ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซนต์"
พุทธามาตย์ (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข |
|||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
[[ไฟล์:All-Saints.jpg|thumb|300px|right|ภาพ "[[นักบุญทั้งหลาย]]" วาดโดย[[ฟราอันเจลีโก]]]] |
[[ไฟล์:All-Saints.jpg|thumb|300px|right|ภาพ "[[นักบุญทั้งหลาย]]" วาดโดย[[ฟราอันเจลีโก]]]] |
||
'''เซนต์''' ({{lang-en|saint}}) ชาว[[คาทอลิก]]เรียกว่า'''นักบุญ''' |
'''เซนต์''' ({{lang-en|saint}}) ชาว[[คาทอลิก]]เรียกว่า'''นักบุญ'''หรือ'''ผู้บริสุทธิ์''' ชาว[[โปรเตสแตนต์]]เรียกว่า'''ธรรมิกชน'''หรือ'''ผู้บริสุทธิ์'''<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Eph/1/18 เอเฟซัส 1:18]</ref> ใช้หมายถึงผู้ศักดิ์สิทธิ์<ref name="Wycliffe">''Wycliffe Bible Encyclopedia'', "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church . . . Other references in the NT equate Christians in general with 'saints' . . . All these are identified as saints because they are in Christ Jesus."</ref> ใน[[ศาสนาคริสต์]]แต่ละนิกายอธิบายลักษณะของเซนต์แตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะถือตาม[[คัมภีร์ไบเบิล]]ที่ระบุว่าเซนต์หมายถึงบุคคลใด ๆ ไม่ว่าบนโลกมนุษย์หรือบน[[สวรรค์]] ที่มีชีวิตอยู่ใน[[พระคริสต์]] และเป็นผู้ที่พระคริสต์ทรงประทับอยู่<ref>[http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=270 2 โครินธ์ 5:17]</ref><ref>[http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=294 2 โครินธ์ 13:5]</ref> ใน[[คริสตจักร]][[ออร์ทอดอกซ์]]และ[[โรมันคาทอลิก]]ถือว่า[[คริสต์ศาสนิกชน]]ทั้งหมดที่อยู่บนสวรรค์เป็นนักบุญ แต่แต่ละองค์จะได้รับเกียรติ ถูกยึดถือเป็นแบบอย่าง และรับความเคารพไม่เท่ากัน |
||
ในคัมภีร์ไบเบิล มี |
ในคัมภีร์ไบเบิล มีหลายคนถูกเรียกว่าเป็นเซนต์ เช่น [[อาโรน]] ซึ่งถูกเรียกว่าเป็นคนบริสุทธิ์ของ[[พระยาห์เวห์]]<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Ps/106/16 สดุดี 106:16]</ref> ส่วนใน[[จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัส]][[เปาโลอัครทูต]]ก็ประกาศว่าตนเองเป็น “คนเล็กน้อยยิ่งกว่าคนเล็กน้อยที่สุดในพวกธรรมิกชนทั้งหมด”<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Eph/3/8 เอเฟซัส 3:8]</ref> |
||
== คริสตจักรโรมันคาทอลิก == |
== คริสตจักรโรมันคาทอลิก == |
||
ใน[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] นักบุญหมายถึงบุคคลที่ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการโดยพระศาสนจักร ซึ่งมีความเชื่อว่าบุคคลเหล่านั้นได้อยู่ในสวรรค์แล้ว โดยความหมายนี้ทุกคนที่อยู่ในสวรรค์ก็คือนักบุญถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการ บุคคลที่พระศาสนจักรได้ประการให้เป็นนักบุญนั้นมีความดีโดดเด่น ในการปฏิบัติตามน้ำพระทัยพระเป็นเจ้า คริสตจักรจะยกย่องบุคคลนั้นเป็นพิเศษเพื่อเป็นแบบอย่างและกำลังใจแต่คริสตชนอื่น ๆ |
ใน[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] นักบุญหมายถึงบุคคลที่ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการโดยพระศาสนจักร ซึ่งมีความเชื่อว่าบุคคลเหล่านั้นได้อยู่ในสวรรค์แล้ว โดยความหมายนี้ทุกคนที่อยู่ในสวรรค์ก็คือนักบุญถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการ บุคคลที่พระศาสนจักรได้ประการให้เป็นนักบุญนั้นมีความดีโดดเด่น ในการปฏิบัติตามน้ำพระทัยพระเป็นเจ้า คริสตจักรจะยกย่องบุคคลนั้นเป็นพิเศษเพื่อเป็นแบบอย่างและกำลังใจแต่คริสตชนอื่น ๆ<ref>โรแบร์ โกสเต, บาทหลวง, ''คำสอนคริสตชน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, 2550, หน้า 194</ref> |
