ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเทียมสปุตนิก 1"
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
|||
บรรทัด 38: | บรรทัด 38: | ||
| orbit_period = 96.2 นาที |
| orbit_period = 96.2 นาที |
||
}} |
}} |
||
'''สปุตนิก 1''' ({{lang-ru|Спутник-1}} ; IPA: [ˈsputnʲɪk] ; {{lang-en|Sputnik 1}}) เป็น[[ดาวเทียม]]ดวงแรกของโลก{{Sfn|Terry|2013|p=233}} [[สหภาพโซเวียต]] ได้ส่งดาวเทียมสปุตนิกขึ้นสู่วงโคจรโลกในรูปวงรีในวันที่ 4 ตุลาคม 1957 ซึ่งโคจรสามสัปดาห์ก่อนที่แบตเตอรี่จะเสียอย่างเงียบ ๆ ก่อนที่จะตกลงสู่ชั้นบรรยากาศในอีกสองเดือนต่อมา สปุตนิก 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 ซม. (23 นิ้ว) มีเสาอากาศวิทยุภายนอก 4 เสาเพื่อกระจายคลื่นวิทยุ สัญญาณวิทยุสามารถตรวจจับได้โดยนักวิทยุสมัครเล่น<ref>{{cite web |url=http://www.arrl.org/news/features/2007/09/28/03/?nc=1 |title=Sputnik and Amateur Radio |date=28 September 2007 |publisher=[[American Radio Relay League]] |author=Ralph H. Didlake, KK5PM |author2=Oleg P. Odinets, RA3DNC |access-date=26 March 2008 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20071011045828/http://www.arrl.org/news/features/2007/09/28/03/?nc=1 <!-- Bot retrieved archive --> |archivedate=11 October 2007}}</ref> และระยะเอียง 65 องศาและระยะเวลาของวงโคจรของมันทำให้เส้นทางการบินครอบคลุมพื้นที่ทั้งโลก ความสำเร็จที่น่าแปลกใจนี้ได้ทำให้เกิด[[วิกฤติการณ์สปุตนิก]]ในหมู่ชาวอเมริกัน และทำให้การแข่งขันด้านอวกาศเป็นส่วนหนึ่งของ[[สงครามเย็น]] การเปิดตัวนี้นำมาซึ่งการพัฒนาด้านการเมือง, การทหาร, เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ<ref name="test">[http://www.americanheritage.com/articles/magazine/ah/2010/4/2010_4_88.shtml Walter A. McDougall]{{dead link|date=November 2017 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} "Shooting the Moon," ''American Heritage'', Winter 2010.</ref><ref>Swenson, ''et al'', p. 71.</ref> |
'''สปุตนิก 1''' ({{lang-ru|Спутник-1}} ; IPA: [ˈsputnʲɪk] ; {{lang-en|Sputnik 1}}) เป็น[[ดาวเทียม]]ดวงแรกของโลก{{Sfn|Terry|2013|p=233}} [[สหภาพโซเวียต]] ได้ส่งดาวเทียมสปุตนิกขึ้นสู่วงโคจรโลกในรูปวงรีในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1957 ซึ่งโคจรสามสัปดาห์ก่อนที่แบตเตอรี่จะเสียอย่างเงียบ ๆ ก่อนที่จะตกลงสู่ชั้นบรรยากาศในอีกสองเดือนต่อมา สปุตนิก 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 ซม. (23 นิ้ว) มีเสาอากาศวิทยุภายนอก 4 เสาเพื่อกระจายคลื่นวิทยุ สัญญาณวิทยุสามารถตรวจจับได้โดยนักวิทยุสมัครเล่น<ref>{{cite web |url=http://www.arrl.org/news/features/2007/09/28/03/?nc=1 |title=Sputnik and Amateur Radio |date=28 September 2007 |publisher=[[American Radio Relay League]] |author=Ralph H. Didlake, KK5PM |author2=Oleg P. Odinets, RA3DNC |access-date=26 March 2008 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20071011045828/http://www.arrl.org/news/features/2007/09/28/03/?nc=1 <!