การลงโทษทางกาย[1](อังกฤษ: corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย[2] อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง

การใช้ในปัจจุบัน

แก้

สถานะทางกฎหมาย

แก้
สถานะทางกฎหมายของการลงโทษทางกายกับผู้เยาว์ในสหรัฐอเมริกา
สถานะทางกฎหมายของการลงโทษทางกายกับผู้เยาว์ในยุโรป
  การลงโทษทางกายถูกห้ามทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน
  การลงโทษทางกายถูกห้ามในโรงเรียนเพียงอย่างเดียว
  การลงโทษทางกายได้รับอนุญาตทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน

จนถึงปี 2016 การลงโทษทางกายผิดกฎหมายในทุกกรณีรวมทั้งที่บ้านใน 51 ประเทศ และ 2 ดินแดน[3] รัฐที่ห้ามลงโทษทางกายกับเด็กในทุกกรณีมีดังรายชื่อด้านล่าง (เรียงตามลำดับเวลา):[4]

สำหรับภาพรวมของการใช้และการห้ามลงโทษทางกายกับเด็กในโลก แสดงในตารางด้านล่าง

สรุปจำนวนรัฐที่ห้ามลงโทษทางกายกับเด็ก[14]
บ้าน โรงเรียน ระบบอาญา การดูแลทางเลือก
เป็นการลงโทษสำหรับอาชญากรรม เป็นมาตรการทางวินัย
ห้าม 51 117 155 116 38
ไม่ห้าม 147 81 42 78 160
ไม่ทราบสถานะทางกฎหมาย - - 1 4 -

การลงโทษทางกายทางอาญา

แก้
 
  ประเทศที่ใช้การลงโทษทางกายในทางอาญา

รายชื่อ 33 ประเทศที่อนุญาตให้ใช้การลงโทษทางกายทางอาญา:

อ้างอิง

แก้
  1. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน สาขานิติศาสตร์ ปรับปรุง 11 มี.ค. 2545/สาขารัฐศาสตร์ ปรับปรุง 17 ส.ค. 44
  2. Global Initiative to End All Corporal Punishment of Children (อังกฤษ)
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-19. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  4. "States which have prohibited all corporal punishment". Global Initiative to End All Corporal Punishment of Children. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-19. สืบค้นเมื่อ January 2015. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-13. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  6. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-21. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-29. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-02. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  9. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-05. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  10. "Country report for Peru". Global Initiative to End All Corporal Punishment of Children. January 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-11. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  11. "Country report for Greenland". Global Initiative to End All Corporal Punishment of Children. January 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-11. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  12. "Country report for Mongolia". Global Initiative to End All Corporal Punishment of Children. January 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-12. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  13. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-11. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  14. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-19. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้