||
ตามกระบวน[[การประกาศเป็นนักบุญ]] (canonization) ในคริสตจักรคาทอลิก จะมีการสอบสวนและให้พระสันตะปาปาประกาศสถาปนาเป็นลำดับขั้นดังนี้ |
ตามกระบวน[[การประกาศเป็นนักบุญ]] (canonization) ในคริสตจักรคาทอลิก จะมีการสอบสวนและให้พระสันตะปาปาประกาศสถาปนาเป็นลำดับขั้นดังนี้ |
||
#[[ผู้รับใช้ |
#[[ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า]] (The Servant of God) |
||
#[[ผู้น่าเคารพ]] (The Venerable) |
#[[ผู้น่าเคารพ]] (The Venerable) |
||
#[[บุญราศี]] (The Blessed) |
#[[บุญราศี]] (The Blessed) |
||
บรรทัด 23: | บรรทัด 23: | ||
บาทหลวงนิโคลาสทำงานอภิบาลที่โบสถ์หลายแห่ง คือ [[อาสนวิหารแม่พระบังเกิด บางนกแขวก]] โบสถ์เซนต์นิโคลาส พิษณุโลก โบสถ์คาทอลิกในเชียงใหม่และลำปาง [[อาสนวิหารแม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด นครราชสีมา]] และ[[โบสถ์นักบุญเทเรซา โนนแก้ว]] |
บาทหลวงนิโคลาสทำงานอภิบาลที่โบสถ์หลายแห่ง คือ [[อาสนวิหารแม่พระบังเกิด บางนกแขวก]] โบสถ์เซนต์นิโคลาส พิษณุโลก โบสถ์คาทอลิกในเชียงใหม่และลำปาง [[อาสนวิหารแม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด นครราชสีมา]] และ[[โบสถ์นักบุญเทเรซา โนนแก้ว]] |
||
บาทหลวงนิโคลาสถูกจับใน |
บาทหลวงนิโคลาสถูกจับใน[[วันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์]] หลังจากประกอบศาสนกิจที่[[โบสถ์นักบุญยอแซฟ บ้านหัน]] เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1941 ในข้อหาเป็นกบฏภายนอกราชอาณาจักร ถูกตัดสินจำคุก 15 ปี ระหว่างอยู่ในคุกที่เรือนจำกลางบางขวางเป็นปีที่สาม ท่านป่วยเป็นวัณโรคเป็นเวลา 9 เดือน และถึงแก่กรรมในคุกนั้นเอง เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1944 รวมอายุ 49 ปี ศพของท่านถูกนำไปฝังไว้ที่วัดบางแพรกซึ่งเป็นวัดที่อยู่ใกล้เรือนจำ หลังจากนั้นในเดือนมีนาคม มุขนายกแปโรจึงได้รับอนุญาตให้นำศพของท่านมาฝังที่อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ |
||
บาทหลวงนิโคลาสเป็นบาทหลวงที่เอาใจใส่งานอภิบาล มีใจเมตตาต่อคนยากจน และมีความกระตือรือร้นใน |
บาทหลวงนิโคลาสเป็นบาทหลวงที่เอาใจใส่งานอภิบาล มีใจเมตตาต่อคนยากจน และมีความกระตือรือร้นใน[[การประกาศข่าวดี]] ระหว่างที่อยู่ในคุก ท่านได้สอนคำสอนและโปรดศีลล้างบาปให้นักโทษด้วยกันที่ใกล้ตายจำนวน 68 คน |
||
พระคาร์ดินัล[[ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู]] ได้เสนอกรณีของท่านให้[[สมณะกระทรวงการสถาปนานักบุญ]]พิจารณา หลังจากตรวจสอบอย่างถ้วนถี่ชัดแจ้งว่าท่านเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์ พลีชีพเพราะเห็นแก่ความเชื่อในพระเป็นเจ้า สมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน เมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2000 และประกอบพิธีสถาปนาเป็นบุญราศีมรณสักขี ในวันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 2000 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม ประเทศอิตาลี |
พระคาร์ดินัล[[ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู]] ได้เสนอกรณีของท่านให้[[สมณะกระทรวงการสถาปนานักบุญ]]พิจารณา หลังจากตรวจสอบอย่างถ้วนถี่ชัดแจ้งว่าท่านเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์ พลีชีพเพราะเห็นแก่ความเชื่อในพระเป็นเจ้า สมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน เมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2000 และประกอบพิธีสถาปนาเป็นบุญราศีมรณสักขี ในวันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 2000 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม ประเทศอิตาลี |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:09, 4 มกราคม 2556
