ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้แทนการค้าไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 11999801 โดย 49.237.14.142 (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
KaiserO5 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 169: บรรทัด 169:
|-
|-
| bgcolor="#E9E9E9" | '''1'''
| bgcolor="#E9E9E9" | '''1'''
| [[ไฟล์:Replace this image male.svg|100px]]
| [[ไฟล์:M.L. Chayotid Kridakon.jpg|100px]]
| [[หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร]]
| [[หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร]]
| 6 มกราคม พ.ศ. 2565
| 6 มกราคม พ.ศ. 2565
บรรทัด 192: บรรทัด 192:
|-
|-
| bgcolor="#E9E9E9" | '''3'''
| bgcolor="#E9E9E9" | '''3'''
| [[ไฟล์:Replace this image male.svg|100px]]
| [[ไฟล์:M.L. Chayotid Kridakon.jpg|100px]]
| [[หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร]]
| [[หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร]]
| 12 ธันวาคม พ.ศ. 2566
| 12 ธันวาคม พ.ศ. 2566

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:47, 7 ธันวาคม 2567

ผู้แทนการค้าไทย
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
นลินี ทวีสิน
ตั้งแต่ 13 กันยายน พ.ศ. 2566
ชัย วัชรงค์
ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2567
อุเมสนัส ปานเดย์
วีระพงษ์ ประภา
ตั้งแต่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
สำนักนายกรัฐมนตรี
สํานักงานผู้แทนการค้าไทย
รายงานต่อนายกรัฐมนตรีไทย
ผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีไทย
วาระตามวาระของคณะรัฐมนตรี
สถาปนา29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545; 22 ปีก่อน (2545-11-29)
คนแรกกันตธีร์ ศุภมงคล
กรพจน์ อัศวินวิจิตร

ผู้แทนการค้าไทย (อังกฤษ: Thailand Trade Representative: TTR) เป็นผู้แทนพิเศษของนายกรัฐมนตรี ด้านการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ ตามแนวนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเชิงรุก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยมุ่งขยายตลาดการค้า การลงทุนของไทยในต่างประเทศ และแสวงหาความร่วมมือในด้านต่างๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศและการเพิ่มขีดความสามารถในเวทีโลก

ประวัติ

ผู้แทนการค้าไทย ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อ 12 มีนาคม พ.ศ. 2545[1] ในสมัยรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ในระยะแรกได้ดำเนินการขยายการค้าไทย บุกเบิกตลาดใหม่ในภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์กับประเทศคู่ค้าเจรจา FTA ของไทย นอกจากนี้ได้ดำเนินการขยายความร่วมมือด้านการลงทุนกับประเทศต่างๆ ทั้งในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา ยุโรป และสหรัฐอเมริกา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้มีการยุบผู้แทนการค้าไทยไป[2][3] จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2552 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้จัดตั้งผู้แทนการค้าไทยขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง[4] โดยกำหนดให้มีผู้แทนการค้าไทยจำนวนไม่เกิน 5 คน เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินการเสริมสร้างความเป็นเอกภาพ และประสิทธิภาพในการดำเนินตามนโยบายด้านการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ และให้มี สำนักงานผู้แทนการค้าไทย เป็นหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานของผู้แทนการค้าไทย

รายนามผู้แทนการค้าไทย

ผู้แทนการค้าไทย เป็นผู้แทนพิเศษของนายกรัฐมนตรี มีฐานะเทียบเท่ารัฐมนตรี ในการเจรจาระดับรัฐมนตรี กับหน่วยงานรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การการค้าระหว่างประเทศ [5] โดยประธานผู้แทนการค้าไทย มีฐานะเทียบเท่ารองนายกรัฐมนตรี

พ.ศ. 2545 - 2549 (รัฐบาลทักษิณ ชินวัตร)

