จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทรอเฟเดช็องปียง (ฝรั่งเศส: Trophée des Champions) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยในประเทศฝรั่งเศส ระหว่างทีมผู้ชนะเลิศลีกเอิง พบกับทีมผู้ชนะเลิศกุปเดอฟร็องส์ในฤดูกาลล่าสุด เริ่มแข่งขันโดยใช้ชื่อนี้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 มีระดับเทียบเท่าถ้วยซูเปอร์คัพในประเทศอื่น ๆ
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง คือทีมชนะเลิศล่าสุดในปี 2022 ซึ่งได้เข้าร่วมการแข่งขันโดยการชนะเลิศลีกเอิง ฤดูกาล 2021–22 หลังจากเอาชนะน็องต์ ทีมชนะเลิศกุปเดอฟร็องส์ ฤดูกาล 2021–22 4–0
การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ
[แก้]
ฤดูกาล[1]
|
ชนะเลิศ
|
ผลคะแนน
|
รองชนะเลิศ
|
สนาม
|
จำนวนผู้ชม
|
ผู้ชนะเลิศช็องปียอนาเดอฟร็องส์ พบ ผู้ชนะเลิศกุปเดอฟร็องส์ (1949 ยังไม่เป็นทางการ)
|
1949
|
แร็งส์
|
4–3
|
แอร์เซ ปารี
|
สนามกีฬาโอลิมปิกอีฟว์ ดูว์ มานัวร์, ปารีส
|
|
ชาล็องฌ์เดช็องปียง (1955–73, 1985–86)
|
1955
|
แร็งส์
|
7–1
|
ลีล
|
สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
|
|
1956
|
เซอด็อง
|
1–0
|
นิส
|
ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
|
|
1957
|
แซ็งเตเตียน
|
2–1
|
ตูลูซ
|
สตาดียอมมูว์นีซีปาล, ตูลูซ
|
|
1958
|
แร็งส์
|
2–1
|
นีม
|
สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
|
|
1959
|
เลออาฟวร์
|
2–0
|
นิส
|
ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
|
|
1960
|
แร็งส์
|
6–2
|
มอนาโก
|
สนามกีฬามาร์แซล โซแป็ง, น็องต์
|
|
1961
|
มอนาโก
|
1–1[nb 1]
|
เซอด็อง
|
สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
|
|
1962
|
แซ็งเตเตียน
|
4–2
|
แร็งส์
|
สนามกีฬาเทศบาลโบบล็อง, ลีมอฌ
|
|
1965
|
น็องต์
|
3–2
|
แรน
|
สตาดดูว์มุสตัวร์, ลอรีย็อง
|
|
1966
|
แร็งส์
|
2–0
|
น็องต์
|
สนามกีฬามาร์แซล โซแป็ง, น็องต์
|
|
1967
|
แซ็งเตเตียน
|
3–0
|
ลียง
|
สนามกีฬาฌอฟรัว กีชาร์, แซ็งเตเตียน
|
|
1968
|
แซ็งเตเตียน
|
5–3
|
บอร์โด
|
สนามกีฬาริชแตร์, มงเปอลีเย
|
|
1969
|
แซ็งเตเตียน
|
3–2
|
มาร์แซย์
|
ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
|
|
1970
|
นิส
|
2–0
|
แซ็งเตเตียน
|
สตาดดูว์แร, นิส
|
|
1971
|
แรนและมาร์แซย์
|
2–2[nb 2]
|
ผู้ชนะ 2 ทีม
|
สตาดเดอลาร์มอรีแกน, แบร็สต์
|
|
1972
|
บัสตียา
|
5–2
|
มาร์แซย์
|
สตาดเดอบงร็องกงทร์, ตูลง
|
|
1973
|
ลียง
|
2–0
|
น็องต์
|
สตาดเดอลาร์มอรีแกน, แบร็สต์
|
|
1985
|
มอนาโก
|
1–1 (5–4 ลูกโทษ)
|
บอร์โด
|
ปาร์กแล็สกูร์, บอร์โด
|
|
1986
|
บอร์โด
|
1–0
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
สนามกีฬากัวเดอลุป, เลซาบีม, กัวเดอลุป
|
|
ทรอเฟเดช็องปียง (1995–ปัจจุบัน)
|
1995[nb 3]
