ข้ามไปเนื้อหา

อาณาจักรพัลแฮ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(ต่าง) ←รุ่นเก่ากว่านี้ | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นที่ใหม่กว่า → (ต่าง)
พัลแฮ / ปั๋วไห่

698–926
ดินแดนพัลแฮใน ค.ศ. 830 ในรัชสมัยพระเจ้าซ็อนแห่งพัลแฮ[1][2]
ดินแดนพัลแฮใน ค.ศ. 830 ในรัชสมัยพระเจ้าซ็อนแห่งพัลแฮ[1][2]
เมืองหลวงภูเขาทงโม
(698–742)
เมืองหลวงกลาง
(742–756)
เมืองหลวงตอนเหนือ
(756–785)
เมืองหลวงตะวันออก
(785–793)
เมืองหลวงตอนเหนือ
(793–926)[a]
ภาษาทั่วไปโคกูรยอ (กลุ่มภาษาเกาหลี),
ตุงกูซิกดั้งเดิม,
จีนคลาสสิก (วรรณกรรม)
ศาสนา
พุทธ[4][5],
เชมัน[6],
ลัทธิขงจื๊อ[ต้องการอ้างอิง]
การปกครองราชาธิปไตย
กษัตริย์ 
• 698–719
โก (องค์แรก)
• 719–737
มู
• 737–793
มุน
• 818–830
ซ็อน
• 907–926
แท อินซ็อน (องค์สุดท้าย)
ประวัติศาสตร์ 
• Dae Jung-sang เริ่มต้นการเดินทัพ
696
• การสถาปนาที่ Tianmenling
698
• "พัลแฮ" ในฐานะชื่ออาณาจักร
713
• Sang-gyeong ล่มสลาย
14 มกราคม 926
ประชากร
• คริสต์ศตวรรษที่ 7–8
ประมาณ 500,000 คน
ก่อนหน้า
ถัดไป
โคกูรยอ
กลุ่มชนมั่วเหอ
ราชวงศ์เหลียว
Dongdan
โครยอ
พัลแฮยุคหลัง
ชนจูร์เชน
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศจีน
เกาหลีเหนือ
รัสเซีย
พัลแฮ
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
ฮันจา
ชื่อภาษาจีน
ภาษาจีน
ชื่อภาษารัสเซีย
ภาษารัสเซียБохай
อักษรโรมันBohai
ชื่อภาษาแมนจู
อักษรแมนจู ᡦᡠᡥᠠ‍ᡳ
อักษรโรมันPuhai

อาณาจักรพัลแฮ (เกาหลี발해, เสียงอ่านภาษาเกาหลี: /pa̠ɽɦɛ̝/) หรือ ปั๋วไห่ (จีน: 渤海; พินอิน: Bóhǎi, รัสเซีย: Бохай, อักษรโรมัน: Bokhay, แมนจู: ᡦᡠᡥᠠ‍ᡳ) เป็นอาณาจักรหลายเชื้อชาติใน แมนจูเรีย คาบสมุทรเกาหลี และ รัสเซียตะวันออกไกล[7]

การล่มสลายของจักรวรรดิพัลแฮ

[แก้]

การล่มสลายของจักรวรรดิพัลแฮเริ่มต้นขึ้นเมื่อเกิดสงครามครั้งใหญ่ระหว่างราชวงศ์เหลียว หรือพวกชนเผ่าคิตัน เข้าตีดินแดนของจีนสมัยปลายราชวงศ์ถัง ในพุทธศตวรรษที่ 15 อาณาจักรพัลแฮจึงต้องถูกตีไปด้วยเนื่องจากเป็นเขตอิทธิพลที่อยู่ใกล้ชิดติดกันระหว่างเขตดินแดนระหว่างจีนและคิตันในแมนจูเรีย ในพ.ศ. 1545 ราชวงศ์ถัง ถูกราชวงศ์เหลียวตีจนแตกออกเป็นแคว้นเล็กแคว้นน้อย และพวกคิตันก็ทำสงครามต่อเนื่องจนกระทั่งได้ครอบครองดินแดนทางตอนเหนือของจีนส่วนใหญ่ การทำสงครามยึดครองครั้งนี้ จักรวรรดิพัลแฮก็ถูกยึดครองไปด้วยเช่นกัน ราชวงศ์เหลียวเข้าตีพัลแฮจนแตกใน พ.ศ. 1469 นับเป็นการสิ้นสุดจักรวรรดิพัลแฮ แม้ในภายหลังราชวงศ์เหลียวได้ตั้งอาณาจักรใหม่ขึ้นแทน คือ อาณาจักรตงตาน เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งได้เพียง 10 ปี ในพ.ศ. 1479 ราชวงศ์เหลียวก็ควบคุมอาณาจักรตงตานมาเป็นส่วนหนึ่งของราชวงศ์เหลียว และประชาชนชาวพัลแฮรู้ว่าตนเองสืบเชื้อสายจากชาวโคกูรยอ ไม่ใช่ชาวแมนจู จึงได้อพยพลงใต้ไปยังบริเวณอาณาจักรโคกูรยอเก่าแล้วสถาปนาอาณาจักรใหม่ขึ้นมาคืออาณาจักรฮูโกกูรยอหรืออาณาจักรโคกูรยอใหม่

หมายเหตุ

[แก้]
  1. With the multiple capitals system; a Supreme capital with four secondary capitals (c.820-926)[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 동북아역사재단 편 (Northeast Asian History Foundation) (2007). 새롭게 본 발해사. 동북아역사재단. p. 62. ISBN 978-89-6187-003-0.
  2. "渤海の遼東地域の領有問題をめぐって : 拂涅・越 喜・鉄利等靺鞨の故地と関連して" (PDF). Kyushu University Institutional Repository. 2003.
  3. Kradin Nikolai Nikolaevich (2018). "Динамика урбанизационных процессов в средневековых государствах Дальнего Востока" [Dynamics of urbanization processes in the medieval states of the Far East]. Siberian historical research. สืบค้นเมื่อ 5 February 2019.
  4. Stoyakin Maxim Aleksandrovich (2012). Культовая архитектура Бохайского времени в северной части Кореского Полуострова [Religious cult architecture of the Bohai time in the northern part of the Korean Peninsula]. BUDDHIST RELIGIOUS ARCHITECTURE OF PARHAE (BOHAI) LOCATED IN NORTHERN PART OF KOREAN PENINSULA (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 5 February 2019.
  5. 古畑徹 (2017). 渤海国とは何か 歴史文化ライブラリー (ภาษาญี่ปุ่น). 吉川弘文館. ISBN 978-4642058582.
  6. "Буддийская культовая архитектура бохайского времени в северной части корейского полуострова".
  7. 정석배 JUNG Suk-bae (2016). "발해의 북방경계에 대한 일고찰 (Study on northern borders of Balhae)". 고구려발해연구 The Koguryo Balhae Yongu (ภาษาเกาหลี). 고구려발해학회 Association of Koguryo Balhae. 54: 88.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]