กว้าง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษาจีนยุคกลาง 廣 (MC kwangX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨦ (กว้าง), ภาษาลาว ກວ້າງ (กว้าง), ภาษาไทลื้อ ᦦᦱᧂᧉ (กฺว้าง), ภาษาไทใหญ่ ၵႂၢင်ႈ (กฺว้าง), ภาษาพ่าเก ကင် (กง์), ภาษาอาหม 𑜀𑜤𑜨𑜂𑜫 (กุอ̂ง์), 𑜀𑜨𑜂𑜫 (กอ̂ง์), หรือ 𑜀𑜂𑜫 (กง์), ภาษาปู้อี gvaangs, ภาษาจ้วง gvangq; เทียบภาษาสุ่ย faangc, ภาษาต้งใต้ kuangt
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กฺว้าง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gwâang |
ราชบัณฑิตยสภา | kwang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kwaːŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]กว้าง
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]กว้าง (คำอาการนาม ความกว้าง)
ลูกคำ
[แก้ไข]ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kwaːŋ˦˦ʔ/
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]กว้าง (คำอาการนาม กำกว้าง หรือ ความกว้าง)
- อีกรูปหนึ่งของ ᨠ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨦ (กว้าง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมืองในอักษรไทย