ข้ามไปเนื้อหา

วัฒนธรรมตะวันตก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อารยธรรมตะวันตก)
วิทรูเวียนแมน โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี อิงจากความสัมพันธ์ของสัดส่วนของมนุษย์ในอุดมคติด้วยเรขาคณิตที่อธิบายโดยสถาปนิกชาวโรมันโบราณ วิตรูวิอุส ในตำรา De architectura เล่มที่ 3
เพลโต ผู้ที่โต้แย้งว่าเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในปรัชญาตะวันตกทั้งหมด มีอิทธิพลต่อปรัชญาและเทววิทยาตะวันตกและตะวันออกกลางแทบทั้งสิ้น

วัฒนธรรมตะวันตก หรือคำอื่นที่ใช้แทนกันได้อย่าง อารยธรรมตะวันตก, วัฒนธรรมตะวันตก หรือ สังคมตะวันตก เป็นมรดกทางบรรทัดฐาน, ค่านิยม, จารีตและวิถีประชา, ความเชื่อ, ระบบการเมือง, สิ่งประดิษฐ์ และเทคโนโลยีของโลกตะวันตก ศัพท์นี้ครอบคลุมกว่าทวีปยุโรปไปยังประเทศและวัฒนธรรมที่ในอดีตมีความเชื่อมโยงกับยุโรปอย่างมากผ่านการอพยพ การล่าอาณานิคม หรืออิทธิพล วัฒนธรรมตะวันตกได้รับอิทธิพลมากที่สุดจากวัฒนธรรมกรีก-โรมัน, วัฒนธรรมคริสเตียน และวัฒนธรรมเจอร์มานิกในระดับหนึ่ง[1]

การขยายตัวของวัฒนธรรมกรีกไปยังโลกสมัยเฮลเลนิสต์ในเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกนำไปสู่การสังเคราะห์ระหว่างวัฒนธรรมกรีกกับตะวันออกใกล้[2] และความก้าวหน้าที่สำคัญในด้านวรรณกรรม วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และเป็นผู้จัดเตรียมวัฒนธรรมสำหรับการขยายตัวของศาสนาคริสต์ในยุคแรกกับพันธสัญญาใหม่ในภาษากรีก[3][4][5] ยุคสมัยนี้ทับซ้อนและตามหลังด้วยโรมที่มีส่วนสำคัญในด้านกฎหมาย รัฐบาล วิศวกรรม และองค์กรทางการเมือง[6]

ศาสนาคริสต์ โดยหลักคือคริสตจักรโรมันคาทอลิก[7][8][9] และภายหลังโปรเตสแตนต์[10][11][12][13] มีบทบาทสำคัญในการก่อตัวของอารยธรรมตะวันตกตั้งแต่อย่างน้อยในคริสต์ศตวรรษที่ 4[14][15][16][17][18] และศาสนายูดาห์ด้วย[19][20][21][22] รากฐานที่สำคัญของแนวคิดตะวันตกที่เริ่มต้นในกรีซโบราณและพัฒนาผ่านสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคือแนวคิดเหตุผลนิยมในด้านต่าง ๆ ของชีวิตที่พัฒนาด้วยปรัชญาเฮเลนิสติก, ลัทธิอัสมาจารย์ และมนุษยนิยม ภายหลังประจักษ์นิยมนำไปสู่จุดเริ่มต้นของระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์ การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ และยุคเรืองปัญญา

หมายเหตุ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Marvin Perry, Myrna Chase, James Jacob, Margaret Jacob, Theodore H. Von Laue (1 January 2012). Western Civilization: Since 1400. Cengage Learning. p. XXIX. ISBN 978-1-111-83169-1.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. Green, Peter. Alexander to Actium: The Historical Evolution of the Hellenistic Age. Berkeley: University of California Press, 1990.
  3. Russo, Lucio (2004). The Forgotten Revolution: How Science Was Born in 300 BC and Why It Had To Be Reborn. Berlin: Springer. ISBN 3-540-20396-6.
  4. "Hellenistic Age". Encyclopædia Britannica Online. Encyclopædia Britannica, Inc. สืบค้นเมื่อ 8 September 2012.
  5. Green, P (2008). Alexander The Great and the Hellenistic Age. p. xiii. ISBN 978-0-7538-2413-9.
  6. Jonathan Daly (19 December 2013). The Rise of Western Power: A Comparative History of Western Civilization. A&C Black. pp. 7–9. ISBN 978-1-4411-1851-6.
  7. Spielvogel, Jackson J. (2016). Western Civilization: A Brief History, Volume I: To 1715 (Cengage Learning ed.). p. 156. ISBN 978-1-305-63347-6.
  8. Neill, Thomas Patrick (1957). Readings in the History of Western Civilization, Volume 2 (Newman Press ed.). p. 224.
  9. O'Collins, Gerald; Farrugia, Maria (2003). Catholicism: The Story of Catholic Christianity. Oxford University Press. p. v (preface). ISBN 978-0-19-925995-3.
  10. Karl Heussi, Kompendium der Kirchengeschichte, 11. Auflage (1956), Tübingen (Germany), pp. 317–319, 325–326
  11. The Protestant Heritage เก็บถาวร 23 กุมภาพันธ์ 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Britannica
  12. McNeill, William H. (2010). History of Western Civilization: A Handbook (University of Chicago Press ed.). p. 204. ISBN 978-0-226-56162-2.
  13. Faltin, Lucia; Melanie J. Wright (2007). The Religious Roots of Contemporary European Identity (A&C Black ed.). p. 83. ISBN 978-0-8264-9482-5.
  14. Roman Catholicism เก็บถาวร 6 พฤษภาคม 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, "Roman Catholicism, Christian church that has been the decisive spiritual force in the history of Western civilization". Encyclopædia Britannica
  15. Caltron J.H Hayas, Christianity and Western Civilization (1953), Stanford University Press, p. 2: That certain distinctive features of our Western civilization—the civilization of western Europe and of America—have been shaped chiefly by Judaeo–Christianity, Catholic and Protestant.
  16. Jose Orlandis, 1993, "A Short History of the Catholic Church," 2nd edn. (Michael Adams, Trans.), Dublin:Four Courts Press, ISBN 1851821252, preface, see [1] เก็บถาวร 2 มกราคม 2023 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, accessed 8 December 2014. p. (preface)
  17. Thomas E. Woods and Antonio Canizares, 2012, "How the Catholic Church Built Western Civilization," Reprint edn., Washington, D.C.: Regnery History, ISBN 1596983280, see accessed 8 December 2014. p. 1: "Western civilization owes far more to Catholic Church than most people—Catholic included—often realize. The Church in fact built Western civilization."[ลิงก์เสีย]
  18. Marvin Perry (1 January 2012). Western Civilization: A Brief History, Volume I: To 1789. Cengage Learning. pp. 33–. ISBN 978-1-111-83720-4.
  19. Noble, Thomas F. X. (1 January 2013). Western civilization : beyond boundaries (7th ed.). Boston, MA. pp. 107. ISBN 978-1-133-60271-2. OCLC 858610469.
  20. Marvin Perry; Myrna Chase; James Jacob; Margaret Jacob; Jonathan W Daly (2015). Western Civilization: Ideas, Politics, and Society, Volume I: To 1789. Cengage Learning. p. 105. ISBN 978-1-305-44548-2.
  21. Hengel, Martin (2003). Judaism and Hellenism : studies in their encounter in Palestine during the early Hellenistic period. Eugene, OR: Wipf & Stock Publishers. ISBN 978-1-59244-186-0. OCLC 52605048.
  22. Porter, Stanley E. (2013). Early Christianity in its Hellenistic context. Volume 2, Christian origins and Hellenistic Judaism : social and literary contexts for the New Testament. Leiden: Brill. ISBN 978-9004234765. OCLC 851653645.

ข้อมูล

[แก้]

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]