เซนต์ (อังกฤษ: saint) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญหรือผู้บริสุทธิ์ ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่าธรรมิกชนหรือผู้บริสุทธิ์[1] ใช้หมายถึงผู้ศักดิ์สิทธิ์[2] ในศาสนาคริสต์แต่ละนิกายอธิบายลักษณะของเซนต์แตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะถือตามคัมภีร์ไบเบิลที่ระบุว่าเซนต์หมายถึงบุคคลใด ๆ ไม่ว่าบนโลกมนุษย์หรือบนสวรรค์ ที่มีชีวิตอยู่ในพระคริสต์ และเป็นผู้ที่พระคริสต์ทรงประทับอยู่[3][4] ในคริสตจักรออร์ทอดอกซ์และโรมันคาทอลิกถือว่าคริสต์ศาสนิกชนทั้งหมดที่อยู่บนสวรรค์เป็นนักบุญ แต่แต่ละองค์จะได้รับเกียรติ ถูกยึดถือเป็นแบบอย่าง และรับความเคารพไม่เท่ากัน
ในคัมภีร์ไบเบิล มีหลายคนถูกเรียกว่าเป็นเซนต์ เช่น อาโรน ซึ่งถูกเรียกว่าเป็นคนบริสุทธิ์ของพระยาห์เวห์[5] ส่วนในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัสเปาโลอัครทูตก็ประกาศว่าตนเองเป็น “คนเล็กน้อยยิ่งกว่าคนเล็กน้อยที่สุดในพวกธรรมิกชนทั้งหมด”[6]
คริสตจักรโรมันคาทอลิก
ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก นักบุญหมายถึงบุคคลที่ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการโดยพระศาสนจักร ซึ่งมีความเชื่อว่าบุคคลเหล่านั้นได้อยู่ในสวรรค์แล้ว โดยความหมายนี้ทุกคนที่อยู่ในสวรรค์ก็คือนักบุญถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการ บุคคลที่พระศาสนจักรได้ประการให้เป็นนักบุญนั้นมีความดีโดดเด่น ในการปฏิบัติตามน้ำพระทัยพระเป็นเจ้า คริสตจักรจะยกย่องบุคคลนั้นเป็นพิเศษเพื่อเป็นแบบอย่างและกำลังใจแต่คริสตชนอื่น ๆ[7]
ตามกระบวนการประกาศเป็นนักบุญ (canonization) ในคริสตจักรคาทอลิก จะมีการสอบสวนและให้พระสันตะปาปาประกาศสถาปนาเป็นลำดับขั้นดังนี้
- ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า (The Servant of God)
- ผู้น่าเคารพ (The Venerable)
- บุญราศี (The Blessed)
- นักบุญ (The Saint)
เมื่อได้รับประกาศสถาปนาเป็นนักบุญแล้วจึงถือว่าสิ้นสุดกระบวนการสอบสวน[8]
บุญราศีชาวไทย
ชาวไทยได้รับการประกาศเป็นบุญราศี 2 ครั้ง รวม 8 องค์ ได้แก่
- เจ็ดบุญราศีมรณสักขีแห่งสองคอน ผู้สร้างวีรกรรมความศรัทธาเมื่อปี พ.ศ.2483 ในสมัยที่ไทยมีข้อพิพาทกับฝรั่งเศส กรณีดินแดนในแถบอินโดจีน ช่วงนั้นมีคนไทยหลายคนเข้าใจผิดว่าศาสนาคริสต์เป็นศาสนาของฝรั่งเศส ทางการไทยจึงได้มีคำสั่งให้ชาวบ้านเลิกนับถือศาสนาคริสต์ แต่มีชาวบ้านอยู่ 7 คนที่ไม่ยอมละทิ้งศาสนา นำโดยนายสีฟอง อ่อนพิทักษ์ (อายุ 33 ปี) , ภคินี 2 รูปคือ ซิสเตอร์พิลา ทิพย์สุข (อายุ 31 ปี) และซิสเตอร์คำบาง สีฟอง (อายุ 23 ปี) , สตรีสูงวัย 1 ท่านคือนางพุดทา ว่องไว (อายุ 59 ปี) , และเด็กสาวอีก 3 ท่านคือ นางสาวบุดสี ว่องไว (อายุ 16 ปี ), นางสาวคำไพ ว่องไว (อายุ 15 ปี) และเด็กหญิงพร ว่องไว (อายุ 14 ปี) ทั้งหมดถูกยื่นคำขาดว่าจะต้องถูกฆ่า เพื่อเป็นการพิทักษ์ศาสนา ทั้ง 7 คนจึงพร้อมใจกันยอมสละชีวิตที่ป่าศักดิ์สิทธิ์ โดยมีตำรวจเป็นคนคร่าชีวิต
