ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามกีฬาศรีณรงค์"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น |
||
บรรทัด 43: | บรรทัด 43: | ||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
||
*[http://www.worldstadiums.com/asia/countries/thailand.shtml ข้อมูลสนาม] |
*[http://www.worldstadiums.com/asia/countries/thailand.shtml ข้อมูลสนาม] |
||
*[http://www.onefuhotel.com โรงแรมที่พักใกล้สนามศรีณรงค์] |
|||
{{สร้างปี|2537}} |
{{สร้างปี|2537}} |
||
[[หมวดหมู่:สนามกีฬาในจังหวัดสุรินทร์]] |
[[หมวดหมู่:สนามกีฬาในจังหวัดสุรินทร์]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:42, 29 เมษายน 2558
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
สนามกีฬาศรีณรงค์ อัฒจันทร์ฝั่งทิศตะวันออก สนามกีฬาศรีณรงค์ อัฒจันทร์ฝั่งทิศตะวันตก | |
ที่ตั้ง | จังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย |
---|---|
เจ้าของ | การกีฬาแห่งประเทศไทย |
ความจุ | 7,000 ที่นั่ง 11,000 ที่นั่ง |
พื้นผิว | หญ้าพาสพาลัม |
เปิดใช้สนาม | พ.ศ. 2537 |
การใช้งาน | |
สโมสรฟุตบอลจังหวัดสุรินทร์ การกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัดสุรินทร์ |
สนามกีฬาศรีณรงค์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2537 ตั้งอยู่ภายในสนามกีฬาศรีณรงค์ คือ ศูนย์การกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัดสุรินทร์ เดิมบริเวณนั้นเป็น สนามม้าแห่งจังหวัดสุรินทร์ และ ท่าอากาศยานสุรินทร์ภักดี เป็นที่ดินราชพัสดุ การดูแลของ กองทัพอากาศ - บก และต่อมาจังหวัดได้ขอโอนมาเพื่อใช้ในกิจกรรมกีฬาของจังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ 60 ไร่ 2 งาน 55 ตารางวา กว้างประมาณ 188.08 เมตร ยาวประมาณ 467.54 เมตร ไม่มีสิ่งปลูกสร้างใดๆ อยู่ติดกับเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ มีถนนลาดยางตัดผ่านด้านหน้าสนาม กว้าง 10 เมตร และยังเป็นที่ตั้งของ สโมสรฟุตบอลจังหวัดสุรินทร์ หรือสุรินทร์ เอฟซี และยังเป็นสนามเหย้าอีกด้วย และใช้จัดงานกีฬา เช่น เมืองช้างเกมส์ ฯลฯ และงานประจำปี เช่น งานช้างและกาชาดสุรินทร์
สิ่งก่อสร้างภายใน
- อาคารสำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทย สำนักงานสุรินทร์
- สนามฟุตบอลศรีณรงค์
- สระว่ายน้ำมหิธร
- โรงยิมเนซี่ยมเผ่าแผน
- สนามฟุตซอล
- สนามแบดมินตัน
- สนามตะกร้อ
- สนามเทนนิส
โครงการต่อเติมอัฒจันทร์
การกีฬาจังหวัดสุรินทร์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ และสโมสรฟุตบอลสุรินทร์ FC ได้ร่วมมือที่จะจัดทำโครงการต่อเติมอัฒจันทร์ฝั่งที่ไม่มีหลังคาให้สูงขึ้น และ วางเก้าอี้บนอัฒจันทร์เพื่อความสบายของแฟนบอล และวางเก้าอี้ และยังจะมีการที่จะวางระบบไฟสนามไว้บนหลังคาอัฒจันทร์ฝั่งมีหลังคาเพื่อความสว่างมากขึ้น(คล้ายกับสนามศรีนครลำดวน) และเนื่องด้วยแฟนบอลมีมากจึงจำเป็นต้องเพิ่มที่นั่งให้มากขึ้นจากเดิม 7,000 ที่นั่ง เป็น 11,000 ที่นั่ง
ภายในสนามกีฬาศรีณรงค์
-
สนามกีฬาศรีณรงค์ ฝั่งทิศเหนือ
-
สนามกีฬาศรีณรงค์ ฝั่งทิศใต้
-
สระว่ายน้ำมหิธร
-
สนามเทนนิส
-
โรงยิมเนซี่ยมเผ่าแผน
-
ศูนย์ส่งเสริมกีฬามวยจังหวัดสุรินทร์
-
การกีฬาแห่งประเทศไทย
-
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว นครชัยบุรินทร์
-
ประตูสนามกีฬาฝั่งทิศเหนือ