-- Bot retrieved archive --> |archivedate=11 October 2007}}</ref> และระยะเอียง 65 องศาและระยะเวลาของวงโคจรของมันทำให้เส้นทางการบินครอบคลุมพื้นที่ทั้งโลก ความสำเร็จที่น่าแปลกใจนี้ได้ทำให้เกิด[[วิกฤติการณ์สปุตนิก]]ในหมู่ชาวอเมริกัน และทำให้การแข่งขันด้านอวกาศเป็นส่วนหนึ่งของ[[สงครามเย็น]] การเปิดตัวนี้นำมาซึ่งการพัฒนาด้านการเมือง, การทหาร, เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ<ref name="test">[http://www.americanheritage.com/articles/magazine/ah/2010/4/2010_4_88.shtml Walter A. McDougall]{{dead link|date=November 2017 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} "Shooting the Moon," ''American Heritage'', Winter 2010.</ref><ref>Swenson, ''et al'', p. 71.</ref> |
||
การติดตามและการศึกษาดาวเทียมสปุตนิก 1 จากโลกได้ให้ข้อมูลแก่นักวิทยาศาสตร์ ถึงความหนาแน่นของบรรยากาศชั้นบนอาจถูกอนุมานได้จากการลากบนวงโคจรและการแพร่กระจายของสัญญาณวิทยุจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับ[[ไอโอโนสเฟียร์|ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์]] |
การติดตามและการศึกษาดาวเทียมสปุตนิก 1 จากโลกได้ให้ข้อมูลแก่นักวิทยาศาสตร์ ถึงความหนาแน่นของบรรยากาศชั้นบนอาจถูกอนุมานได้จากการลากบนวงโคจรและการแพร่กระจายของสัญญาณวิทยุจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับ[[ไอโอโนสเฟียร์|ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:04, 28 ตุลาคม 2561
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
สปุตนิก 1 "Спутник-1" | |
---|---|
แบบจำลอง สปุตนิก 1 | |
ประเภทภารกิจ | สาธิตเทคโนโลยี |
ผู้ดำเนินการ | สหภาพโซเวียต |
Harvard designation | 1957 Alpha 2 |
COSPAR ID | 1957-001B |
SATCAT no. | 00002 |
ระยะภารกิจ | 21 วัน |
วงโคจรรอบโลก | 1,440 |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | ru:OKB-1, Soviet Ministry of Radiotechnical Industry |
มวลขณะส่งยาน | 83.6 กิโลกรัม |
กำลังไฟฟ้า | 1 วัตต์ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 4 ตุลาคม 1957, 19:28:34 UTC (22:28:34 MSK) |
จรวดนำส่ง | ru:R-7 Semyorka |
ฐานส่ง | ไบโคนูร์ 1/5 |
สิ้นสุดภารกิจ | |
การกำจัด | วงโคจรสลาย |
ติดต่อครั้งสุดท้าย | 25 ตุลาคม 1957 |
เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ | 3 มกราคม 1958 |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | โลกเป็นศูนย์กลาง |
ระบบวงโคจร | วงโคจรต่ำของโลก |
กึ่งแกนเอก | 6,955.2 กิโลเมตร (4,321.8 ไมล์) |
ความเยื้อง | 0.05201 |
ระยะใกล้สุด | 6586 กม. จากศูนย์กลาง, 215 กม. (134 ไมล์) จากพื้นผิว |
ระยะไกลสุด | 7310 กม. จากศูนย์กลาง, 939 กม. (583 ไมล์) จากพื้นผิว |
ความเอียง | 65.1° |
คาบการโคจร | 96.2 นาที |
สปุตนิก 1 (รัสเซีย: Спутник-1 ; IPA: [ˈsputnʲɪk] ; อังกฤษ: Sputnik 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกของโลก[1] สหภาพโซเวียต ได้ส่งดาวเทียมสปุตนิกขึ้นสู่วงโคจรโลกในรูปวงรีในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1957 ซึ่งโคจรสามสัปดาห์ก่อนที่แบตเตอรี่จะเสียอย่างเงียบ ๆ ก่อนที่จะตกลงสู่ชั้นบรรยากาศในอีกสองเดือนต่อมา สปุตนิก 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 ซม. (23 นิ้ว) มีเสาอากาศวิทยุภายนอก 4 เสาเพื่อกระจายคลื่นวิทยุ สัญญาณวิทยุสามารถตรวจจับได้โดยนักวิทยุสมัครเล่น[2] และระยะเอียง 65 องศาและระยะเวลาของวงโคจรของมันทำให้เส้นทางการบินครอบคลุมพื้นที่ทั้งโลก ความสำเร็จที่น่าแปลกใจนี้ได้ทำให้เกิดวิกฤติการณ์สปุตนิกในหมู่ชาวอเมริกัน และทำให้การแข่งขันด้านอวกาศเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น การเปิดตัวนี้นำมาซึ่งการพัฒนาด้านการเมือง, การทหาร, เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ[3][4]