ลำดับ รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 กันตธีร์ ศุภมงคล 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 10 มีนาคม พ.ศ. 2548
2 กรพจน์ อัศวินวิจิตร 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547
3 ประวิช รัตนเพียร 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 19 กันยายน พ.ศ. 2549
4 ประจวบ ไชยสาส์น 23 มีนาคม พ.ศ. 2548 19 กันยายน พ.ศ. 2549
5 สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ 23 มีนาคม พ.ศ. 2548 19 กันยายน พ.ศ. 2549
6 ปานปรีย์ พหิทธานุกร 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 19 กันยายน พ.ศ. 2549

พ.ศ. 2552 - 2554 (รัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)

ลำดับ ตำแหน่ง รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 ประธานผู้แทนการค้าไทย เกียรติ สิทธีอมร[6] 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
2 ผู้แทนการค้าไทย วัชระ พรรณเชษฐ์[7] 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554
3 ผู้แทนการค้าไทย รองศาสตราจารย์ สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2554 - 2557 (รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)[8]

ลำดับ ตำแหน่ง รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 ประธานผู้แทนการค้าไทย โอฬาร ไชยประวัติ 31 มกราคม พ.ศ. 2555 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
2 ผู้แทนการค้าไทย นลินี ทวีสิน 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 18 มกราคม พ.ศ. 2555
20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
3 ผู้แทนการค้าไทย พิเชษฐ์ สถิรชวาล 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
4 ผู้แทนการค้าไทย พฤฒิชัย วิริยะโรจน์ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
5 ผู้แทนการค้าไทย ลินดา เชิดชัย 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
6 ผู้แทนการค้าไทย วรวีร์ มะกูดี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
7 ผู้แทนการค้าไทย วิรุฬ เตชะไพบูลย์ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
ลำดับ รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร 6 มกราคม พ.ศ. 2565 28 มิถุนายน พ.ศ. 2566

พ.ศ. 2566 - 2567 (รัฐบาลเศรษฐา ทวีสิน)

ลำดับ รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 นลินี ทวีสิน 13 กันยายน พ.ศ. 2566 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567
2 ศาสตราจารย์ นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2566[9]
3 หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร 12 ธันวาคม พ.ศ. 2566

พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน (รัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร)

ลำดับ รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 ดร.นลินี ทวีสิน 16 กันยายน พ.ศ. 2567[10] ปัจจุบัน
2 นายสัตวแพทย์
ชัย วัชรงค์
3 อุเมสนัส ปานเดย์ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567[11] ปัจจุบัน
4 วีระพงษ์ ประภา

อ้างอิง

  1. "ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดตั้งสำนักงานผู้แทนการค้าไทย พ.ศ. 2545" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-12-13. สืบค้นเมื่อ 2010-11-09.
  2. "ปิดฉากผู้แทนการค้าไทย 5 ปี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-30. สืบค้นเมื่อ 2010-11-08.
  3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ยกเลิกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดตั้งสำนักงานผู้แทนการค้าไทย พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2550
  4. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยผู้แทนการค้าไทย พ.ศ. 2552
  5. "มติครม.วันที่ 16 สิงหาคม 2548". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-01-08. สืบค้นเมื่อ 2012-01-22.
  6. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 124/2552 เรื่อง แต่งตั้งผู้แทนการค้าไทย (นายเกียรติ สิทธีอมร)
  7. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 130/2552 เรื่อง แต่งตั้งผู้แทนการค้าไทย (นายวัชระ พรรณเชษฐ์ นายสุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง)
  8. นายกปูตั้ง"บังยี"เป็นผู้แทนการค้าไทย
  9. ด่วนที่สุด!!! 'เศรษฐา'เซ็นตั้ง'นฤมล'เป็นที่ปรึกษานายกฯ
  10. ครม.ไฟเขียวตั้ง นลินี ทวีสิน-หมอชัย นั่งผู้แทนการค้าไทย
  11. ""วีระพงษ์ ประภา" นั่งที่ปรึกษานายกฯ ฝ่ายผู้แทนการค้าไทย". ข่าวหุ้นธุรกิจออนไลน์. 2024-11-05.

แหล่งข้อมูลอื่น