ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


{{มรดกโลกญี่ปุ่น}}
{{มรดกโลกญี่ปุ่น}}
{{โครงสถานที่}}


[[หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น]]
บรรทัด 48: บรรทัด 47:
[[หมวดหมู่:จังหวัดมิเอะ]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดมิเอะ]]
[[หมวดหมู่:เส้นทางแสวงบุญ]]
[[หมวดหมู่:เส้นทางแสวงบุญ]]
{{โครงสถานที่}}


[[de:Kii-Berge]]
[[de:Kii-Berge]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:01, 9 พฤศจิกายน 2553

แหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

สถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางแสวงบุญแห่งเทือกเขาคิอิ คือแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่น ประกอบด้วย 3 ภูเขาศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ตั้งของศาลเจ้าและป่าโบราณที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งบางแห่งนั้นมีมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 9 และได้รับการดูแลเป็นอย่างดี ได้แก่ เขาโคยะซาน โยะชิโนะ และคุมะโนซัง กับเส้นทางแสดงบุญที่เชื่อมต่อกันไปสู่เมืองหลวงเก่านะระและเกียวโตะ

มรดกโลก

สถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางแสวงบุญบนเทือกเขาคิอิได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 28 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ที่เมืองซูโจว ประเทศจีน ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้

  • (ii) - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใดๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม
  • (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
  • (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
  • (vi) - มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์

อ้างอิง