การติดตามและการศึกษาดาวเทียมสปุตนิก 1 จากโลกได้ให้ข้อมูลแก่นักวิทยาศาสตร์ ถึงความหนาแน่นของบรรยากาศชั้นบนอาจถูกอนุมานได้จากการลากบนวงโคจรและการแพร่กระจายของสัญญาณวิทยุจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์
ดาวเทียมสปุตนิก 1 ถูกปล่อยในระหว่างปีสากลแห่งธรณีฟิสิกส์ จากไซต์ №1/5 ที่ the 5th Tyuratam range ในสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (ปัจจุบันคือ ไบโคนูร์คอสโมโดรม) ดาวเทียมเดินทางประมาณ 29,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (18,000 ไมล์ต่อชั่วโมง 8,100 เมตร / วินาที) โดยใช้เวลา 96.2 นาทีในการทำให้ครบรอบวงโคจรเสร็จสมบูรณ์ สปุกนิกส่งคลิ่นที่ 20.005 และ 40.002 เมกะเฮิรตซ์[5] ซึ่งได้รับการตรวจสอบโดยผู้ให้บริการวิทยุทั่วโลก สัญญาณของสปุกนิกยังคงปรากฏเป็นเวลา 21 วันจนกว่าแบตเตอรี่ของเครื่องส่งสัญญาณจะหมดลงในวันที่ 26 ตุลาคม 1957[6] ดาวเทียมสปุตนิกถูกเผาในวันที่ 4 มกราคม 1958 ขณะที่กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลกหลังจากได้โคจรรอบโลกสามเดือนเสร็จสิ้นพร้อมกับโคจรครบรอบวงโคจรทั้งหมด 1440 รอบ[7] และระยะทางเดินทางประมาณ 70 ล้านกิโลเมตร (43 ล้านไมล์)[8]
ลักษณะ
ชื่อ สปุตนิก-1 แปลว่า "ดาวเทียม-1" และชื่อย่อภาษารัสเซียว่า ПС-1 ดาวเทียมดวงนี่มีรูปทรงกลมขนาดเท่าลูกบาสเกตบอล ทำด้วยอะลูมิเนียมหนัก 84 กิโลกรัม ถูกส่งขึ้นวงโคจรด้วยจรวด อาร์-7 จากฐานยิงในทะเลทรายคีซิลคุม ไบโคนูร์คอสโมโดรม คาซัคสถาน เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500 [9]
อ้างอิง
- ↑ Terry 2013, p. 233.
- ↑ Ralph H. Didlake, KK5PM; Oleg P. Odinets, RA3DNC (28 September 2007). "Sputnik and Amateur Radio". American Radio Relay League. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 October 2007. สืบค้นเมื่อ 26 March 2008.
- ↑ Walter A. McDougall[ลิงก์เสีย] "Shooting the Moon," American Heritage, Winter 2010.
- ↑ Swenson, et al, p. 71.
- ↑ Jorden, William J. (5 October 1957). "Soviet Fires Earth Satellite Into Space". The New York Times. New York: The New York Times Co. สืบค้นเมื่อ 28 December 2015.
- ↑ "Sputnik". vibrationdata.com. สืบค้นเมื่อ 8 March 2008.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อrswSM
- ↑ "Sputnik 1 – NSSDC ID: 1957-001B". NSSDC Master Catalog. NASA.
- ↑ นิตยสาร เนชั่นแนลจีโอกราฟิก ฉบับภาษาไทย ตุลาคม 2550 หน้า 102
แหล่งข้อมูลอื่น
- History of Sputnik 1 at MentalLandscape.com; includes authentic recordings of the satellite signal
- Documents related to Sputnik 1 and the Space Race at the Dwight D. Eisenhower Presidential Library
- An interview with Sir Arthur C. Clarke on Sputnik 1
- Satellite One: The story of the first man-made device in space Tass
- NASA's 50th Anniversary of the Space Age & Sputnik – Interactive Media
- Sputnik Program Page by NASA's Solar System Exploration
- NASA on Sputnik 1
- A joint Russian project of Ground microprocessing information systems SRC "PLANETA" and Space Monitoring Information Support laboratory (IKI RAN) dedicated to the 40th anniversary of Sputnik 1