเอียด
โคลอมเบีย   บราซิล 3 - 2   โปรตุเกส   เม็กซิโก 1 - 0   ฝรั่งเศส
2009
รายละเอียด
อียิปต์   กานา 0 - 0
(4-3)*
  บราซิล   ฮังการี 1 - 1
(2-0)*
  คอสตาริกา
2007
รายละเอียด
แคนาดา   อาร์เจนตินา 2 - 1   เช็กเกีย   ชิลี 1 - 0   ออสเตรีย

ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลก

แก้
ปี (ค.ศ.) เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับ 4
2005
รายละเอียด
เนเธอร์แลนด์   อาร์เจนตินา 2 - 1   ไนจีเรีย   บราซิล 2 - 1   โมร็อกโก
2003
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์   บราซิล 1 - 0   สเปน   โคลอมเบีย 2 - 1   อาร์เจนตินา
2001
รายละเอียด
อาร์เจนตินา   อาร์เจนตินา 3 - 0   กานา   อียิปต์ 1 - 0   ปารากวัย
1999
รายละเอียด
ไนจีเรีย   สเปน 4 - 0   ญี่ปุ่น   มาลี 1 - 0   อุรุกวัย
1997
รายละเอียด
มาเลเซีย   อาร์เจนตินา 2 - 1   อุรุกวัย   ไอร์แลนด์ 2 - 1   กานา
1995
รายละเอียด
กาตาร์   อาร์เจนตินา 2 - 0   บราซิล   โปรตุเกส 3 - 2   สเปน
1993
รายละเอียด
ออสเตรเลีย   บราซิล 2 - 1   กานา   อังกฤษ 2 - 1   ออสเตรเลีย
1991
รายละเอียด
โปรตุเกส   โปรตุเกส 0 - 0
(4-2)*
  บราซิล   สหภาพโซเวียต 1 - 1
(5-4)*
  อาร์เจนตินา
1989
รายละเอียด
ซาอุดีอาระเบีย   โปรตุเกส 2 - 0   ไนจีเรีย   บราซิล 2 - 0   สหรัฐอเมริกา
1987
รายละเอียด
ชิลี   ยูโกสลาเวีย 1 - 1
(5-4)*
  เยอรมนีตะวันตก   เยอรมนีตะวันออก 2 - 2
(3-1)*
  ชิลี
1985
รายละเอียด
สหภาพโซเวียต   บราซิล 1 - 0   สเปน   ไนจีเรีย 0 - 0
(3-1)*
  สหภาพโซเวียต
1983
รายละเอียด
เม็กซิโก   บราซิล 1 - 0   อาร์เจนตินา   โปแลนด์ 2 - 1   เกาหลีใต้
1981
รายละเอียด
ออสเตรเลีย   เยอรมนีตะวันตก 4 - 0   กาตาร์   โรมาเนีย 1 - 0   อังกฤษ
1979
รายละเอียด
ญี่ปุ่น   อาร์เจนตินา 3 - 1   สหภาพโซเวียต   อุรุกวัย 1 - 1
(5-3)*
  โปแลนด์
1977
รายละเอียด
ตูนิเซีย   สหภาพโซเวียต 2 - 2
(7-6)*
  เม็กซิโก   บราซิล 4 - 0   อุรุกวัย
* ลูกโทษ ** การต่อเวลาพิเศษ

ความสำเร็จ

แก้
ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม อันดับที่สี่
  อาร์เจนตินา 6 (1979, 1995, 1997, 2001, 2005, 2007) 1 (1983) 1 (2003)
  บราซิล 5 (1983, 1985, 1993, 2003, 2011) 4 (1991, 1995, 2009, 2015) 3 (1977, 1989, 2005)
  โปรตุเกส 2 (1989, 1991) 1 (2011) 1 (1995)
  เซอร์เบีย1 2 (1987, 2015)
  อุรุกวัย 1 (2023) 2 (1997, 2013) 1 (1979) 3 (1977, 1999, 2017)
  กานา 1 (2009) 2 (1993, 2001) 1 (2013) 1 (1997)
  สเปน 1 (1999) 2 (1985, 2003) 1 (1995)
  รัสเซีย2 1 (1977) 1 (1979) 1 (1991) 1 (1985)
  เยอรมนี3 1 (1981) 1 (1987)
  อังกฤษ 1 (2017) 1 (1993) 1 (1981)
  ฝรั่งเศส 1 (2013) 1 (2011)
  ยูเครน 1 (2019)
  ไนจีเรีย 2 (1989, 2005) 1 (1985)
  อิตาลี 1 (2023) 1 (2017) 1 (2019)
  เม็กซิโก 1 (1977) 1 (2011)
  เกาหลีใต้ 1 (2019) 2 (1983, 2023)
  กาตาร์ 1 (1981)
  ญี่ปุ่น 1 (1999)
  เช็กเกีย 1 (2007)
  เวเนซุเอลา 1 (2017)
  มาลี 2 (1999, 2015)
  โปแลนด์ 1 (1983) 1 (1979)
  ชิลี 1 (2007) 1 (1987)
  โรมาเนีย 1 (1981)
  เยอรมนีตะวันออก 1 (1987)
  ไอร์แลนด์ 1 (1997)
  อียิปต์ 1 (2001)
  โคลอมเบีย 1 (2003)
  ฮังการี 1 (2009)
  เอกวาดอร์ 1 (2019)
  อิสราเอล 1 (2023)
  ออสเตรเลีย 2 (1991, 1993)
  สหรัฐอเมริกา 1 (1989)
  ปารากวัย 1 (2001)
  โมร็อกโก 1 (2005)
  ออสเตรีย 1 (2007)
  คอสตาริกา 1 (2009)
  อิรัก 1 (2013)
  เซเนกัล 1 (2015)
1 = รวมถึงผลในนามยูโกสลาเวีย
2 = รวมถึงผลในนามสหภาพโซเวียต
3 = รวมถึงผลในนามเยอรมนีตะวันตก

ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

แก้
 
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. CBC.ca เก็บถาวร 22 ตุลาคม 2007 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. Tolmich, Ryan (18 May 2023). "Lionel Messi, Diego Maradona, Erling Haaland and the superstars who have dominated the U20 World Cup". Goal.
  3. "Indonesia stripped of hosting Under-20 World Cup by FIFA". Associated Press. 29 March 2023. สืบค้นเมื่อ 29 March 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้