ปี 2532 สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ได้ประกาศสดุดีให้ทั้ง 7 คน เป็น "บุญราศีมรณสักขี" หมายถึง คริสตชนผู้ที่ประกอบกรรมดีและพลีชีพเพื่อประกาศยืนยันความเชื่อในพระเจ้าไม่ยอมละทิ้งศาสนา อีกทั้งประกาศให้มีพิธีรำลึกบุญราศีสองคอนทั้ง 7 ในวันที่ 16 ธันวาคม โดยมีการฉลองอย่างยิ่งใหญ่ในมหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม ซึ่งหลังจากการสถาปนาบุญราศีทั้ง 7 แล้ว โบสถ์สองคอน จึงได้จัดงานชุมนุมครั้งใหญ่ เพื่อฉลองบุญราศีที่ประเทศไทย เรียกงานนี้ว่า “งานสันติร่วมจิตใจเดียว” ในปีต่อ ๆ มา จัดเป็นงานวันรำลึกบุญราศีทั้ง 7 แต่เพื่อความสะดวกแก่ผู้ที่สนใจอยากไปร่วมงาน การฉลองที่โบสถ์สองคอนจึงกำหนดให้จัดขึ้นในวันเสาร์ที่ใกล้เคียงกับวันที่ 16 ธันวาคมที่สุด [9]
- บุญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง[10] เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1895 และรับศีลล้างบาปวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1895 ที่โบสถ์นักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม และรับศีลอนุกรมเป็นบาทหลวง โดยมุขนายกเรอเน แปโร เมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1926 ที่อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ
บาทหลวงนิโคลาสทำงานอภิบาลที่โบสถ์หลายแห่ง คือ อาสนวิหารแม่พระบังเกิด บางนกแขวก โบสถ์เซนต์นิโคลาส พิษณุโลก โบสถ์คาทอลิกในเชียงใหม่และลำปาง อาสนวิหารแม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด นครราชสีมา และโบสถ์นักบุญเทเรซา โนนแก้ว
บาทหลวงนิโคลาสถูกจับในวันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์ หลังจากประกอบศาสนกิจที่โบสถ์นักบุญยอแซฟ บ้านหัน เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1941 ในข้อหาเป็นกบฏภายนอกราชอาณาจักร ถูกตัดสินจำคุก 15 ปี ระหว่างอยู่ในคุกที่เรือนจำกลางบางขวางเป็นปีที่สาม ท่านป่วยเป็นวัณโรคเป็นเวลา 9 เดือน และถึงแก่กรรมในคุกนั้นเอง เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1944 รวมอายุ 49 ปี ศพของท่านถูกนำไปฝังไว้ที่วัดบางแพรกซึ่งเป็นวัดที่อยู่ใกล้เรือนจำ หลังจากนั้นในเดือนมีนาคม มุขนายกแปโรจึงได้รับอนุญาตให้นำศพของท่านมาฝังที่อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ
บาทหลวงนิโคลาสเป็นบาทหลวงที่เอาใจใส่งานอภิบาล มีใจเมตตาต่อคนยากจน และมีความกระตือรือร้นในการประกาศข่าวดี ระหว่างที่อยู่ในคุก ท่านได้สอนคำสอนและโปรดศีลล้างบาปให้นักโทษด้วยกันที่ใกล้ตายจำนวน 68 คน
พระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ได้เสนอกรณีของท่านให้สมณะกระทรวงการสถาปนานักบุญพิจารณา หลังจากตรวจสอบอย่างถ้วนถี่ชัดแจ้งว่าท่านเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์ พลีชีพเพราะเห็นแก่ความเชื่อในพระเป็นเจ้า สมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน เมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2000 และประกอบพิธีสถาปนาเป็นบุญราศีมรณสักขี ในวันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 2000 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม ประเทศอิตาลี
อ้างอิง
- ↑ เอเฟซัส 1:18
- ↑ Wycliffe Bible Encyclopedia, "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church . . . Other references in the NT equate Christians in general with 'saints' . . . All these are identified as saints because they are in Christ Jesus."
- ↑ 2 โครินธ์ 5:17
- ↑ 2 โครินธ์ 13:5
- ↑ สดุดี 106:16
- ↑ เอเฟซัส 3:8
- ↑ โรแบร์ โกสเต, บาทหลวง, คำสอนคริสตชน, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2550, หน้า 194
- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 475-6
- ↑ รำลึกบุญราศีที่วัดสองคอน, กรุงเทพธุรกิจ ออนไลน์.
- ↑ บุญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง, ประวัตินักบุญตลอดปี, เวบไซต์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ,