เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ (อังกฤษ: space technology) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการสำรวจสิ่งต่างๆ ทั้งในโลกและที่อยู่นอกโลก ในปัจจุบันเทคโนโลยีอวกาศได้มีการพัฒนาเกิดขึ้นมากมาย โดยองค์การต่างๆ และองค์การที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ คือองค์การนาซ่า ของประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ในการสำรวจสิ่งที่ต้องการศึกษาสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ ในด้านต่าง ๆ เช่น การสื่อสาร การสำรวจทรัพยากรโลก[1]
ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ
แก้เทคโนโลยีดาวเทียม
แก้- ดาวเทียม
- ประเภทของดาวเทียม
- ดาวเทียมสื่อสาร (communications satellite)
- ดาวเทียมถ่ายทอดสด(direct-broadcast satellite)
- ดาวเทียมสังเกตการณ์โลก
- (earth observation satellite)
- ดาวเทียมพ้องคาบโลก (geosynchronous satellite)
- ดาวเทียมการทหาร (military satellite)
- ดาวเทียมลาดตระเวน (reconnaissance satellite)
- ดาวเทียมนำทาง (navigation satellite)
- ดาวเทียมติดตามและถ่ายทอดข้อมูล (tracking and data relay satellite)
- ดาวเทียมสภาพอากาศ (weather satellite)
- ดาวเทียมสื่อสาร (communications satellite)
- ดาวเทียมเฉพาะ
- ประเภทของดาวเทียม
- Satellite orbit
- บริการที่ใช้ดาวเทียม
- การนำทางผ่านดาวเทียม (satellite navigation)
- วิทยุผ่านดาวเทียม (satellite radio)
- โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม (satellite television)
เทคโนโลยีการสำรวจอวกาศ
แก้- Aerobot (Planetary probe suspended in atmosphere)
- ยานสำรวจดวงจันทร์
- ยานสำรวจดาวอังคาร
- ภารกิจการสำรวจอวกาศโดยมนุษย์
เทคโนโลยีการบินอวกาศ
แก้- การบินอวกาศ
- เกราะกันความร้อนเสียดกร่อน (ablative heat shield)
- Aerobraking
- เครื่องยนต์ขับดันจรวด (booster)
- Gantry
- Reusable launch system—the Space Shuttle and X-37 are partially reusable spaceplanes; SpaceX is currently developing a set of reusable technologies to support booster reuse and second-stage reuse.[2]
อ้างอิง
แก้- ↑ "เทคโนโลยีอวกาศ (Technology)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-17. สืบค้นเมื่อ 2019-01-30.
- ↑ Lindsey, Clark (2013-04-29). "SpaceX moving quickly towards fly-back first stage". NewSpace Watch. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-16. สืบค้นเมื่อ 2013-03-29.