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–2 (6–5 ลูกโทษ)
|
น็องต์
|
สนามกีฬาฟร็องซิส เลอ เบล, แบร็สต์
|
12,000
|
1996
|
ไม่มีการแข่งขันเนื่องจาก โอแซร์ ชนะเลิศทั้ง 2 รายการ
|
1997
|
มอนาโก
|
5–2
|
นิส
|
สตาดเดอลาเมดีแตราเน, เบซีเย
|
4,000
|
1998
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
1–0
|
ล็องส์
|
สตาดเดอลาวาเลดูว์แชร์, ตูร์
|
12,766
|
1999
|
น็องต์
|
1–0
|
บอร์โด
|
สตาดเดอลาลีกอร์น, อาเมียง
|
11,858
|
2000
|
มอนาโก
|
0–0 (6–5 ลูกโทษ)
|
น็องต์
|
สนามกีฬาโอกุสต์ บอนาล, มงเบลียาร์
|
9,918
|
2001
|
น็องต์
|
4–1
|
สทราซบูร์
|
สตาดเดอลาแมโน, สทราซบูร์
|
7,227
|
2002
|
ลียง
|
5–1
|
ลอรีย็อง
|
สนามกีฬาปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง, กาน
|
5,041
|
2003
|
ลียง
|
2–1
|
โอแซร์
|
สนามกีฬาแฌร์ล็อง, ลียง
|
18,254
|
2004
|
ลียง
|
1–1 (7–6 ลูกโทษ)
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
สนามกีฬาปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง, กาน
|
9,429
|
2005
|
ลียง
|
4–1
|
โอแซร์
|
สนามกีฬาอาเบ-เดช็อง, โอแซร์
|
10,967
|
2006
|
ลียง
|
1–1 (5–4 ลูกโทษ)
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
สนามกีฬาแฌร์ล็อง, ลียง
|
30,529
|
2007
|
ลียง
|
2–1
|
ซอโช-มงเบลียาร์
|
สนามกีฬาแฌร์ล็อง, ลียง
|
30,413
|
2008
|
บอร์โด
|
0–0 (5–4 ลูกโทษ)
|
ลียง
|
สนามกีฬาชาบ็อง-แดลมัส, บอร์โด
|
27,167
|
2009
|
บอร์โด
|
2–0
|
แก็งก็อง
|
สนามกีฬาโอลิมปิก, มอนทรีออล, แคนาดา
|
34,068
|
2010
|
มาร์แซย์
|
0–0 (5–4 ลูกโทษ)
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
สนามกีฬาโอลิมปิกราแด็ส, ตูนิส, ตูนิเซีย
|
57,000
|
2011
|
มาร์แซย์
|
5–4
|
ลีล
|
สนามกีฬาฏ็อนญะฮ์, ฏ็อนญะฮ์, โมร็อกโก
|
33,900
|
2012
|
ลียง
|
2–2 (4–2 ลูกโทษ)
|
มงเปอลีเย
|
เรดบูลอะรีนา, แฮร์ริสัน, สหรัฐ
|
15,166
|
2013
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–1
|
บอร์โด
|
สนามกีฬาอ็องกงเจ, ลีเบรอวีล, กาบอง
|
34,658
|
2014
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–0
|
แก็งก็อง
|
เวิร์กเกอร์สเตเดียม, ปักกิ่ง, จีน
|
39,752
|
2015
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–0
|
ลียง
|
สนามกีฬาซาปูโต, มอนทรีออล, แคนาดา
|
20,057
|
2016
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
4–1
|
ลียง
|
เวอร์เทอร์เซชตาดีอ็อน, คลาเกินฟวร์ท, ออสเตรีย
|
10,120
|
2017
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–1
|
มอนาโก
|
สนามกีฬาฏ็อนญะฮ์, ฏ็อนญะฮ์, โมร็อกโก
|
43,761
|
2018
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
4–0
|
มอนาโก
|
ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยโลกเชินเจิ้น, เชินเจิ้น, จีน
|
41,237
|
2019
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–1
|
แรน
|
ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยโลกเชินเจิ้น, เชินเจิ้น, จีน
|
22,045
|
2020
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–1
|
มาร์แซย์
|
สนามกีฬาบอลาร์ต-เดอเลลิส, ล็องส์
|
0
|
2021
|
ลีล
|
1–0
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
สนามกีฬาบลูมฟิลด์, เทลอาวีฟ, อิสราเอล
|
29,000
|
2022
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
4–0
|
น็องส์
|
28,000
|
2023
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
|
2–0
|
ตูลูซ
|
ปาร์กเดแพร็งส์ ปารีส ฝรั่งเศส
|
43,792
|
ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามสโมสร
[แก้]
สโมสร
|
ชนะเลิศ
|
รองชนะเลิศ
|
ปีที่ชนะ
|
ปีที่แพ้
|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง |
12 |
5 |
1995, 1998, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020, 2022, 2023
|
1986, 2004, 2006, 2010, 2021
|
ลียง |
8 |
4 |
1973, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2012
|
1967, 2008, 2015, 2016
|
แซ็งเตเตียน |
5 |
1 |
1957, 1962, 1967, 1968, 1969 |
1970
|
มอนาโก |
4 |
3 |
1961, 1985, 1997, 2000 |
1960, 2017, 2018
|
แร็งส์ |
4 |
1 |
1955, 1958, 1960, 1966 |
1962
|
น็องต์ |
3 |
5 |
1965, 1999, 2001 |
1966, 1973, 1995, 2000, 2022
|
บอร์โด |
3 |
4 |
1986, 2008, 2009 |
1968, 1986, 1999, 2013
|
มาร์แซย์ |
3 |
3 |
1971, 2010, 2011 |
1969, 1972, 2020
|
นิส |
1 |
3 |
1970 |
1956, 1959, 1997
|
แรน |
1 |
2 |
1971 |
1965, 2019
|
เซอด็อง |
1 |
1 |
1956 |
1961
|
เลออาฟวร์ |
1 |
0 |
1959 |
–
|
บัสตียา |
1 |
0 |
1972 |
–
|
ลีล |
1 |
2 |
2021 |
1955, 2011
|
โอแซร์ |
0 |
2 |
– |
2003, 2005
|
แก็งก็อง |
0 |
2 |
– |
2009, 2014
|
ตูลูซ |
0 |
2 |
– |
1957, 2023
|
นีม |
0 |
1 |
– |
1958
|
ล็องส์ |
0 |
1 |
– |
1998
|
สทราซบูร์ |
0 |
1 |
– |
2001
|
ลอรีย็อง |
0 |
1 |
– |
2002
|
ซอโช-มงเบลียาร์ |
0 |
1 |
– |
2007
|
มงเปอลีเย |
0 |
1 |
– |
2012
|
- ↑ มอนาโก ชนะการแข่งขันโดยการจับสลาก โดยไม่มีการดวลลูกโทษตัดสิน
- ↑ เป็นผู้ชนะทั้งสองทีมเนื่องจากเสมอกัน
- ↑ การแข่งขันเกิดขึ้นในวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1996
- ↑ "Palmares". Ligue de Football Professionnel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 พฤษภาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2010.
ฟุตบอลซูเปอร์คัพแห่งชาติของทวีปยุโรป ( ยูฟ่า) |
---|
ปัจจุบัน | |
---|
อดีต | |
---|
ระหว่างชาติ | |
---|
|
---|
|
ทีมชาติ | |
---|
ระบบลีก | |
---|
ถ้วยในประเทศ | |
---|
รายการอื่น | |
---|
องค์กร | |
---|
รายชื่อและสถิติ | |
---|
เมือง | |
---|